SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
โลกมันหมุนไปเร็วแล้ว เมื่อเด็ก ป.2 สมัยนี้เขียนจดหมายบอกเลิกกัน เนื้อความมันแนวว่ารักสามเส้า ถ้าเธอรักเค้าเราก็จะ
ไป โอ้โหป. 2 นะเนี่ยมีรักสามเส้าแล้วหรือเนี่ย
จดหมายจากแพรว
เน็กกี้จะ เราสองคนเลิกกันเถอะ ถ้าเน็กกี้รัก
ตาต้า เน็กกี้ก็ไม่ต้องมารักแพรว ถ้าเน็กกี้รัก
ตาต้ามากกว่า แพรว งั้น เน็กกี้ก็ไปรักตาต้า
เถอะ ลาก่อนเน็กกี้
จากแพรว
พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
ภาพรวมของการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ค่าเฉลี่ยของการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้น กลุ่มเพศที่สาม” มีจานวนค่าเฉลี่ยชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูงที่สุด
“สมาร์ตโฟน” เป็นอุปกรณ์ใช้งานมากที่สุด
16.00 – 24.00 ใช้สมาร์ตโฟนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตสูงที่สุด
กิจกรรมที่ใช้
• ใช้เพื่อความบันเทิงและการ
สื่อสารเป็นหลัก
• เพศที่สามซื้อสินค้าและบริการ
ออนไลน์ผ่านโทรศัพท์ แท็บ
เล็ตและคอมพิวเตอร์สูงกว่า
กลุ่มอื่นๆ
เครือข่ายสังคมออนไลน์ยอดนิยม
1. Facebook
2. LINE
3. Google+
4. Instagram
5. twitter
เด็ก ม.5 อก
หักกรีดแขน
ตนเองฆ่าตัว
ตาย
• Social media หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใช้ในการ
แบ่งปันข้อมูลระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
• การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่าน Social media มี
ความรวดเร็วและสะดวกสบายจึงทาให้เป็นที่นิยม
• Social media ถูกใช้ในเชิงการตลาดมากขึ้นเรื่อย ๆ
และหน่วยงานต่าง ๆ ก็นามาใช้เป็นเครื่องมือในการ
เผยแพร่ข่าวสาร
• Social media ได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจาก
ความสะดวกในการเข้าถึงบริการผ่าน
โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Facebook มีผู้ใช้ถึง
1200 ล้านคน)
Social Network คืออะไร
คือเครือข่ายทางสังคมที่เกิดขึ้นจากกลุ่มบุคคล
ที่สื่อสารกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น
Facebook Twitter LinkedIn Google+ ทา
ให้บุคคลที่อยู่ในเครือข่ายสามารถ
ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล หรือทา
กิจกรรมร่วมกันได้
Social Network คืออะไร
Social Network = people + Social Media
คือเครือข่ายทางสังคมที่เกิดขึ้นจากกลุ่มบุคคลที่สื่อสารกันผ่านสื่อสังคม
(Social Media) เช่น Facebook Twitter LinkedIn Google+ ทาให้
บุคคลที่อยู่ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล หรือทา
กิจกรรมร่วมกันได้
ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์
1. Network เป็นประเภทสร้างเครือข่ายทางสังคม เช่น Facebook
Google Plus
2. Images Sharing เป็นการเผยแพร่ตัวตนผ่านภาพถ่าย ส่วน
ใหญ่ใช้ในกลุ่มนักแสดง สื่อที่มีอิทธิพลได้แก่ Instagram Ficker
3. Blog : ระบบจัดการเนื้อหา ทาให้ผู้ใช้สามารถเขียนบทความ และ
เผยแพร่บทความได้เช่น Bloger Tmblr
4. Microblog : เป็นรูปแบบหนึ่งของ blog แต่จากัดตัวอักษรของ
การเขียนในแต่ละครั้ง Twitter
5. Media sharing : เว็บไซต์ที่มีการแลกเปลี่ยนไฟล์ รูปภาพ
วีดิโอ โดยการอัพโหลดข้อมูลเข้าไปในเว็บไซต์ เช่น Youtube
vimeo เป็นต้น
6. Collaboration Forums : ถือเป็นรูปแบบของ social
media ที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเสมือนสถานที่ที่ให้ผู้คนเข้ามาพูดคุยใน
ในหัวข้อที่พวกเขาสนใจ เช่น Pantip Slideshare google doc
พฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดบน
Social media • 40% ของผู้ใช้งาน เปิดเผยวันเดือนปีเกิด
• 25% ของผู้ใช้งาน ไม่ทราบหรือตระหนักเกี่ยวกับการใช้
งานอย่างปลอดภัย เช่น การตั้งรหัสผ่าน การเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคล
• 9% ของผู้ใช้งาน ถูกภัยคุกคามจากสังคมออนไลน์ (ติด
ไวรัส, โดนหลอกลวง และโดนขโมยข้อมูลส่วนบุคคล)
• ผู้ใช้งานบางส่วน ขาดวิจารณญาณในการเผยแพร่ในการ
แสดงความคิดเห็นส่งผลกระทบต่อการละเมิดกฎหมาย
• เขียนแล้ว โพสแล้ว ลบไม่ได้
* จากการสารวจของ เว็บไซต์ http://www.consumerreports.org
พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนกับ อินเทอร์เน็ต และ Social Media
• 44% ของเด็กยอมรับว่าได้เข้าถึงข้อมูลและสื่อประสม เช่น ภาพ วิดีโอ ที่ผู้ปกครองไม่อนุญาต และมีเพียง 28% ของ
ผู้ปกครองทราบว่าเด็กสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสมได้
• เด็กผู้หญิงมักมีพฤติกรรมในการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงรูปภาพของตนเองบนอินเทอร์เน็ตมากกว่าเด็กผู้ชาย
• 22% ของเด็กหญิงยอมรับว่าได้เคยเผยแพร่ภาพไม่เหมาะสมของตนเองบนอินเทอร์เน็ต
• 70% ของเด็ก อายุระหว่าง 7 ถึง 18 ปี เคยเข้าถึงเว็บไซต์ลามกอนาจารอย่างไม่ตั้งใจ และส่วนใหญ่เกิดจากค้นหาข้อมูล
บนอินเทอร์เน็ตเพื่อทาการบ้าน
• ลูกค้าของเว็บไซต์ลามกอนาจารส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุระหว่าง 12-17 ปี
• 31% ของเด็กอายุระหว่าง 12-18 ปีให้ข้อมูลเท็จเรื่องอายุของตนเองเพื่อเข้าถึงบริการต่างๆบนเว็บไซต์
• 96% ของเด็กวัยรุ่นมีการใช้งาน Social media เช่น Facebook, MySpace หรือ Online-Chat
* จากการสารวจของมหาวิทยาลัย New Hampshire เผยแพร่บน เว็บไซต์ http://www. guardchild.com
“การรู้เท่าทันสื่อ” หมายถึง
ความสามารถของแต่ละบุคคลในการ
เข้าถึง เข้าใจ ตีความ ประเมิน และ
สร้างเนื้อหาสื่อในรูปแบบที่
หลากหลายด้วยความตระหนักถึง
ผลกระทบของสอื่โดยไมถ่กูครอบงา
จากสื่อและสามารถเสริสร้าง พลัง
อานาจของตนเพื่อให้สามารถใชสื่อ
เป็นประโยชนต์ต่อการเรียนรู้และการ
ดารงชีวิตของทั้งต่อตนเอง ครอบครัว
ชุมชนและสังคม
หลัก 5 คำถำมก่อนเชื่อสื่อ
1. ใครสร้างเนื้อหานี้?
2. เทคนิคใดที่ถูกนามาใช้ในการดึงดูดความสนใจ?
3. แต่ละคนรับรู้สื่อต่างกันอย่างไร?
4. ทัศนคติ ค่านิยม มุมมองใดบ้างที่สื่อปลูกฝัง น าเสนอแก่เรา?
5. เนื้อหานี้ถูกส่งมาเพื่อหวังอะไร?
ฝรั่งโพสคลิป I hate Thailand เศร้ำจังเลย หุหุ คงมีคนมำ
สมน้ำหน้ำ..
I hate Thailand
1. นักเรียนคิดอย่างไร / รู้สึกอย่างไร เมื่อได้เห็นหัวเรื่องของโพสต์นี้?
2. คิดว่าหากนักเรียนเห็นโพสต์นี้ใน Facebook นักเรียนจะมีปฏิกิริยาอย่างไรภายหลังจากเห็นข้อความนี้?
เช่น
กด like ระบุเหตุผล......................................................................................................
แสดงความคิดเห็น ระบุข้อความ...................................................................................
แชร์ต่อ ระบุเหตุผล........................................................................................................
3.นักเรียนเห็นด้วยกับความคิดเห็นที่ผู้อื่นมีต่อโพสต์ตัวอย่างหรือไม่ ? เพราะอะไร ?
4. ให้นักเรียนวิเคราะห์สื่อสังคมจากตัวอย่างโดยการตั้งคาถาม (หลัก 5 คาถามก่อนเชื่อสื่อ)
จริงหรือเท็จ
อะไรนะ งูเหลือมเขมือบหนุ่มขี้เมาในอินเดีย ข่าวนี้ลอยว่อนไปทั่วโลก ถูกเอาโพสต์
ลงเน็ตทุกๆ 2 หรือ 3 เดือน แต่ล่าสุดก็ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า ไม่จริง
จริงหรือเท็จ
งูจงอางสามหัว
"บางระจัน" จริงเท็จแค่ไหน ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ก็ถูกแต่งเติม ?
รศ.ดร.สุเนตร ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในแง่
รายละเอียดทั้งจุดปะทะ, ยุทธศาสตร์, ยุทธวิธี, ตัวผู้นา
ที่ชัดเจน เรื่องราวทั้งหมดไม่มีปรากฎเลยในพงศาวดาร
เก่า แต่ไปปรากฎรายละเอียดมากมายในพงศาวดารที่
ชาระในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
คาถามคือรายละเอียดชวนให้คิดว่ามีที่มาอย่างไร
ทาไมไม่มีบันทึกในพงศาวดารช่วงใกล้เหตุการณ์ ถ้า
เป็นของที่ถูกบันทึกจริง ใครเป็นคนเขียน การบันทึก
รายละเอียดที่ได้ชื่อนายทัพพม่ามากมายมีแนวโน้ม
เป็นการเขียนของฝ่ายราชการ เพียงแต่ราชการที่เขียน
เขียนขึ้นจากเหตุการณ์จริงหรือเขียนขึ้นเองใน
ภายหลังเมื่อมีการชาระพระราชพงศาวดารขึ้น ?
เมื่อประวัติศาสตร์หลุดมาในมือของผู้สร้างประวัติศาสตร์นอกเหนือรัฐ ก็เกิดบุคคลที่เขียนประวัติศาสตร์ชาตินิยมที่แตกต่างจากรัฐ เพราะ
เขามีพันธกิจแตกต่างจากรัฐ เช่น ไม้ เมืองเดิม ที่ต้องการเลี้ยงปากท้อง วันนี้จึงเกิดคนที่สร้างประวัติศาสตร์เพื่อเป้ าประสงค์ของตัวเองโดย
เกาะกระแสชาตินิยม เพราะฉะนั้น แนวคิดของคนที่เข้ามาในสนามนี้เป็นคนละชุดกับภาครัฐ และดูกระแสว่าจะปล่อยเรื่องไหน สภาวะตรง
นี้จึงควบคุมยาก รัฐก็อิหลักอิเหลื่อ ในทางหนึ่งก็อยากปรองดอง อีกทางก็อยากเตรียมร่วมอาเซียน
กิจกรรมกลุ่มระดมควำมคิด
•กลุ่ม 10 คน
•ค้นหากรณีศึกษา ข่าวส่งต่อ ที่ใกล้ตัวผู้เรียน มีมุมคิดได้สองด้าน เช่น
มะนาวโซดาฆ่ามะเร็งได้
•เชื่อไม่เชื่อ แชร์ไม่แชร์
•สร้างใบความรู้จากข่าว
•สร้างใบกิจกรรม ให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่อง “รู้เท่าทันสื่อ”
รู้เท่าทันสื่อ

More Related Content

What's hot

การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Sombom
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
0872191189
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
Kongkrit Pimpa
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 

What's hot (20)

ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 

Viewers also liked

เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
Rujroad Kaewurai
 
Men's PD Eggert_Belleveau
Men's PD Eggert_BelleveauMen's PD Eggert_Belleveau
Men's PD Eggert_Belleveau
Clair Belleveau
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
snxnuux
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
nilobon66
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
elfinspiritap
 
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
Jutharat_thangsattayawiroon
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
jeerawan_l
 
4. Fixed and Variable Costs in Distance Education
4. Fixed and Variable Costs in Distance Education4. Fixed and Variable Costs in Distance Education
4. Fixed and Variable Costs in Distance Education
Alaa Sadik
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
gingphaietc
 

Viewers also liked (20)

เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
 
Capabilities book
Capabilities bookCapabilities book
Capabilities book
 
เตรียมพร้อมธุรกิจท่องเที่ยวสู่ Aec
เตรียมพร้อมธุรกิจท่องเที่ยวสู่ Aecเตรียมพร้อมธุรกิจท่องเที่ยวสู่ Aec
เตรียมพร้อมธุรกิจท่องเที่ยวสู่ Aec
 
Men's PD Eggert_Belleveau
Men's PD Eggert_BelleveauMen's PD Eggert_Belleveau
Men's PD Eggert_Belleveau
 
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
กะลาดีไซด์
กะลาดีไซด์กะลาดีไซด์
กะลาดีไซด์
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
PresentationTube
PresentationTubePresentationTube
PresentationTube
 
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
 
ความสุขของชีวิต
ความสุขของชีวิตความสุขของชีวิต
ความสุขของชีวิต
 
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
 
3. The Effectiveness and Costs of Distance Education
3. The Effectiveness and Costs of Distance Education3. The Effectiveness and Costs of Distance Education
3. The Effectiveness and Costs of Distance Education
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Mind Mapping
Mind Mapping Mind Mapping
Mind Mapping
 
4. Fixed and Variable Costs in Distance Education
4. Fixed and Variable Costs in Distance Education4. Fixed and Variable Costs in Distance Education
4. Fixed and Variable Costs in Distance Education
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 

Similar to รู้เท่าทันสื่อ

อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
พายุ ตัวป่วน
 
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงเรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
palmmy545
 
ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์
vorravan
 
ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์
vorravan
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 

Similar to รู้เท่าทันสื่อ (20)

อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
Game1
Game1Game1
Game1
 
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
 
งานนำเสนอ5[2]
งานนำเสนอ5[2]งานนำเสนอ5[2]
งานนำเสนอ5[2]
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
ทัศนคติเรื่องเพศ
ทัศนคติเรื่องเพศทัศนคติเรื่องเพศ
ทัศนคติเรื่องเพศ
 
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงเรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
 
ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์
 
ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอทีข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
 
ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1
ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1
ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1
 
My life is digital in aug 2012-1
My life is digital in  aug 2012-1My life is digital in  aug 2012-1
My life is digital in aug 2012-1
 
Grown Up Digital
Grown Up DigitalGrown Up Digital
Grown Up Digital
 
หน่วยที่4-พรบ. คอม.pptx
หน่วยที่4-พรบ. คอม.pptxหน่วยที่4-พรบ. คอม.pptx
หน่วยที่4-พรบ. คอม.pptx
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
ไฟล์3
ไฟล์3ไฟล์3
ไฟล์3
 
2
22
2
 

More from Rujroad Kaewurai

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Rujroad Kaewurai
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
Rujroad Kaewurai
 

More from Rujroad Kaewurai (9)

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดลบทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
 
Ways of living in digital age
Ways of living in digital age Ways of living in digital age
Ways of living in digital age
 
Experience based learning
Experience based learningExperience based learning
Experience based learning
 
2 educationaltechnology
2 educationaltechnology2 educationaltechnology
2 educationaltechnology
 
1 355511 advance-techno
1 355511 advance-techno1 355511 advance-techno
1 355511 advance-techno
 
C and m
C and mC and m
C and m
 
1digitalphotographynew1
1digitalphotographynew11digitalphotographynew1
1digitalphotographynew1
 

รู้เท่าทันสื่อ

  • 1.
  • 2. โลกมันหมุนไปเร็วแล้ว เมื่อเด็ก ป.2 สมัยนี้เขียนจดหมายบอกเลิกกัน เนื้อความมันแนวว่ารักสามเส้า ถ้าเธอรักเค้าเราก็จะ ไป โอ้โหป. 2 นะเนี่ยมีรักสามเส้าแล้วหรือเนี่ย จดหมายจากแพรว เน็กกี้จะ เราสองคนเลิกกันเถอะ ถ้าเน็กกี้รัก ตาต้า เน็กกี้ก็ไม่ต้องมารักแพรว ถ้าเน็กกี้รัก ตาต้ามากกว่า แพรว งั้น เน็กกี้ก็ไปรักตาต้า เถอะ ลาก่อนเน็กกี้ จากแพรว
  • 4.
  • 6. 16.00 – 24.00 ใช้สมาร์ตโฟนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตสูงที่สุด
  • 9.
  • 11.
  • 12. • Social media หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใช้ในการ แบ่งปันข้อมูลระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคล • การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่าน Social media มี ความรวดเร็วและสะดวกสบายจึงทาให้เป็นที่นิยม • Social media ถูกใช้ในเชิงการตลาดมากขึ้นเรื่อย ๆ และหน่วยงานต่าง ๆ ก็นามาใช้เป็นเครื่องมือในการ เผยแพร่ข่าวสาร • Social media ได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจาก ความสะดวกในการเข้าถึงบริการผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Facebook มีผู้ใช้ถึง 1200 ล้านคน)
  • 13. Social Network คืออะไร คือเครือข่ายทางสังคมที่เกิดขึ้นจากกลุ่มบุคคล ที่สื่อสารกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น Facebook Twitter LinkedIn Google+ ทา ให้บุคคลที่อยู่ในเครือข่ายสามารถ ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล หรือทา กิจกรรมร่วมกันได้
  • 14. Social Network คืออะไร Social Network = people + Social Media คือเครือข่ายทางสังคมที่เกิดขึ้นจากกลุ่มบุคคลที่สื่อสารกันผ่านสื่อสังคม (Social Media) เช่น Facebook Twitter LinkedIn Google+ ทาให้ บุคคลที่อยู่ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล หรือทา กิจกรรมร่วมกันได้
  • 15. ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ 1. Network เป็นประเภทสร้างเครือข่ายทางสังคม เช่น Facebook Google Plus 2. Images Sharing เป็นการเผยแพร่ตัวตนผ่านภาพถ่าย ส่วน ใหญ่ใช้ในกลุ่มนักแสดง สื่อที่มีอิทธิพลได้แก่ Instagram Ficker 3. Blog : ระบบจัดการเนื้อหา ทาให้ผู้ใช้สามารถเขียนบทความ และ เผยแพร่บทความได้เช่น Bloger Tmblr 4. Microblog : เป็นรูปแบบหนึ่งของ blog แต่จากัดตัวอักษรของ การเขียนในแต่ละครั้ง Twitter 5. Media sharing : เว็บไซต์ที่มีการแลกเปลี่ยนไฟล์ รูปภาพ วีดิโอ โดยการอัพโหลดข้อมูลเข้าไปในเว็บไซต์ เช่น Youtube vimeo เป็นต้น 6. Collaboration Forums : ถือเป็นรูปแบบของ social media ที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเสมือนสถานที่ที่ให้ผู้คนเข้ามาพูดคุยใน ในหัวข้อที่พวกเขาสนใจ เช่น Pantip Slideshare google doc
  • 16. พฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดบน Social media • 40% ของผู้ใช้งาน เปิดเผยวันเดือนปีเกิด • 25% ของผู้ใช้งาน ไม่ทราบหรือตระหนักเกี่ยวกับการใช้ งานอย่างปลอดภัย เช่น การตั้งรหัสผ่าน การเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคล • 9% ของผู้ใช้งาน ถูกภัยคุกคามจากสังคมออนไลน์ (ติด ไวรัส, โดนหลอกลวง และโดนขโมยข้อมูลส่วนบุคคล) • ผู้ใช้งานบางส่วน ขาดวิจารณญาณในการเผยแพร่ในการ แสดงความคิดเห็นส่งผลกระทบต่อการละเมิดกฎหมาย • เขียนแล้ว โพสแล้ว ลบไม่ได้ * จากการสารวจของ เว็บไซต์ http://www.consumerreports.org
  • 17. พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนกับ อินเทอร์เน็ต และ Social Media • 44% ของเด็กยอมรับว่าได้เข้าถึงข้อมูลและสื่อประสม เช่น ภาพ วิดีโอ ที่ผู้ปกครองไม่อนุญาต และมีเพียง 28% ของ ผู้ปกครองทราบว่าเด็กสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสมได้ • เด็กผู้หญิงมักมีพฤติกรรมในการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงรูปภาพของตนเองบนอินเทอร์เน็ตมากกว่าเด็กผู้ชาย • 22% ของเด็กหญิงยอมรับว่าได้เคยเผยแพร่ภาพไม่เหมาะสมของตนเองบนอินเทอร์เน็ต • 70% ของเด็ก อายุระหว่าง 7 ถึง 18 ปี เคยเข้าถึงเว็บไซต์ลามกอนาจารอย่างไม่ตั้งใจ และส่วนใหญ่เกิดจากค้นหาข้อมูล บนอินเทอร์เน็ตเพื่อทาการบ้าน • ลูกค้าของเว็บไซต์ลามกอนาจารส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุระหว่าง 12-17 ปี • 31% ของเด็กอายุระหว่าง 12-18 ปีให้ข้อมูลเท็จเรื่องอายุของตนเองเพื่อเข้าถึงบริการต่างๆบนเว็บไซต์ • 96% ของเด็กวัยรุ่นมีการใช้งาน Social media เช่น Facebook, MySpace หรือ Online-Chat * จากการสารวจของมหาวิทยาลัย New Hampshire เผยแพร่บน เว็บไซต์ http://www. guardchild.com
  • 18.
  • 19. “การรู้เท่าทันสื่อ” หมายถึง ความสามารถของแต่ละบุคคลในการ เข้าถึง เข้าใจ ตีความ ประเมิน และ สร้างเนื้อหาสื่อในรูปแบบที่ หลากหลายด้วยความตระหนักถึง ผลกระทบของสอื่โดยไมถ่กูครอบงา จากสื่อและสามารถเสริสร้าง พลัง อานาจของตนเพื่อให้สามารถใชสื่อ เป็นประโยชนต์ต่อการเรียนรู้และการ ดารงชีวิตของทั้งต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม
  • 20. หลัก 5 คำถำมก่อนเชื่อสื่อ 1. ใครสร้างเนื้อหานี้? 2. เทคนิคใดที่ถูกนามาใช้ในการดึงดูดความสนใจ? 3. แต่ละคนรับรู้สื่อต่างกันอย่างไร? 4. ทัศนคติ ค่านิยม มุมมองใดบ้างที่สื่อปลูกฝัง น าเสนอแก่เรา? 5. เนื้อหานี้ถูกส่งมาเพื่อหวังอะไร?
  • 21. ฝรั่งโพสคลิป I hate Thailand เศร้ำจังเลย หุหุ คงมีคนมำ สมน้ำหน้ำ..
  • 22. I hate Thailand 1. นักเรียนคิดอย่างไร / รู้สึกอย่างไร เมื่อได้เห็นหัวเรื่องของโพสต์นี้? 2. คิดว่าหากนักเรียนเห็นโพสต์นี้ใน Facebook นักเรียนจะมีปฏิกิริยาอย่างไรภายหลังจากเห็นข้อความนี้? เช่น กด like ระบุเหตุผล...................................................................................................... แสดงความคิดเห็น ระบุข้อความ................................................................................... แชร์ต่อ ระบุเหตุผล........................................................................................................ 3.นักเรียนเห็นด้วยกับความคิดเห็นที่ผู้อื่นมีต่อโพสต์ตัวอย่างหรือไม่ ? เพราะอะไร ? 4. ให้นักเรียนวิเคราะห์สื่อสังคมจากตัวอย่างโดยการตั้งคาถาม (หลัก 5 คาถามก่อนเชื่อสื่อ)
  • 23. จริงหรือเท็จ อะไรนะ งูเหลือมเขมือบหนุ่มขี้เมาในอินเดีย ข่าวนี้ลอยว่อนไปทั่วโลก ถูกเอาโพสต์ ลงเน็ตทุกๆ 2 หรือ 3 เดือน แต่ล่าสุดก็ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า ไม่จริง
  • 25. "บางระจัน" จริงเท็จแค่ไหน ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ก็ถูกแต่งเติม ? รศ.ดร.สุเนตร ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในแง่ รายละเอียดทั้งจุดปะทะ, ยุทธศาสตร์, ยุทธวิธี, ตัวผู้นา ที่ชัดเจน เรื่องราวทั้งหมดไม่มีปรากฎเลยในพงศาวดาร เก่า แต่ไปปรากฎรายละเอียดมากมายในพงศาวดารที่ ชาระในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คาถามคือรายละเอียดชวนให้คิดว่ามีที่มาอย่างไร ทาไมไม่มีบันทึกในพงศาวดารช่วงใกล้เหตุการณ์ ถ้า เป็นของที่ถูกบันทึกจริง ใครเป็นคนเขียน การบันทึก รายละเอียดที่ได้ชื่อนายทัพพม่ามากมายมีแนวโน้ม เป็นการเขียนของฝ่ายราชการ เพียงแต่ราชการที่เขียน เขียนขึ้นจากเหตุการณ์จริงหรือเขียนขึ้นเองใน ภายหลังเมื่อมีการชาระพระราชพงศาวดารขึ้น ? เมื่อประวัติศาสตร์หลุดมาในมือของผู้สร้างประวัติศาสตร์นอกเหนือรัฐ ก็เกิดบุคคลที่เขียนประวัติศาสตร์ชาตินิยมที่แตกต่างจากรัฐ เพราะ เขามีพันธกิจแตกต่างจากรัฐ เช่น ไม้ เมืองเดิม ที่ต้องการเลี้ยงปากท้อง วันนี้จึงเกิดคนที่สร้างประวัติศาสตร์เพื่อเป้ าประสงค์ของตัวเองโดย เกาะกระแสชาตินิยม เพราะฉะนั้น แนวคิดของคนที่เข้ามาในสนามนี้เป็นคนละชุดกับภาครัฐ และดูกระแสว่าจะปล่อยเรื่องไหน สภาวะตรง นี้จึงควบคุมยาก รัฐก็อิหลักอิเหลื่อ ในทางหนึ่งก็อยากปรองดอง อีกทางก็อยากเตรียมร่วมอาเซียน
  • 26. กิจกรรมกลุ่มระดมควำมคิด •กลุ่ม 10 คน •ค้นหากรณีศึกษา ข่าวส่งต่อ ที่ใกล้ตัวผู้เรียน มีมุมคิดได้สองด้าน เช่น มะนาวโซดาฆ่ามะเร็งได้ •เชื่อไม่เชื่อ แชร์ไม่แชร์ •สร้างใบความรู้จากข่าว •สร้างใบกิจกรรม ให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่อง “รู้เท่าทันสื่อ”

Editor's Notes

  1. ค่าเฉลี่ยของการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้นจากการใช้งานโดยเฉลี่ย 32.3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือประมาณ 4.6 ชั่วโมงต่อวัน ในปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็น 50.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือใช้เวลาประมาณ 7.2 ชั่วโมงต่อวัน
  2. “สมาร์ตโฟน”  เป็นอุปกรณ์ที่ผู้ตอบแบบสำรวจใช้งานมากที่สุด โดยคิดเป็นร้อยละ 77.1 และมีการใช้งานโดยเฉลี่ย 6.6 ชั่วโมงต่อวัน ตามมาด้วย “คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ” ซึ่งมีผู้ใช้งานร้อยละ 69.4 และมีค่าเฉลี่ยในการใช้งานต่อวันคิดเป็น 6.2 ชั่วโมง และสำหรับการใช้งาน “สมาร์ตทีวี” ในยุคทีวีดิจิทัลระยะเริ่มต้น พบว่า มีผู้ตอบแบบสำรวจเพียงร้อยละ 8.4 เท่านั้นที่ใช้อุปกรณ์นี้ โดยมีการใช้งานเฉลี่ย 3.4 ชั่วโมงต่อวัน
  3. Thank You (Basic) To reproduce the video effects on this slide, do the following: On the Home tab, in the Slides group, click Layout, and then click Blank. On the Insert tab, in the Media group, click Video, and then click Video from File. In the left pane of the Insert Video dialog box, click the drive or library that contains the video. In the right pane of the dialog box, click the video that you want and then click Insert. Under Video Tools, on the Format tab, in the Sizing group, click the arrow to the right of Size launching the Format Video dialog box, select Size from the left pane and under Size in the right pane do the following: Click the Lock Aspect Ratio box. In the Height box, enter 6.03”. In the Width box enter 8.03”. Also in the Format Video dialog box, click Border Color in the left pane, under Border Color in the right pane select Solid Line, and then click the arrow to the right of Color, and under Theme colors select Black, Text 1, Lighter 25% (fourth row, second option from left). Also in the Format Video dialog box, select Border Style in the left pane, under Border Style in the right pane set the Width to 15 pt. Also in the Format Video dialog box, select Shadow in the left pane, under Shadow in the Right pane, click the arrow to the right of Colors and under Theme Colors, select Black, Text 1 (first row, second option from left), and then do the following: In the Transparency box, enter 60%. In the Size box, enter 100%. In the Blur box, enter 21 pt. In the Angle box, enter 40 degrees. In the Distance box, enter 19 pt. Also in the Format Video dialog box, select 3-D Format in the left pane, under Bevel in the right pane click the arrow to the right of Top and under Bevel, select Relaxed Inset (first row, second option from left), and then do the following: To the right of Top, in the Width box, enter 6 pt. To the right of Top, in the Height box, enter 16.5 pt. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, point to Align, and then do the following: Click Align Center. Click Align Middle. Under Video Tools, on the Playback tab, in the Video Options group, select Loop until Stopped. On the Animations tab, in the Animation group, select Play. On the Animations tab in the Timing group, click the arrow to the right of Start and select With Previous. To reproduce the text effects on this slide, do the following: On the Insert tab, in the Text group, click Text Box, and then on the slide drag to draw a text box. Type text in the text box (“Thank You” – or whatever text suits your message). Select the text, on the Home tab, in the Font group, select Garamond from the Font list, select 88 pt from the Font Size list, and then click on the Bold icon. Also in the Home tab, in the Font group, select the arrow to the right of the Font Color Icon, and then under Theme Colors, select White, Background 1 (first row, first option from left). With the text box selected, under Drawing Tools, on the Format tab, click the arrow in the bottom right corner of the WordArt Styles group, click the arrow opening the Format Text Effects dialog box. In the Format Text Effects dialog box, click 3-D Format on the left pane, under Bevel on the right pane, click the arrow next to Top and under Bevel select Relaxed Inset (first row, second option from left). Set the Width to 5 pt and the Height to 3 pt. Also in the 3-D Format right pane, under Surface, click the arrow next to Material and under Special Effect select Dark Edge (first row, first option from left). Also in the 3-D Format right pane, under Surface, click the arrow next to Lighting and under Neutral select Soft (first row, third option from left). Also in the 3-D Format right pane, under Surface, set the Angle to 290 Degrees. Close the Format Text Effects dialog box. To reproduce the background effects on this slide, do the following: On the Design tab, in the bottom right corner of the Background group, click the arrow at the bottom right corner launching the Format Background dialog box. In the Format Background dialog box, select Fill in the left pane, and under Fill in the right pane select Solid fill, then click the arrow to the right of Color and under Theme Colors select White, Background 1, Darker 50% (sixth row, first option from left). Close the Format Background dialog.