SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
พัฒนาการทางจริยธรรม
     ของโคลเบิรก
               ์
(Lawrence Kohlberg)
โคลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg)
     ได้ศึกษาวิจัยพัฒนาการทาง
จริยธรรมตามแนวทฤษฎีของพีอาเจต์
 แต่โคลเบิรก์ได้ปรับปรุงวิธวิจย การ
                           ี ั
  วิเคราะห์ผลรวมและได้วิจัยอย่าง
     กว้างขวางในประเทศอืนทีมี
                            ่ ่
           วัฒนธรรมต่างไป
ปัญหาทางจริยธรรมที่ผู้ตอบยากที่จะ
ตัดสินใจได้ว่า “ถูก” “ผิด” “ควรทำา” “ไม่
ควรทำา” อย่างเด็ดขาด เพราะขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบหลายอย่าง การตอบจะขึ้น
กับวัยของผู้ตอบเกี่ยวกับความเห็นใจใน
บทบาทของผู้แสดงพฤติกรรมในเรื่องค่า
นิยม ความสำานึกในหน้าที่ในฐานะเป็น
  สมาชิกของสังคม ความยุติธรรมหรือ
         หลักการที่ตนยึดถือ
โคลเบิร์ก ให้คำาจำากัดความของ
จริยธรรมว่า จริยธรรมเป็นความรู้ ความ
เข้าใจ เกี่ยวกับความถูกผิด และเกิดขึ้น
   จากขบวนการทางความคิดอย่างมี
   เหตุผล ซึ่งต้องอาศัยวุฒภาวะทาง
                           ิ
                ปัญญา
โคลเบิร์ก เชื่อว่าพัฒนาการทาง
จริยธรรมเป็นผลจากการพัฒนาการของ
โครงสร้างทางความคิดความเข้าใจเกียว่
             กับจริยธรรม
                      
จริยธรรมของเด็กจะไม่ถงขั้นสูงสุดในอายุ
                        ึ
10 ปี แต่จะมีการพัฒนาขึ้นอีกหลายขั้นจาก
อายุ 11-25 ปี การใช้เหตุผลเพื่อการตัดสิน
 ใจทีจะเลือกกระทำาอย่างใดอย่างหนึง จะ
      ่                             ่
 แสดงให้เห็นถึงความเจริญของจิตใจของ
บุคคล การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ไม่ได้
 ขึ้นอยู่กบกฎเกณฑ์ของสังคมใดสังคมหนึง
          ั                            ่
 โดยเฉพาะ แต่เป็นการใช้เหตุผลทีลกซึ้ง
                                  ่ ึ
 ยากแก่การเข้าใจยิ่งขึ้นตามลำาดับของวุฒิ
             ภาวะทางปัญญา
โคลเบิร์ก ได้ศึกษาการใช้เหตุผลเชิง
 จริยธรรมของเยาวชนอเมริกน อายุ 10
                             ั
     -16 ปี และได้แบ่งพัฒนาการทาง
   จริยธรรมออกเป็น 3 ระดับ (Levels)
แต่ละระดับแบ่งออกเป็น 2 ขั้น (Stages)
 ดังนัน พัฒนาการทางจริยธรรมของโคล
      ้
เบิร์กมีทงหมด 6 ขั้น คำาอธิบายของระดับ
         ั้
     และขั้นต่างๆ ของพัฒนาการทาง
  จริยธรรมของโคลเบิร์ก มีดังต่อไปนี้  
ระดับ ที่ 1 ระดับ ก่อ นมีจ ริย ธรรมหรือ
  ระดับ ก่อ นกฎเกณฑ์ส ัง คม (Pre -
          Conventional Level)
ของพฤติกรรมที่ “ดี” “ไม่ดี” จากผู้มอำานาจ
                                   ี
   เหนือตน เช่น บิดามารดา ครูหรือเด็กโต
และมักจะคิดถึงผลตามทีจะนำารางวัลหรือการ
                        ่
                  ลงโทษ
      พฤติกรรม “ดี” คือ พฤติกรรมทีแสดง
                                     ่
               แล้วได้รางวัล
        พฤติกรรม “ไม่ดี” คือ พฤติกรรมที่
            แสดงแล้วได้รับโทษ
 โดยบุคคลจะตอบสนองต่อกฎเกณฑ์ซึ่งผู้มี
 อำานาจทางกายเหนือตนเองกำาหนดขึ้น จะ
 ตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรมทีเป็นหลักต่อ
                              ่
โคลเบิร์กแบ่งพัฒนาการทางจริยธรรม
               ระดับนี้เป็น 2 ขั้น อ ฟัง
    ขั้น ที่ 1 การถูก ลงโทษและการเชื่
 (Punishment and Obedience Orientation) เด็กจะ
  ยอมทำาตามคำาสังผู้มีอำานาจเหนือตนโดยไม่มีเงื่อนไข
                   ่
 เพื่อไม่ให้ตนถูกลงโทษ ขั้นนีแสดงพฤติกรรมเพื่อหลบ
                              ้
  หลีกการถูกลงโทษ เพราะกลัวความเจ็บปวด ยอมทำา
        ตามผู้ใหญ่เพราะมีอำานาจทางกายเหนือตน
       โคลเบิร์ก อธิบายว่า ในขั้นนี้เด็กจะใช้ผลตามของ
พฤติกรรมเป็นเครื่องชีว่า พฤติกรรมของตน “ถูก” หรือ
                         ้
“ผิด” เป็นต้นว่า ถ้าเด็กถูกทำาโทษก็จะคิดว่าสิ่งที่ตนทำา
      “ผิด” และจะพยายามหลีกเลี่ยงไม่ทำาสิ่งนั้นอีก
 พฤติกรรมใดที่มีผลตามด้วยรางวัลหรือคำาชม เด็กก็จะ
 คิดว่าสิ่งที่ตนทำา “ถูก” และจะทำาซำ้าอีกเพื่อหวังรางวัล
การแสวงหารางวัลและการแลกเปลี่ยน บุคคลจะเลือก
ทำาตามความพอใจตนของตนเอง โดยให้ความสำาคัญ
ของการได้รับรางวัลตอบแทน ทั้งรางวัลที่เป็นวัตถุหรือ
 การตอบแทนทางกาย วาจา และใจ โดยไม่คำานึงถึง
    ความถูกต้องของสังคม ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อ
 ต้องการผลประโยชน์สงตอบแทน รางวัล และสิงแลก
                      ิ่                     ่
              เปลี่ยน เป็นสิ่งตอบแทน

        โคลเบิร์ก อธิบายว่า ในขั้นนีเด็กจะสนใจทำาตาม
                                      ้
กฎข้อบังคับ เพื่อประโยชน์หรือความพอใจของตนเอง
 หรือทำาดีเพราอยากได้ของตอบแทน หรือรางวัล ไม่ได้
 คิดถึงความยุติธรรมและความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น หรือ
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น พฤติกรรมของเด็กในขั้นนี้
ทำาเพื่อสนองความต้องการของตนเอง แต่มักจะเป็นการ
เกณฑ์ส ัง คม (Conventional Level)
พัฒนาการจริยธรรมระดับนี้ ผู้ทำาถือว่า
การประพฤติตนตามความคาดหวังของผู้
    ปกครอง บิดามารดา กลุ่มที่ตนเป็น
สมาชิกหรือของชาติ เป็นสิ่งที่ควรจะทำา
 หรือทำาความผิด เพราะกลัวว่าตนจะไม่
     เป็นที่ยอมรับของผู้อื่น ผู้แสดง
พฤติกรรมจะไม่คำานึงถึงผลตามที่จะเกิด
ขึ้นแก่ตนเอง ถือว่าความซื่อสัตย์ ความ
 จงรักภักดีเป็นสิ่งสำาคัญ ทุกคนมีหน้าที่
โดยบุคคลจะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ
  สังคมที่ตนเองอยู่ ตามความคาดหวัง
 ของครอบครัวและสังคม โดยไม่คำานึง
 ถึงผลที่จะเกิดขึ้นขณะนั้นหรือภายหลัง
ก็ตาม จะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม
โดยคำานึงถึงจิตใจของผู้อื่น จะพบในวัย
     รุ่นอายุ 10 -16 ปี โคลเบิร์กแบ่ง
 พัฒนาการทางจริยธรรม ระดับนี้เป็น 2
                   ขั้น
ขั้น ที่ 3 ความคาดหวัง และการยอมรับ ในสัง คม
 สำา หรับ “เด็ก ดี” (Interpersonal Concordance of
“Good boy , nice girl” Orientation) บุคคลจะใช้หลัก
 ทำาตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ ใช้เหตุผลเลือกทำาในสิงที่กลุ่ม
                                               ่
 ยอมรับโดยเฉพาะเพื่อน เพื่อเป็นที่ชนชอบและยอมรับ
                                       ื่
 ของเพื่อน ไม่เป็นตัวของตัวเอง คล้อยตามการชักจูง
ของผู้อื่น เพื่อต้องการรักษาสัมพันธภาพที่ดี พบในวัย
รุ่นอายุ 10 -15 ปี ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อต้องการเป็น
ที่ยอมรับของหมู่คณะ การช่วยเหลือผูอื่นเพื่อทำาให้เขา
                                          ้
พอใจ และยกย่องชมเชย ทำาให้บคคลไม่มีความเป็นตัว
                                     ุ
   ของตัวเอง ชอบคล้อยตามการชักจูงของผู้อื่น โดย
                      เฉพาะกลุ่มเพื่อน
โคลเบิร์ก อธิบายว่า พัฒนาการทาง
 จริยธรรมขั้นนี้เป็นพฤติกรรมของ “คนดี”
 ตามมาตรฐานหรือความคาดหวังของบิดา
มารดาหรือเพือนวัยเดียวกัน พฤติกรรม “ดี”
             ่
หมายถึง พฤติกรรมทีจะทำาให้ผู้อนชอบและ
                     ่        ื่
ยอมรับ หรือไม่ประพฤติผิดเพราะเกรงว่าพ่อ
               แม่จะเสียใจ
order” Orientation) จะใช้หลักทำาตาม
หน้าที่ของสังคม โดยปฏิบัติตามระเบียบ
ของสังคมอย่างเคร่งครัด เรียนรู้การเป็น
 หน่วยหนึงของสังคม ปฏิบัติตามหน้าที่
           ่
  ของสังคมเพื่อดำารงไว้ซึ่งกฎเกณฑ์ใน
 สังคม พบในอายุ 13 -16 ปี ขั้นนี้แสดง
 พฤติกรรมเพื่อทำาตามหน้าที่ของสังคม
โดยบุคคลรู้ถึงบทบาทและหน้าที่ของเขา
ในฐานะเป็นหน่วยหนึ่งของสังคมนั้น จึง
 มีหน้าที่ทำาตามกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่สังคม
โคลเบิร์ก อธิบายว่า เหตุผลทาง
จริยธรรมในขั้นนี้ ถือว่าสังคมจะอยู่ด้วย
 ความมีระเบียบเรียบร้อยต้องมีกฎหมาย
และข้อบังคับ คนดีหรือคนที่มีพฤติกรรม
  ถูกต้องคือ คนที่ปฏิบัติตามระเบียบ
 บังคับหรือกฎหมาย ทุกคนควรเคารพ
 กฎหมาย เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย
    และความเป็นระเบียบของสังคม
(Post - Conventional Level) พัฒนาการทาง
 จริยธรรมระดับนี้ เป็นหลักจริยธรรมของผู้มีอายุ 20 ปี
   ขึ้นไป ผู้ทำาหรือผู้แสดงพฤติกรรมได้พยายามที่จะ
 ตีความหมายของหลักการและมาตรฐานทางจริยธรรม
  ด้วยวิจารณญาณ ก่อนที่จะยึดถือเป็นหลักของความ
  ประพฤติที่จะปฏิบัติตาม การตัดสินใจ “ถูก” “ผิด”
  “ไม่ควร” มาจากวิจารณญาณของตนเอง ปราศจาก
   อิทธิพลของผู้มอำานาจหรือกลุ่มที่ตนเป็นสมาชิก กฎ
                  ี
  เกณฑ์ – กฎหมาย ควรจะตั้งบนหลักความยุติธรรม
และเป็นที่ยอมรับของสมาชิกของสังคมที่ตนเป็นสมาชิก
ทำาให้บุคคลตัดสินข้อขัดแย้งของตนเองโดยใช้ความคิด
  ไตร่ตรองอาศัยค่านิยมที่ตนเชื่อและยึดถือเป็นเครื่อง
ช่วยในการตัดสินใจ จะปฏิบติตามสิ่งที่สำาคัญมากกว่า
                             ั
โดยมีกฎเกณฑ์ของตนเอง ซึ่งพัฒนามาจากกฎเกณฑ์
ทำา ตามคำา มัน สัญ ญา (Social
                  ่
   Contract Orientation) บุคคลจะมี
 เหตุผลในการเลือกกระทำาโดยคำานึงถึง
ประโยชน์ของคนหมู่มาก ไม่ละเมิดสิทธิ
  ของผู้อื่น สามารถควบคุมตนเองได้
   เคารพการตัดสินใจที่จะกระทำาด้วย
 ตนเอง ไม่ถูกควบคุมจากบุคคลอื่น มี
 พฤติกรรมที่ถูกต้องตามค่านิยมของตน
และมาตรฐานของสังคม ถือว่ากฎเกณฑ์
  ต่างๆเปลี่ยนแปลงได้ โดยพิจารณา
ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพือทำาตามมาตรฐาน
                        ่
ของสังคม เห็นแก่ประโยชน์สวนรวมมากกว่า
                            ่
ประโยชน์สวนตน โดยบุคคลเห็นความสำาคัญ
            ่
 ของคนหมู่มากจึงไม่ทำาตนให้ขัดต่อสิทธิอัน
 พึงมีได้ของผู้อื่น สามารถควบคุมบังคับใจ
ตนเองได้ พฤติกรรมที่ถกต้องจะต้องเป็นไป
                          ู
ตามค่านิยมส่วนตัว ผสมผสานกับมาตรฐาน
ซึ่งได้รับการตรวจสอบและยอมรับจากสังคม
โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เน้นถึงความสำาคัญของ
  มาตรฐานทางจริยธรรมที่ทุกคนหรือคนส่วนใหญ่ใน
สังคมยอมรับว่าเป็นสิงที่ถูกสมควรที่จะปฏิบติตาม โดย
                     ่                     ั
 พิจารณาถึงประโยชน์และสิทธิของบุคคลก่อนที่จะใช้
เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ได้ใช้ความคิดและเหตุผล
  เปรียบเทียบว่าสิงไหนผิดและสิ่งไหนถูก ในขั้นนี้การ
                  ่
“ถูก” และ “ผิด” ขึ้นอยู่กับค่านิยมและความคิดเห็นของ
บุคคลแต่ละบุคคล แม้ว่าจะเห็นความสำาคัญของสัญญา
หรือข้อตกลงระหว่างบุคคล แต่เปิดให้มีการแก้ไข โดย
คำานึงถึงประโยชน์และสถานการณ์แวดล้อมในขณะนั้น 
Ethical Principle Orientation) เป็นขั้นที่เลือก
  ตัดสินใจที่จะกระทำาโดยยอมรับความคิดที่เป็น
 สากลของผู้เจริญแล้ว ขันนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อ
                        ้
 ทำาตามหลักการคุณธรรมสากล โดยคำานึงความ
  ถูกต้องยุติธรรมยอมรับในคุณค่าของความเป็น
 มนุษย์ มีอุดมคติและคุณธรรมประจำาใจ มีความ
 ยืดหยุนและยึดหลักจริยธรรมของตนอย่างมีสติ
        ่
  ด้วยความยุติธรรม และคำานึงถึงสิทธิมนุษยชน
เคารพในความเป็นมนุษย์ของแต่ละบุคคล ละอาย
  และเกรงกลัวต่อบาป พบในวัยผูใหญ่ที่มีความ
                                ้
               เจริญทางสติปญญา
                           ั
โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เป็นหลักการ
มาตรฐานจริยธรรมสากล เป็นหลักการ
เพื่อมนุษยธรรม เพื่อความเสมอภาคใน
สิทธิมนุษยชนและเพื่อความยุติธรรมของ
 มนุษย์ทุกคน ในขั้นนี้สิ่งที่ “ถูก” และ
 “ผิด” เป็นสิ่งที่ขึ้นมโนธรรมของแต่ละ
          บุคคลที่เลือกยึดถือ 
เปลี่ย นแปลงของนัก ศึก ษามหาวิท ยาลัย
สยาม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสยาม,
                    2551.
  สุรางค์ โคว้ตระกูล. จิต วิท ยาการศึก ษา.
  กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
              มหาวิทยาลัย , 2548.
ชุมศรี ชำานาญพูด. พฤติก รรมเชิง จริย ธรรม
 ของนัก ศึก ษาพยาบาลตามจรรยาบรรณ
วิช าชีพ การพยาบาลในวิท ยาลัย พยาบาล
      สัง กัด กองงานวิท ยาลัย พยาบาล
    สำา นัก งานปลัด กระทรวง กระทรวง
สาธารณสุข , ชลบุรี: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
จบการนำา เสนอ
    ค่ะ
Original kohlberg
Original kohlberg
Original kohlberg
Original kohlberg

More Related Content

Similar to Original kohlberg

คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินAum Soodtaling
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินAum Soodtaling
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4paewwaew
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กsanniah029
 
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กNusaiMath
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กya035
 
โคลเบ ร ก
โคลเบ ร กโคลเบ ร ก
โคลเบ ร กmakusoh026
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กsanniah029
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมthnaporn999
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑Tuk Diving
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyle10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyleetcenterrbru
 

Similar to Original kohlberg (20)

คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมิน
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมิน
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
สังคมประกิต
สังคมประกิตสังคมประกิต
สังคมประกิต
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
โคลเบ ร ก
โคลเบ ร กโคลเบ ร ก
โคลเบ ร ก
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyle10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyle
 

More from Rorsed Mardra

1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 

More from Rorsed Mardra (20)

Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
 

Original kohlberg

  • 1. พัฒนาการทางจริยธรรม ของโคลเบิรก ์ (Lawrence Kohlberg)
  • 2. โคลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg) ได้ศึกษาวิจัยพัฒนาการทาง จริยธรรมตามแนวทฤษฎีของพีอาเจต์ แต่โคลเบิรก์ได้ปรับปรุงวิธวิจย การ ี ั วิเคราะห์ผลรวมและได้วิจัยอย่าง กว้างขวางในประเทศอืนทีมี ่ ่ วัฒนธรรมต่างไป
  • 3. ปัญหาทางจริยธรรมที่ผู้ตอบยากที่จะ ตัดสินใจได้ว่า “ถูก” “ผิด” “ควรทำา” “ไม่ ควรทำา” อย่างเด็ดขาด เพราะขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบหลายอย่าง การตอบจะขึ้น กับวัยของผู้ตอบเกี่ยวกับความเห็นใจใน บทบาทของผู้แสดงพฤติกรรมในเรื่องค่า นิยม ความสำานึกในหน้าที่ในฐานะเป็น สมาชิกของสังคม ความยุติธรรมหรือ หลักการที่ตนยึดถือ
  • 4. โคลเบิร์ก ให้คำาจำากัดความของ จริยธรรมว่า จริยธรรมเป็นความรู้ ความ เข้าใจ เกี่ยวกับความถูกผิด และเกิดขึ้น จากขบวนการทางความคิดอย่างมี เหตุผล ซึ่งต้องอาศัยวุฒภาวะทาง ิ ปัญญา
  • 6. จริยธรรมของเด็กจะไม่ถงขั้นสูงสุดในอายุ ึ 10 ปี แต่จะมีการพัฒนาขึ้นอีกหลายขั้นจาก อายุ 11-25 ปี การใช้เหตุผลเพื่อการตัดสิน ใจทีจะเลือกกระทำาอย่างใดอย่างหนึง จะ ่ ่ แสดงให้เห็นถึงความเจริญของจิตใจของ บุคคล การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ไม่ได้ ขึ้นอยู่กบกฎเกณฑ์ของสังคมใดสังคมหนึง ั ่ โดยเฉพาะ แต่เป็นการใช้เหตุผลทีลกซึ้ง ่ ึ ยากแก่การเข้าใจยิ่งขึ้นตามลำาดับของวุฒิ ภาวะทางปัญญา
  • 7. โคลเบิร์ก ได้ศึกษาการใช้เหตุผลเชิง จริยธรรมของเยาวชนอเมริกน อายุ 10 ั -16 ปี และได้แบ่งพัฒนาการทาง จริยธรรมออกเป็น 3 ระดับ (Levels) แต่ละระดับแบ่งออกเป็น 2 ขั้น (Stages) ดังนัน พัฒนาการทางจริยธรรมของโคล ้ เบิร์กมีทงหมด 6 ขั้น คำาอธิบายของระดับ ั้ และขั้นต่างๆ ของพัฒนาการทาง จริยธรรมของโคลเบิร์ก มีดังต่อไปนี้  
  • 8. ระดับ ที่ 1 ระดับ ก่อ นมีจ ริย ธรรมหรือ ระดับ ก่อ นกฎเกณฑ์ส ัง คม (Pre - Conventional Level)
  • 9. ของพฤติกรรมที่ “ดี” “ไม่ดี” จากผู้มอำานาจ ี เหนือตน เช่น บิดามารดา ครูหรือเด็กโต และมักจะคิดถึงผลตามทีจะนำารางวัลหรือการ ่ ลงโทษ พฤติกรรม “ดี” คือ พฤติกรรมทีแสดง ่ แล้วได้รางวัล พฤติกรรม “ไม่ดี” คือ พฤติกรรมที่ แสดงแล้วได้รับโทษ โดยบุคคลจะตอบสนองต่อกฎเกณฑ์ซึ่งผู้มี อำานาจทางกายเหนือตนเองกำาหนดขึ้น จะ ตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรมทีเป็นหลักต่อ ่
  • 10. โคลเบิร์กแบ่งพัฒนาการทางจริยธรรม ระดับนี้เป็น 2 ขั้น อ ฟัง ขั้น ที่ 1 การถูก ลงโทษและการเชื่ (Punishment and Obedience Orientation) เด็กจะ ยอมทำาตามคำาสังผู้มีอำานาจเหนือตนโดยไม่มีเงื่อนไข ่ เพื่อไม่ให้ตนถูกลงโทษ ขั้นนีแสดงพฤติกรรมเพื่อหลบ ้ หลีกการถูกลงโทษ เพราะกลัวความเจ็บปวด ยอมทำา ตามผู้ใหญ่เพราะมีอำานาจทางกายเหนือตน โคลเบิร์ก อธิบายว่า ในขั้นนี้เด็กจะใช้ผลตามของ พฤติกรรมเป็นเครื่องชีว่า พฤติกรรมของตน “ถูก” หรือ ้ “ผิด” เป็นต้นว่า ถ้าเด็กถูกทำาโทษก็จะคิดว่าสิ่งที่ตนทำา “ผิด” และจะพยายามหลีกเลี่ยงไม่ทำาสิ่งนั้นอีก พฤติกรรมใดที่มีผลตามด้วยรางวัลหรือคำาชม เด็กก็จะ คิดว่าสิ่งที่ตนทำา “ถูก” และจะทำาซำ้าอีกเพื่อหวังรางวัล
  • 11. การแสวงหารางวัลและการแลกเปลี่ยน บุคคลจะเลือก ทำาตามความพอใจตนของตนเอง โดยให้ความสำาคัญ ของการได้รับรางวัลตอบแทน ทั้งรางวัลที่เป็นวัตถุหรือ การตอบแทนทางกาย วาจา และใจ โดยไม่คำานึงถึง ความถูกต้องของสังคม ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อ ต้องการผลประโยชน์สงตอบแทน รางวัล และสิงแลก ิ่ ่ เปลี่ยน เป็นสิ่งตอบแทน โคลเบิร์ก อธิบายว่า ในขั้นนีเด็กจะสนใจทำาตาม ้ กฎข้อบังคับ เพื่อประโยชน์หรือความพอใจของตนเอง หรือทำาดีเพราอยากได้ของตอบแทน หรือรางวัล ไม่ได้ คิดถึงความยุติธรรมและความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น หรือ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น พฤติกรรมของเด็กในขั้นนี้ ทำาเพื่อสนองความต้องการของตนเอง แต่มักจะเป็นการ
  • 12. เกณฑ์ส ัง คม (Conventional Level) พัฒนาการจริยธรรมระดับนี้ ผู้ทำาถือว่า การประพฤติตนตามความคาดหวังของผู้ ปกครอง บิดามารดา กลุ่มที่ตนเป็น สมาชิกหรือของชาติ เป็นสิ่งที่ควรจะทำา หรือทำาความผิด เพราะกลัวว่าตนจะไม่ เป็นที่ยอมรับของผู้อื่น ผู้แสดง พฤติกรรมจะไม่คำานึงถึงผลตามที่จะเกิด ขึ้นแก่ตนเอง ถือว่าความซื่อสัตย์ ความ จงรักภักดีเป็นสิ่งสำาคัญ ทุกคนมีหน้าที่
  • 13. โดยบุคคลจะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ สังคมที่ตนเองอยู่ ตามความคาดหวัง ของครอบครัวและสังคม โดยไม่คำานึง ถึงผลที่จะเกิดขึ้นขณะนั้นหรือภายหลัง ก็ตาม จะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม โดยคำานึงถึงจิตใจของผู้อื่น จะพบในวัย รุ่นอายุ 10 -16 ปี โคลเบิร์กแบ่ง พัฒนาการทางจริยธรรม ระดับนี้เป็น 2 ขั้น
  • 14. ขั้น ที่ 3 ความคาดหวัง และการยอมรับ ในสัง คม สำา หรับ “เด็ก ดี” (Interpersonal Concordance of “Good boy , nice girl” Orientation) บุคคลจะใช้หลัก ทำาตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ ใช้เหตุผลเลือกทำาในสิงที่กลุ่ม ่ ยอมรับโดยเฉพาะเพื่อน เพื่อเป็นที่ชนชอบและยอมรับ ื่ ของเพื่อน ไม่เป็นตัวของตัวเอง คล้อยตามการชักจูง ของผู้อื่น เพื่อต้องการรักษาสัมพันธภาพที่ดี พบในวัย รุ่นอายุ 10 -15 ปี ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อต้องการเป็น ที่ยอมรับของหมู่คณะ การช่วยเหลือผูอื่นเพื่อทำาให้เขา ้ พอใจ และยกย่องชมเชย ทำาให้บคคลไม่มีความเป็นตัว ุ ของตัวเอง ชอบคล้อยตามการชักจูงของผู้อื่น โดย เฉพาะกลุ่มเพื่อน
  • 15. โคลเบิร์ก อธิบายว่า พัฒนาการทาง จริยธรรมขั้นนี้เป็นพฤติกรรมของ “คนดี” ตามมาตรฐานหรือความคาดหวังของบิดา มารดาหรือเพือนวัยเดียวกัน พฤติกรรม “ดี” ่ หมายถึง พฤติกรรมทีจะทำาให้ผู้อนชอบและ ่ ื่ ยอมรับ หรือไม่ประพฤติผิดเพราะเกรงว่าพ่อ แม่จะเสียใจ
  • 16. order” Orientation) จะใช้หลักทำาตาม หน้าที่ของสังคม โดยปฏิบัติตามระเบียบ ของสังคมอย่างเคร่งครัด เรียนรู้การเป็น หน่วยหนึงของสังคม ปฏิบัติตามหน้าที่ ่ ของสังคมเพื่อดำารงไว้ซึ่งกฎเกณฑ์ใน สังคม พบในอายุ 13 -16 ปี ขั้นนี้แสดง พฤติกรรมเพื่อทำาตามหน้าที่ของสังคม โดยบุคคลรู้ถึงบทบาทและหน้าที่ของเขา ในฐานะเป็นหน่วยหนึ่งของสังคมนั้น จึง มีหน้าที่ทำาตามกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่สังคม
  • 17. โคลเบิร์ก อธิบายว่า เหตุผลทาง จริยธรรมในขั้นนี้ ถือว่าสังคมจะอยู่ด้วย ความมีระเบียบเรียบร้อยต้องมีกฎหมาย และข้อบังคับ คนดีหรือคนที่มีพฤติกรรม ถูกต้องคือ คนที่ปฏิบัติตามระเบียบ บังคับหรือกฎหมาย ทุกคนควรเคารพ กฎหมาย เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย และความเป็นระเบียบของสังคม
  • 18. (Post - Conventional Level) พัฒนาการทาง จริยธรรมระดับนี้ เป็นหลักจริยธรรมของผู้มีอายุ 20 ปี ขึ้นไป ผู้ทำาหรือผู้แสดงพฤติกรรมได้พยายามที่จะ ตีความหมายของหลักการและมาตรฐานทางจริยธรรม ด้วยวิจารณญาณ ก่อนที่จะยึดถือเป็นหลักของความ ประพฤติที่จะปฏิบัติตาม การตัดสินใจ “ถูก” “ผิด” “ไม่ควร” มาจากวิจารณญาณของตนเอง ปราศจาก อิทธิพลของผู้มอำานาจหรือกลุ่มที่ตนเป็นสมาชิก กฎ ี เกณฑ์ – กฎหมาย ควรจะตั้งบนหลักความยุติธรรม และเป็นที่ยอมรับของสมาชิกของสังคมที่ตนเป็นสมาชิก ทำาให้บุคคลตัดสินข้อขัดแย้งของตนเองโดยใช้ความคิด ไตร่ตรองอาศัยค่านิยมที่ตนเชื่อและยึดถือเป็นเครื่อง ช่วยในการตัดสินใจ จะปฏิบติตามสิ่งที่สำาคัญมากกว่า ั โดยมีกฎเกณฑ์ของตนเอง ซึ่งพัฒนามาจากกฎเกณฑ์
  • 19. ทำา ตามคำา มัน สัญ ญา (Social ่ Contract Orientation) บุคคลจะมี เหตุผลในการเลือกกระทำาโดยคำานึงถึง ประโยชน์ของคนหมู่มาก ไม่ละเมิดสิทธิ ของผู้อื่น สามารถควบคุมตนเองได้ เคารพการตัดสินใจที่จะกระทำาด้วย ตนเอง ไม่ถูกควบคุมจากบุคคลอื่น มี พฤติกรรมที่ถูกต้องตามค่านิยมของตน และมาตรฐานของสังคม ถือว่ากฎเกณฑ์ ต่างๆเปลี่ยนแปลงได้ โดยพิจารณา
  • 20. ขั้นนี้แสดงพฤติกรรมเพือทำาตามมาตรฐาน ่ ของสังคม เห็นแก่ประโยชน์สวนรวมมากกว่า ่ ประโยชน์สวนตน โดยบุคคลเห็นความสำาคัญ ่ ของคนหมู่มากจึงไม่ทำาตนให้ขัดต่อสิทธิอัน พึงมีได้ของผู้อื่น สามารถควบคุมบังคับใจ ตนเองได้ พฤติกรรมที่ถกต้องจะต้องเป็นไป ู ตามค่านิยมส่วนตัว ผสมผสานกับมาตรฐาน ซึ่งได้รับการตรวจสอบและยอมรับจากสังคม
  • 21. โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เน้นถึงความสำาคัญของ มาตรฐานทางจริยธรรมที่ทุกคนหรือคนส่วนใหญ่ใน สังคมยอมรับว่าเป็นสิงที่ถูกสมควรที่จะปฏิบติตาม โดย ่ ั พิจารณาถึงประโยชน์และสิทธิของบุคคลก่อนที่จะใช้ เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ได้ใช้ความคิดและเหตุผล เปรียบเทียบว่าสิงไหนผิดและสิ่งไหนถูก ในขั้นนี้การ ่ “ถูก” และ “ผิด” ขึ้นอยู่กับค่านิยมและความคิดเห็นของ บุคคลแต่ละบุคคล แม้ว่าจะเห็นความสำาคัญของสัญญา หรือข้อตกลงระหว่างบุคคล แต่เปิดให้มีการแก้ไข โดย คำานึงถึงประโยชน์และสถานการณ์แวดล้อมในขณะนั้น 
  • 22. Ethical Principle Orientation) เป็นขั้นที่เลือก ตัดสินใจที่จะกระทำาโดยยอมรับความคิดที่เป็น สากลของผู้เจริญแล้ว ขันนี้แสดงพฤติกรรมเพื่อ ้ ทำาตามหลักการคุณธรรมสากล โดยคำานึงความ ถูกต้องยุติธรรมยอมรับในคุณค่าของความเป็น มนุษย์ มีอุดมคติและคุณธรรมประจำาใจ มีความ ยืดหยุนและยึดหลักจริยธรรมของตนอย่างมีสติ ่ ด้วยความยุติธรรม และคำานึงถึงสิทธิมนุษยชน เคารพในความเป็นมนุษย์ของแต่ละบุคคล ละอาย และเกรงกลัวต่อบาป พบในวัยผูใหญ่ที่มีความ ้ เจริญทางสติปญญา ั
  • 23. โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เป็นหลักการ มาตรฐานจริยธรรมสากล เป็นหลักการ เพื่อมนุษยธรรม เพื่อความเสมอภาคใน สิทธิมนุษยชนและเพื่อความยุติธรรมของ มนุษย์ทุกคน ในขั้นนี้สิ่งที่ “ถูก” และ “ผิด” เป็นสิ่งที่ขึ้นมโนธรรมของแต่ละ บุคคลที่เลือกยึดถือ 
  • 24. เปลี่ย นแปลงของนัก ศึก ษามหาวิท ยาลัย สยาม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสยาม, 2551. สุรางค์ โคว้ตระกูล. จิต วิท ยาการศึก ษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย , 2548. ชุมศรี ชำานาญพูด. พฤติก รรมเชิง จริย ธรรม ของนัก ศึก ษาพยาบาลตามจรรยาบรรณ วิช าชีพ การพยาบาลในวิท ยาลัย พยาบาล สัง กัด กองงานวิท ยาลัย พยาบาล สำา นัก งานปลัด กระทรวง กระทรวง สาธารณสุข , ชลบุรี: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,