SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
EBOOKPROJECT
 
AMD RYZEN 
Overclocking Guide 
คู่มือโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen 
(ฉบับพืนฐาน) 
 
 
 
 
 
 
 
เขียน/บรรณาธิการ 
ธนกาญจน์ จุ้ยเจรญ 
พฤษภาคม 2561 
 
สํานักพิมพ์: 
QuickPC Extreme 
40 ซอยลาดพร้าววังหิน 76 ถนนลาดพร้าววังหิน 
แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10230 
ติดต่อ:  
ราตร ตรกมล / โทร. 083-189-4449 / ratree@quickpcextreme.com 
www.quickpcextreme.com​ / เว็บไซต์สํานักพิมพ์ 
www.quickpconline.com​ / เว็บไซต์นิตยสารออนไลน์   
 
 
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
สารบัญ 
● สถาปตยกรรม Zen ในซีพียู Ryzen…..5 
● ทําความรู้จักเทคโนโลยี SenseMI, XFR, Precision Boost 
เพือเข้าใจความแตกต่างของ Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2 …..​10 
● AMD Ryzen Platform…..​18 
● ไบออสคืออะไร ใช้ซีพียูใหม่ทําไมต้องอัปเกรดไบออส…..23 
● มาตรฐานของแรม และความเข้าใจเรอง XMP…..27 
● พืนฐานการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen…..30 
● โอเวอร์คล็อกซีพียูทําไมต้องเพิมไฟ.....35 
● ทดลองโอเวอร์คล็อกซีพียู (Ryzen 5 2400G)......50 
● ทดลองโอเวอร์คล็อกหน่วยความจํา(แรม)…..57 
● ทดลองโอเวอร์คล็อกกราฟก RX Vega ในซีพียู (Ryzen 5 
2400G).....​77 
 
 
   
 
 
- 2 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
Editor’s Talk 
 
จุดเด่นประการสําคัญของซีพียู Ryzen ก็คือ ซีพียูทุกรุ่นสามารถ
นํามาโอเวอร์คล็อกเพือเพิมประสิทธิภาพในการทํางานได้ ไม่ว่าจะเปนซีพียู
รุ่นใหญ่ในระดับ Ryzen 7 หรอซีพียูรุ่นเล็กในระดับ Ryzen 3 
 
การโอเวอร์คล็อกซีพียูในยุคปจจุบันก็สามารถทําได้อย่างง่ายดาย 
ไม่ต้องเปนผู้เชียวชาญก็สามารถโอเวอร์คล็อกซีพียูให้เร็วขึนได้แล้ว 
อย่างไรก็ตามการทีเราได้เรยนรู้ข้อมูลขันพืนฐานในเรองการโอเวอร์คล็อก
ก็จะทําให้เราสามารถทําการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen รวมไปถึงซีพียูอืน
ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยมากยิงขึน (เพราะใช้หลักการเดียวกัน) 
 
หนังสือคู่มือการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen (ฉบับพืนฐาน) ทีทุก
ท่านกําลังอ่านอยู่นีเราได้รวบรวมข้อมูลพืนฐานทีควรรู้ ไม่ว่าจะเปนหลัก
การทํางานเบืองต้นของซีพียู เรองของไบออส เมนบอร์ด หน่วยความจํา 
และอืน ๆ ซึงจะช่วยให้คุณผู้อ่านทีเปนเจ้าของซีพียู Ryzen สามารถ 
โอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen ได้อย่างตรงกับความต้องการ และได้
ประสิทธิภาพสูงสุด 
 
นอกจากเรองของซีพียูแล้วเรายังได้รวบรวมรายละเอียดของการ
ปรับแต่งหน่วยความจํา ซึงเปนอีกส่วนหนึงทีช่วยให้ประสิทธิภาพการ
ทํางานโดยรวมของแพลตฟอร์มซีพียู Ryzen ทํางานได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ 
 
 
 
- 3 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
สุดท้ายต้องขอขอบคุณบรษัท SVOA ตัวแทนจําหน่ายผลิตภัณฑ์
ของ AMD และทีมงานของ AMD ประเทศไทย ทีช่วยสนับสนุนทรัพยากร
ต่าง ๆ จนทําให้หนังสือคู่มือฉบับนีเกิดขึนมาได้ หากคุณผู้อ่านพบข้อ
บกพร่องใด ๆ ของเนือหาในหนังสือคู่มือเล่นนีสามารถแจ้งมาได้ทีอีเมล 
thanakarn@quickpcextreme.com​ หรอถ้าต้องการให้เราเพิมเติม
เนือหาอะไรเพิมเติมก็แจ้งมาได้เช่นกันครับ เพือทีเราจะได้ทําการปรับปรุง
และแก้ไขในเล่มถัดไป และหวังว่าจะได้มีโอกาสมาพบกับคุณผู้อ่านอีกครัง
ใน “AMD Ryzen Overclocking Guide V.2” สวัสดีครับ 
 
 
ธนกาญจน์ จุ้ยเจรญ 
  บรรณาธิการ 
 
 
 
 
 
 
 
 
   
 
 
- 4 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
สถาปตยกรรม Zen ในซีพียู Ryzen  
ไม่ว่าจะเปนซีพียู Ryzen เจนฯ 1 หรอซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ก็ยัง
คงใช้สถาปตยกรรมหลักทีเหมือนกันชือว่า “Zen Core” ทีมีการออกแบบ
ใหม่หมดเมือเทียบกับซีพียูในตระกูล AMD FX (สถาปตยกรรม 
Bulldozer) ทีเปดตัวมาตังแต่ป 2011 
Ryzen เจนฯ 1 เราจะเรยกชือว่าเปนสถาปตยกรรม Zen 
(14nm) ส่วน Ryzen เจนฯ 2 เราจะเรยกชือสถาปตยกรรมว่า Zen+ 
(12nm) ไม่ได้เรยกว่า Zen 2 อย่างทีหลายคนเข้าใจ และอีกส่วนหนึงที
ควรทราบก็คือในซีพียู Ryzen 2000G Series ทีมาพร้อมกับกราฟก RX 
Vega ในตัวแม้จะถูกจัดให้เปน Ryzen เจนฯ 2 ตามกลไกทางการตลาด 
แต่สถาปตยกรรมภายในนันเปน Zen 14nm+ คือมีบางส่วนทีปรับปรุงที
แตกต่างไปจาก Ryzen เจนฯ 1 บ้างแต่ก็ไม่มากเท่ากับ Ryzen เจนฯ 2 ที
เปน Zen+ 12nm 
 
สําหรับซีพียู Ryzen เจนฯ 1 นันเรมวางตลาดครังแรกในเดือน
กุมภาพันธ์ 2017 จะเห็นได้ว่าเราต้องรอกันอย่างยาวนานถึง 6 ป เอเอ็มดี
 
 
- 5 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
จึงมีการยกเครองซีพียูใหม่ทังหมด (ถ้าไม่นับซีพียูทีมีชือรหัสว่า Jaguar ที
ตังใจทํามาใช้กับ Playstation โดยเฉพาะ และเอเอ็มดีก็นําใช้กับซีพียู 
Athlon รุ่นเล็กทีเปนซ็อกเก็ต AM1 ทีเจาะตลาดประหยัดพลังงานและใช้
งานพืนฐานทัวไป) แม้จะต้องรออย่างยาวนานก็ต้องบอกว่าเปนการคุ้มค่าที
รอคอยเพราะประสิทธิภาพของซีพียู Ryzen เจนฯ 1 สูงกว่า AMD FX ถึง 
52% เทียบจากการประมวลผลชุดคําสังต่อรอบสัญญาณนา ิกา 
 
ความเปลียนแปลงหลัก ๆ ทีเห็นได้ชัดจากการปรับปรุงมาเปน
สถาปตยกรรม Zen ก็คือการปรับปรุงภาค Front End ในการอ่านรหัส
คําสัง, ถอดรหัสคําสัง และประมวลผลคําสัง ให้มีประสิทธิภาพสูงขึน รวม
ไปถึงการมี FPU ครบตามจํานวนคอร์ ถ้าเราจําได้ในสมัย AMD FX แม้ว่า
จะเปนซีพียูแบบ 8 คอร์ แต่ว่า FPU จะมีเพียง 4 หน่วยเท่านัน ทําให้
ประสิทธิภาพในการทํางานด้านการประมวลผลเลขทศนิยมทําได้ค่อนข้าง
ช้า ซึงปญหานีจรง ๆ ไม่ได้เปนทีตัวฮาร์ดแวร์เพียงอย่างเดียว แต่ว่าเปนที
วนโดวส์เองก็ไม่ได้ปรับแต่งการทํางานให้เหมาะสมกับการออกแบบของเอ
เอ็มดีด้วย และถ้าใครพอจะจําได้ตอนทีวนโดวส์ 10 เปดตัวมา เราก็ได้เห็น
สือต่าง ๆ พูดถึงซีพียู AMD FX ว่าทํางานได้ดีกว่าวนโดวส์ 7 และ 8 อย่าง
 
 
- 6 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ไม่น่าเชือ ทัง ๆ ทีเปนฮาร์ดแวร์รุ่นเดิม อย่างไรก็ตามแต่ปญหาเหล่านันได้
ถูกกําจัดให้หมดไปด้วยสถาปตยกรรมใหม่เรยบร้อยแล้ว 
 
นอกจากการปรับปรุงในส่วนของ Front End แล้ว ทางเอเอ็มดี
ยังได้เพิมคุณสมบัติในการทํางานทีเรยกว่า SMT (Simultaneous 
multithreading) หมายถึงหนึงคอร์ของซีพียูสามารถรองรับได้สอง
เธรดพร้อมกัน (หรอทางฝงอินเทลเราก็จะคุ้นเคยกับเทคโนโลยีนีในชือว่าไฮ
เปอร์เธรดดิงนันเอง) นันทําให้ซีพียูของเอเอ็มดีรุ่นใหม่นีสามารถทีจะเพิม
ประสิทธิภาพในการทํางานได้ง่ายขึนกว่าเดิม และทางเอเอ็มดีก็สามารถ
สร้างซีพียูทีมีความหลากหลายออกมาเพือแข่งกับอินเทลได้ในทุกตลาด 
และผลจากการปรากฏตัวของซีพียู Ryzen นันก็ทําให้ทางฝงอินเทลเองไม่
สามารถอยู่นิงได้ ต้องทําการอัปเกรดซีพียู Core i3 ทีเปนซีพียูแบบ 2 
คอร์ 4 เธรด ให้กลายเปนซีพียูแบบ 4 คอร์ อัปเกรด Core i5 ทีเปนซีพียู
แบบ 4 คอร์ ให้กลายเปน 6 คอร์ และอัปเกรดซีพียู Core i7 จาก 4 คอร์ 8 
เธรด ไปเปนซีพียูแบบ 6 คอร์ 12 เธรด จะเห็นได้กว่าการเปดตัวของซีพียู 
 
 
- 7 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
Ryzen ไม่ได้เปนการอัปเกรดซีพียูเฉพาะฝงเอเอ็มดีเพียงอย่างเดียวเท่านัน 
แต่เปนการกระตุ้นให้เกิดการยกระดับของซีพียูทังอุตสาหกรรมเลยก็ว่าได้  
ซึงก่อนหน้านีเอเอ็มดีเองก็เคยพลิกโฉมอุตสหกรรมของซีพียูจาก
ระบบ 32 บิต มาเปน 64 บิต มาแล้วในยุคของ AMD Athlon64 แม้ 
เอเอ็มดีจะถูกมองว่าเปนเพียงมวยรองในตลาดซีพียู แต่การเปลียนแปลง
ใหญ่ทุกครังของเอเอ็มดีนันมีส่วนร่วมอย่างมากทีผลักดันให้อุตสาหกรรมมี
ความก้าวหน้ามากขึน 
 
อีกหนึงเทคโนโลยีทีสําคัญทีอยู่ในซีพียู Ryzen ก็คือการเชือมต่อ
ภายในของซีพียูมีการปรับเปลียนมาใช้ Infinity Fabric ทีมีความโดด
เด่นในเรองของความยืดหยุ่นในการขยายระบบ คือนอกจากจะง่ายต่อการ
เพิมจํานวนคอร์ซีพียูทีใช้สถาปตยกรรม Zen ด้วยกันเองแล้ว ยังสามารถ
เพิมหน่วยประมวลผลประเภทอืน ๆ ให้เข้ามารวมเปนส่วนหนึงของซีพียูได้
ง่ายขึนโดยผ่าน Infinity Fabric โดยทีไม่ต้องไปยุ่งกับส่วนของคอร์ซีพียู
เลย และหากมีการประมวลผลอยู่ภายในก็จะทําให้ประสิทธิภาพในการ
ทํางานเพิมสูงขึนด้วยเพราะไม่ต้องเสียเวลาในการรับส่งข้อมูลผ่านบัสหรอ
อินเทอร์เฟซอืน ๆ ภายนอกนันเอง 
 
 
- 8 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
 
และถ้าใครมีโอกาสได้ใช้ซีพียู Ryzen 5 2400G หรอ Ryzen 3 
2200G มาแล้วก็คงจะได้สัมผัสกับเทคโนโลยี Infinity Fabric ทีใช้เชือม
ต่อระหว่างซีพียู Ryzen กับกราฟก RX Vega ไว้เปนหนึงเดียวกันได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ (ดูผลการทดสอบได้ทีบทความทดสอบ Ryzen 5 2400G 
และ Ryzen 3 2200G​)  
 
ภาพด้านบนแสดงถึงซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ทีเข้ามาทดแทนซีพียูเจนฯ 1 
 
 
- 9 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ทําความรู้จักเทคโนโลยี 
SenseMI, XFR, Precision Boost 
เพือเข้าใจความแตกต่าง Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2 
 
SenseMI เปนชุดเทคโนโลยีใหม่ทีเอเอ็มดีใส่เข้ามาในซีพียู
สถาปตยกรรม Zen ซึงคุณสมบัติของ SenseMI นีก็จะอยู่ในซีพียู 
Ryzen 1000 Series ทุกรุ่น และก็ยังคงถ่ายทอดมาสู่ Ryzen 2000G 
Series และ Ryzen 2000 Series หรอทีเราเรยกรวม ๆ ว่า Ryzen เจน
เนอร์เรชัน 2 นันเอง เราไปทบทวนกันสักหน่อยว่าคุณสมบัติ SenseMI 
นันช่วยให้ซีพียู Ryzen ทํางานได้ดีขึนได้อย่างไรบ้าง และเราจะไปดูกัน
ด้วยว่า SenseMI ทีอยู่ใน Ryzen เจนฯ 2 นันได้รับการปรับปรุงไป
อย่างไรบ้าง ก่อนไปดู SenseMI แวะดูสเปคของซีพียู Ryzen เจนฯ 1 
และ เจนฯ 2 เพือดูความแตกต่างในแบบภาพรวมกันก่อน 
 
 
 
- 10 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ตารางเปรยบคุณสมบัติของซีพียู Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2 ที
วางจําหน่ายอยู่ในขณะนี ส่วนซีพียู Ryzen เจนฯ 1 ก็คิดว่าคงจะหมดไป
จากตลาดในเร็ว ๆ นี อย่างเช่น Ryzen 3 1200 คงจะไม่มีการผลิตเพิม
เพราะมี Ryzen 3 2200G ทีมาพร้อมกับกราฟกในตัวเข้ามาทดแทนใน
ด้านประสิทธิภาพและราคา ส่วน Ryzen 5 1400 ก็จะถูกทดแทนด้วย 
Ryzen 5 2400G ทีมาพร้อมกับกราฟก Vega ทีให้ความคุ้มค่าทังด้าน
ราคาปละประสิทธิภาพเช่นกัน 
 
เจาะลึกเทคโนโลยี SenseMI 
 
SenseMI จะมีคุณสมบัติการทํางานทีโดดเด่นอยู่ 5 ประการ 
โดยคุณสมบัติทัง 5 ประการนีจะทําการสอดประสานกันเพือให้ซีพียูทํางาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน 
 
1. Pure Power​ เปนคุณสมบัติในเรองการจัดการพลังงาน โดย
ภายในซีพียูได้มีการติดตังเซนเซอร์ตรวจสอบการทํางานของ
ซีพียูในเรองต่าง ไม่ว่าจะเปนอุณหภูมิ การใช้ทรัพยากรของระบบ 
 
 
- 11 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
เพือปรับความเร็วของ CPU Clock ให้เหมาะสมต่อการทํางาน ก็
จะช่วยเรองการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึงมันจะส่งผล
ต่ออุณหภูมิในการทํางานของซีพียูด้วย  
 
2. Precision Boost / Precision Boost 2​ (สําหรับซีพียูเจนฯ 
2) คุณสมบัตินีเปนการทํางานต่อเนืองมาจาก Pure Power ที
เมือตรวจสอบการทํางานของซีพียูแล้วก็จะมาตรวจสอบดูว่ามี
ความต้องการด้านการประมวลผลอย่างไรบ้าง เพือเพิมความเร็ว
ให้กับ CPU Clock ได้อย่างเหมาะสมและไม่ใช้ค่าพลังงานเกินที
กําหนด โดยปกติแล้ว Pricision Boost จะเร่งความเร็วของ
ซีพียูเพิมขึนครังละ 25MHz ส่วนในซีพียู Ryzen เจนฯ 2 จะมี
การเพิมความเร็วของซีพียูได้มากกว่า Ryzen เจนฯ 1 ซึงเราจะ
อธิบายอย่างละเอียดภายหลัง 
 
3. Extended Frequency Range​ เรยกย่อ ๆ ว่า XFR​ หรอ 
XFR 2​ สําหรับ Ryzen เจนฯ 2 คุณสมบัตินีจะเปนการปรับ
ความเร็วของ CPU Clock จากการตรวจสอบการใช้พลังงาน
และการตรวจสอบอุณหภูมิการทํางานของซีพียูเพิมเติมด้วย ถ้าผู้
ใช้มีการติดตังชุดระบายความร้อนคุณภาพสูง ระบายความร้อน
ได้ดีอุณหภูมิของซีพียูอยู่ในช่วงทีกําหนด ก็จะมีการเพิม CPU 
Clock ให้เพิมขึนไปอีกขันเพือช่วยเร่งความเร็วในการทํางาน 
และทุกอย่างนีจะเกิดขึนโดยอัตโนมัติโดยทีผู้ใช้ไม่ต้องปรับแต่งใด 
ๆ ใน Ryzen เจนฯ 2 ถ้าใช้งานร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ชิปเซต 
X470 และ B450 (ทีกําลังจะออก) จะมีคุณสมบัติ XFR2 
Enhance เพิมมาก ซึงก็คือการเพิม CPU Clock ขึนไปอีกนิด 
 
 
- 12 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
แต่ก็ขึนอยู่กับเงือนไขของการใช้พลังงานและอุปกรณ์ระบาย
ความร้อนทีเราใช้ด้วย 
 
4. Neural Net Prediction (NNP)​ คุณสมบัตินีคือระบบการ
เรยนรู้ในเรองของการคาดเดาชุดคําสังล่วงหน้า หรอทีเมือก่อน
เราจะรู้จักกันในชือของ Branch Prediction เมือก่อนการคาด
เดาคําสังของ Branch Prediction จะมีรูปแบบค่อนข้าง
ตายตัว แต่ด้วยเทคโนโลยี NNP ซีพียูสามารถเรยนรูปแบบของ
การคาดเดาคําสังได้ตามลักษณะการทํางานของแอปพลิเคชัน ยิง
คาดเดาคําสังได้แม่นยําการทํางานโดยรวมของระบบก็จะเร็วขึน 
 
5. Smart Prefetch​ คุณสมบัตินีคือการเก็บข้อมูลบางส่วนทีมี
การใช้งานบ่อย ๆ มาเก็บไว้ในแคช อย่างใน Ryzen นีจะหมายถึง
แคช L3 ซึงเปนหน่วยความจําแคชทีต้องใช้แชร์ข้อมูลระหว่าง
คอร์ประมวลผลแต่ละคอร์ของซีพียู ถ้าการจัดการข้อมูลตรงนีมี
ความถูกต้องแม่นยํา ซีพียูก็ไม่ต้องเสียเวลาไปหาข้อมูลจากหน่วย
ความจําหลักหรอ RAM สามารถนําข้อมูลจากหน่วยความจํา
แคช L3 ได้ทันที ซึงมันก็ส่งผลต่อความเร็วในการทํางานโดยตรง 
 
Precision Boost, XFR, Precision Boost Overdrive 
เราจะเห็นได้ว่าใน SenseMI มีอยู่สองคุณสมบัติการทํางานที
มีหน้าทีในการเพิมประสิทธิภาพการทํางานของซีพียูโดยตรงด้วยการเพิม 
Clock Speed ของซีพียูให้เพิมขึนนันก็คือ Precision Boost​ และ XFR 
และเมือมาอยู่ในซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ก็จะมีเลข 2 ทีบ่งบอกถึงการเปน
 
 
- 13 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
เวอร์ชันทีสองหรอรุ่นทีสองของคุณสมบัตินีด้วย ซึงมันมีความแตกต่างดัง
ในภาพต่อไปนี 
 
ภาพด้านบนนีเปนการยกตัวอย่างการทํางานของวธีการเพิม 
Boost Clock ของซีพียู Ryzen แบบ 8 คอร์ กราฟเส้นสีส้มแสดงวธีการ
เพิม Boost Clock ของซีพียู Ryzen เจนฯ 1 ว่า การบูสเพิมสูงสุดจะเกิด
ขึนเมือมีเวร์คโหลดโดยความเร็วทีเพิมสูงนันจะไม่เกิน 2 คอร์ แต่ถ้ามีเวร์ค
โหลดมากกว่านันการเพิมความเร็วของทุกคอร์จะลดลงมาอยู่ในระดับ
เดียวกันโดยจะสูงกว่า Base Blcok อยู่เพียงเล็กน้อย ยกตัวอย่างเช่น 
Base Clock อยู่ที 3.2GHz เมือมีการบูสจะมีเพียง 2 คอร์จะถูกบูสไปใน
ระดับ 3.7GHz คอร์ทีเหลือจะถูกบูสมาแค่ 3.4GHz และต่อให้มี XFR 
ลักษณะการเพิมก็จะเปนในรูปแบบเส้นกราฟสีส้มอยู่ดี เพียงแค่ยกระดับ
ความเร็วขึนมีอีกเล็กน้อย 
 
 
- 14 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
 
แต่สําหรับซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ค่า Base Clock โดยพืนฐานก็
จะสูงกว่าซีพียูในเจนฯ แรกอยู่แล้ว และการเพิมของ Boost Clock นันก็
จะมีลักษณะทีลดหลันลงไปตามจํานวนเวร์คโหลดทีคอร์ทํางาน ลองดู
ลักษณะเส้นกราฟ Precision Boost 2 จะเห็นได้ว่าค่อย ๆ ปรับลดลง ไม่
ได้ตัดตอนเหมือนกับซีพียูรุ่นแรก ขอยกตัวอย่างเปนเลขกลม ๆ เพือความ
เข้าใจ เช่นคอร์ที 1 ถูกบูสไปที 4.0GHz คอร์ทีสองก็จะลดลงมาเปน 
3.9GHz, 3.8GHz, 3.7GHz, 3.6GHz, 3.5GHz, 3.4GHz และคอร์ที
แปดก็อยู่ที 3.3GHz แบบนีครับ ซึงทําให้การประมวลผลโดยรวมเร็วกว่า
วธีเดิมมาก ลองดูภาพด้านล่างบรเวณทีเราเติมรูปสามเหลียมทับลงไปนัน
คือพืนทีของประสิทธิภาพทีเราจะได้เพิมขึนมา 
 
 
 
- 15 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ย้อนกลับไปดูในกราฟเราจะเห็นว่ามีกราฟเส้นสีแดงทีเขียนว่า 
XFR 2 ตรงนีก็เปนการเพิมความเร็วให้มากขึนไปอีกระดับหากเรามีการใช้
ชุดระบายความร้อนทีมีประสิทธิภาพสูงทีสามารถลดความร้อนในระหว่าง
การทํางานของซีพียูได้ดี ตัว XFR 2 ก็จะขยับความเร็วของ Boost Clock 
เพิมให้เราเองโดยอัตโนมัติโดยทีเราไม่ต้องไปตังค่าใด ๆ และในกราฟเส้นสี
ขาวทีอยู่เหนือ XFR 2 ขึนไปทีเขียนว่า Precision Boost Overdrive 
ตรงนีเปนคุณสมบัติใหม่ทีอยู่ใน Ryzen เจนฯ 2 ทีทํางานร่วมกับเมนบอร์ด
ชิปเซต X470 โดยเฉพาะครับ (รวมถึงชิปเซต B450 ทีกําลังจะออก) 
เหตุผลที Precision Boost Overdrive (รวมถึง XFR2 
Enhance) ทําได้เฉพาะกับเมนบอร์ด X470 ก็เพราะว่าจําเปนต้องได้รับ
การจ่ายพลังงานทีเพียงพอจากภาคจ่ายไฟของซีพียูบนเมนบอร์ดครับ 
เนืองจากเมนบอร์ดรุ่นอืนทีออกมาก่อนหน้านีภาคจ่ายไฟได้ถูกออกแบบมา
ให้ใช้งานโดยการออกแบบพืนฐานอยู่บนค่า TDP ของซีพียูระดับ 95 วัตต์ 
ในขณะทีซีพียู Ryzen 7 2700X มีค่า TDP 105 วัตต์ แม้ว่าจะใช้งานบน
เมนบอร์ดรุ่นก่อนหน้าได้ทังหมด แต่ถ้าต้องการเพิมความเร็วให้สูงก็จําเปน
ต้องการการจ่ายไฟทีเพียงพออย่างต่อเนืองเพือเพิมเสถียรภาพในการ
ทํางาน ซึงเมนบอร์ด X470 จะตอบโจทย์นีได้ดีกว่าทําให้คุณสมบัติ 
Precision Boost Overdrive จะถูกเปดใช้งานเมือ Ryzen เจนฯ 2 
ทํางานบนเมนบอร์ด X470 เท่านัน แต่คุณสมบัติอืน ๆ ทีกล่าวมาก็ยังคงใช้
งานได้ปกติหากทํางานบนชิปเซตรุ่นก่อนหน้าไม่ว่าจะเปน X370, B350 
และ A320 
ในภาพรวมแล้วเราจะเห็นได้ว่าซีพียู Ryzen เจนฯ 2 นันมี Base 
Clock และ Boost Clock ทีสูงกว่าเจนฯ แรกอยู่พอสมควรเลยทีเดียว 
ทังนีก็เพราะการปรับกระบวนการผลิตซีพียูจาก 14 นาโนเมตร มาเปน 12 
นาโนเมตร นันเองครับ ลองกลับไปดูในตารางสเปคซีพียูอีกครังจะเห็นได้
 
 
- 16 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ว่าความเร็ว Base Clock และ Boost Clock ของซีพียู Ryzen เจนฯ 2 
นันสูงกว่า เจนฯ 1 อยู่พอสมควรแต่ยังคงมีค่า TDP หรอค่าความร้อนของ
ซีพียูทีเกิดขึนเท่ากัน มีเพียง Ryzen 7 2700X เท่านันทีเอเอ็มดีมีการปรับ
ค่า TDP เพิมขึนเปน 105W เพือให้ผู้ใช้ทีชืนชอบการโอเวอร์คล็อก
สามารถโอเวอร์คล็อกความเร็วให้กับซีพียูเพิมขีนได้โดยใช้ชุดระบายความ
ร้อนประสิทธิภาพสูงทัวไป 
ถ้าหากมีคนถามว่าซีพียู Ryzen เจนฯ 1 กับ เจนฯ 2 มีความแตก
ต่างกันอย่างไร คําอธิบายทีอยู่ภายใต้หัวข้อนีก็อธิบายถึงความแตกต่างได้
ทังหมดครับ ไม่ว่าจะเปนการปรับลดขนาดการผลิตจาก 14 นาโนเมตร มา
เปน 12 นาโนเมตร ให้ประสิทธิภาพในการทํางานเพิมขึนด้วยคุณสมบัติ 
SenseMI ชุดใหม่ โดยการใช้พลังงานในระดับเดิม การรองรับแรมทีเร็ว
ขึน 
 
 
 
   
 
 
- 17 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Platform 
หลังจากทีเราได้ทําความรู้จักกับซีพียู Ryzen และสถาปตยกรรม 
Zen ไปเปนทีเรยบร้อยแล้ว คราวนีเรามาทําความรู้จักกับแพลตฟอร์มของ 
AMD Ryzen กันบ้างครับ คําว่าแพลตฟอร์มในทีนีเราก็จะหมายถึงส่วน
อืน ๆ ทีจะนํามาทํางานร่วมกับซีพียู Ryzen นันเอง 
โดยพืนฐานแล้วสิงทีจะต้องทํางานร่วมกับซีพียู อย่างแรกเลยก็
คือชิปเซต ซึงในแพลตฟอร์มของ Ryzen นีเราจะมีชิปเซตให้เลือกใช้ใน
ตลาดอยู่ 4 รุ่นด้วยกัน ได้แก่ชิปเซต X470 (ทีเพิงเปดตัวมาพร้อมกับ 
Ryzen เจนฯ 2), X370, B350 และ A320 โดยชิปเซตสามรุ่นหลังนีเปด
ตัวมาพร้อมกับ Ryzen เจนฯ 1 (อันทีจรงเอเอ็มดียังมีชิป X300 กับ 
A300 แต่ว่าเปนตลาดเฉพาะทางไม่ได้ใช้กับเมนบอร์ดทัวไป) 
 
 
 
 
- 18 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
 
ภาพด้านบนนีสามารถใช้บ่งบอกถึงรูปแบบแพลตฟอร์มของ 
AMD Ryzen ได้อย่างลงตัว ไม่ว่าจะเปน Ryzen เจนฯ 1 หรอว่า เจนฯ 2 
ก็จะมีการจัดโครงสร้างการเชือมต่อระบบทีเหมือน ๆ กันจะแตกต่างกันไป
บ้างก็คือบรรดาชิปเซตทีอยู่บนเมนบอร์ดทีมีคุณสมบัติในการทํางานทีแตก
ต่างกันไปตามสเปคทีระบุมา 
นอกจากชิปเซต X470 ทีเปดตัวมาพร้อมกับ Ryzen เจนฯ 2 
แล้ว ทางเอเอ็มดีก็เตรยมทีจะเปดตัวชิปเซตใหม่อีกหนึงรุ่นในช่วงครงหลัง
ของป 2018 นันก็คือ B450 ซึงจะมีคุณสมบัติหลัก ๆ ในการทํางาน
เหมือนกับ X470 และเมนบอร์ด B460 ก็จะรองรับ XFR2 และ 
Precision Boost Overdrive ด้วยเช่นกัน 
 
 
 
- 19 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
 
สําหรับความพิเศษจรง ๆ ของชิปเซต X470 ทีเพิงเปดตัวพร้อม
กับซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ก็คือมาพร้อมกับซอฟต์แวร์ StoreMI ในขณะที
ชิปเซตอืน ๆ ถ้าต้องการใช้คุณสมบัตินีต้องเสียเงินเพิมราว ๆ 600-700 
บาท  
 
StoreMI คือซอฟต์แวร์ทีช่วยรวมการทํางานของไดร์ฟทีมี
ความเร็วกับไดร์ฟทีทํางานได้ช้าให้เปนหนึงเดียวกัน เช่นถ้าคุณมี SSD กับ 
HDD เมือติดตัง StoreMI ลงไปวนโดวส์ก็จะมองไดร์ฟทังหมดเปนเพียง
ไดร์ฟเดียว และโปรแกรมจะทําการวเคราะห์ว่ามีโปรแกรมใด(ไฟล์ใด)ทีใช้
งานบ่อย ๆ โปรแกรมก็จะทําการย้ายไฟล์เหล่านันมาไว้บนพืนทีไดร์ฟเร็วซึง
 
 
- 20 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ในทีนีคือส่วนของ SSD และต้องยําอีกครังว่าการทํางานส่วนนีจะเปนไปโดย
อัตโนมัติ ผู้ใช้จะมองไม่เห็นไดร์ฟเลยว่าเปน SSD หรอ HDD ผู้ใช้จะมอง
เห็นเพียงว่านีคือไดร์ฟเพียงหนึงไดร์ฟเท่านัน นอกจากนีแล้วเพือเปนการ
เสรมประสิทธิภาพในการทํางาน StoreMI จะนําพืนทีบางส่วนของหน่วย
ความจํามาทํางานร่วมกันอีกด้วย แต่ว่าส่วนของหน่วยความจํานีจะถูกนํา
มาใช้ในลักษณะของแคชเพือเพิมความความเร็วในระหว่างการทํางาน
เท่านันไม่ได้เปนการจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรเหมือนไดร์ฟ SSD และ HDD 
สําหรับผู้ทีใช้เมนบอร์ดชิปเซตอืน ๆ เช่น X370, B350 และ 
B450 ทีกําลังจะออกมาก็สามารถใช้ StoreMI ได้แต่ว่าต้องไปซือเพิม 
ส่วนชิปเซต A320 ใช้ StoreMI ไม่ได้ครับ 
 
   
 
 
- 21 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
จะโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen ใช้เมนบอร์ดแบบไหนดี 
ถ้าจะพูดให้ระเอียดก็เขียนเปนคู่มือได้อีกหนึงเล่มครับ แต่ถ้าจะ
เอาแบบรวบรัดตัดตอน ก็ให้นึกถึงงบประมาณกับความต้องการของตัวเอง
เปนหลักครับ ถ้าต้องการโอเวอร์คล็อกแบบสุดท้างต้องการรดพลังให้ได้
มากทีสุดหรอจะใช้สําหรับการแข่งขันแนะนําว่าให้เลือกเมนบอร์ดชิปเซต 
X470 และ X370 ครับ เพราะเมนบอร์ดทังสองชิปเซตนีจะเปนเมนบอร์ด
รุ่นท็อปทีเน้นเรองภาคจ่ายไฟบนเมนบอร์ดโดยเฉพาะ โดยเฉพาะคนที
ต้องการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen 7 ทีเปนซีพียูแบบ 8 คอร์ 16 เธรด  
 
แต่ถ้าใช้ซีพียูในระดับ Ryzen 5 ถ้าไม่จํากัดเรองงบประมาณก็
แนะนําว่าให้ไปเล่น X470 กับ X370 ด้วยเช่นกัน และพร้อมทีจะอัปเกรด
ไปเปน Ryzen 7 ได้อย่างสบาย ๆ ส่วนคนทีต้องการโอเวอร์คล็อกแบบเบา 
ๆ เน้นการทํางานอย่างมีเสถียรภาพ เมนบอร์ดชิปเซต B350 รวมถึง 
B450 ทีกําลังจะออกมาในอนาคตก็เปนตัวเลือกทีน่าสนใจครับ แต่ก็ขอให้
เลือกเมนบอร์ดทีมีการติดตังชุดระบายความร้อนมาตรงบรเวณภาคจ่ายไฟ
ด้วยนะครับจะช่วยเพิมเสถียรภาพในการโอเวอร์คล็อกได้ดีขึน 
 
ส่วนเมนบอร์ดชิปเซต A320 นันโอเวอร์คล็อกไม่ได้นะครับ
เหมาะสําหรับคนทีต้องการใช้งานแบบเดิม ๆ ครับ 
 
 
 
   
 
 
- 22 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ไบออสคืออะไร!!! 
ใช้ซีพียูใหม่ทําไมต้องอัปเกรดไบออส 
 
เอเอ็มดีได้ประกาศอย่างชัดเจนตังแต่ตอนเปดตัวซีพียู Ryzen 
เจนฯ 1 แล้วว่าแพลตฟอร์มของซีพียู Ryzen ทีใช้ซ็อกเก็ต AM4 นีจะอยู่
ในตลาดไปอย่างน้อยเปนเวลาประมาณ 4 ป นันหมายความว่าในช่วง 4 ปนี 
ถ้ามีซีพียูรุ่นใหม่ออกมาถ้าต้องการอัปเกรด ก็เปลียนเฉพาะตัวซีพียูอย่าง
เดียว เมนบอร์ด แรม และอุปกรณ์อืน ๆ ไม่ต้องเปลียน 
 
อย่างไรก็ตามเมือมีการเปดตัวซีพียูรุ่นใหม่ลงสู่ตลาด เมนบอร์ด
รุ่นเดิมทีเราใช้งานอยู่ รวมไปถึงเมนบอร์ดทีออกมาก่อนหน้าซีพียูรุ่นนัน
จําเปนต้องอัปเกรดไบออสก่อนถ้าต้องการใช้งานร่วมกับซีพียูรุ่นใหม่ เพือ
ให้เมนบอร์ดของเรารู้จักกับคุณสมบัติในการทํางานของซีพียูรุ่นใหม่ เช่นใน
 
 
- 23 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
กรณีทีเอเอ็มดีเปดตัว Ryzen 5 2400G และ Ryzen 3 2200G 
เมนบอร์ดทีออกมาก่อนหน้านันทังหมดจําเปนต้องได้รับการอัปเกรด
ไบออส (BIOS) เพือให้เมนบอร์ดรู้จักกับซีพียูทังสองรุ่นนี เพือให้รู้ว่าซีพียูนี
มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง เช่นเปนซีพียูทีมาพร้อมกับกราฟก ต้องมีตัวเลือก
สําหรับการแบ่งแรมจากระบบมาใช้สําหรับการแสดงผลด้วย อะไรทํานองนี 
หรอในกรณีอืน ๆ อย่างเช่นเมนบอร์ดบางรุ่นอาจจะไม่รองรับกับกับทํางาน
ของหน่วยความจําหรอกราฟกการ์ดบางรุ่น ก็จําเปนต้องออกไบออสมา
แก้ไขเพือให้ทํางานร่วมกันได้ อย่างนีเปนต้น ทีนีมาทําความรู้จักกับไบออส
กันบ้างครับ 
 
ภาพบนคือหน้าตาของไบออสแบบดังเดิมทีใช้กันมาตังแต่ยุคแรกเรมของพีซี 
 
ไบออสเปนชือทีเรยกตัวย่อภาษาอังกฤษ “BIOS” ทีมาจากคําเต็ม
ว่า Basic Input/Output System เปนซอฟต์แวร์ทีทํางานโดยตรงใน
ระดับฮาร์ดแวร์ และทํางานร่วมกับระบบปฏิบัติการไม่ว่าจะเปนวนโดวส์ 
หรอลินุกซ์ หรอระบบปฏิบัติการอืน ๆ ก็จําเปนทีจะต้องเรยกใช้บรการของ
ไบออสอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน นันทําให้เวลาเรากําหนดค่าการทํางานของ
 
 
- 24 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ฮาร์ดแวร์ในไบออสแล้วทําให้มีผลเปลียนแปลงไปถึงการทํางานของ
วนโดวส์และซอฟต์แวร์อืน ๆ ทีทํางานภายใต้วนโดวส์อีกด้วย 
และไบออสคือสิงทีจะทํางานเปนอย่างแรกเมือเราเปดเครองให้
ทํางาน ไบออสจะทําการตรวจสอบฮาร์ดแวร์ทังหมดของระบบว่าปญหา
หรอข้อขัดข้องอะไรหรอไม่ถ้าไม่มีก็จะทําการบูตเข้าสู่วนโดวส์หรอระบบ
ปฏิบัติการอืน ๆ ทีเราติดตัง แต่ถ้ามีปญหาก็จะมีการรายงานออกมาในรูป
แบบของเสียงทีเราเรยกกันว่า Beep Code, หรอเมนบอร์ดบางรุ่นก็จะมีไฟ 
LED แจ้งว่าเกิดขัดข้องทีอุปกรณ์ใด เช่นแรม ซีพียู หรอกราฟกการ์ด หรอ
เมนบอร์ดบางรุ่นก็จะแสดงเปนโค้ดตัวเลขฐาน 16 เพือแจ้งขันตอนการ
ทํางานต่าง ๆ และถ้าแสดงค้างทีรหัสใดก็ต้องไปตรวจสอบดูว่ามีปญหามา
จากทีใดบ้าง นีคือหน้าทีทัวไปของไบออสครับ  
 
อินเทอร์เฟซของไบออสแบบใหม่ทีเรยกว่า UEFI 
 
 
 
- 25 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
UEFI ของใหม่ทีมาแทน BIOS 
อันทีจรงเมนบอร์ดรุ่นใหม่ในช่วงสามปทีผ่านมานีไม่ได้ใช้สิงที
เรยกว่า BIOS แต่ใช้สิงทีเรยกว่า UEFI แต่เนืองจากความคุ้นชินเรายังคง
เรยก UEFI ว่าเปนไบออสเหมือนเดิม หรอบางทีก็เรยกซ้อนกันไปเลยว่า
เปน BIOS แบบ UEFI หรอ UEFI BIOS ก็มี  
UEFI ย่อมาจากคําว่า Unified Extensible Firmware 
Interface ดังนันถ้าจะให้เรยกแบบง่าย ๆ แต่ถูกต้องเราก็ควรเรยก UEFI 
ว่า “เฟร์มแวร์ของเมนบอร์ด” แต่ก็ไม่ต้องไปซีเรยสอะไรมากครับ เรยก
ไบออสเหมือนเดิมก็สะดวกดีเพราะหน้าทีหลัก ๆ ของ UEFI ก็ยังคงทํา
หน้าทีเหมือนกับ BIOS ทุกประการ แต่จะมีคุณสมบัติการทํางานอืน ๆ ที
เพิมเติมมากขึน รองรับฮาร์ดแวร์รุ่นใหม่ทีมีการทํางานซับซ้อนมากยิงขึน
รวมทังมีอินเทอร์เฟซทีดูสวยงามมากกว่า ซึงในส่วนของอินเทอร์เฟซนี
แหละทีทําให้การปรับแต่งการทํางานของ UEFI ง่ายกว่า BIOS มาก และ
ยังสามารถแสดงข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบของกราฟกที
เข้าใจได้ง่ายพร้อมด้วยคําอธิบายทีชัดเจนกว่าเดิม 
 
   
 
 
- 26 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
มาตรฐานของแรม และความเข้าใจเรอง XMP 
ตอนทีเอเอ็มดีเปดตัวซีพียู Ryzen เจนฯ 1 มีผู้ใช้จํานวนมากทีมี
ปญหาในการตังค่าหน่วยความจําหรอแรมให้ได้ความเร็วตามสเปคของ
แรม โดยเฉพาะแรมทีมีค่าโปรไฟล์พิเศษทีชือว่า XMP หลายคนยังคงจํา
ภาพความวุ่นวายในช่วงแรกของซีพียู Ryzen 7 และ Ryzen 5 เจนฯ 1 
ได้เปนอย่างดีในประเด็นของหน่วยความจําทีไม่สามารถเปดใช้ค่า XMP ได้ 
แต่ว่าตอนนีปญหาเหล่านันก็แทบจะหมดไปแล้ว และพอมี Ryzen เจนฯ 2 
เปดตัวมาความวุ่นวายเรองแรมก็ไม่มีมาให้เห็นอีกเลย เพราะหลังจาก
ปญหาในช่วง Ryzen เจนฯ 1 ทางเอเอ็มดีและผู้ผลิตเมนบอร์ดต่างก็ร่วม
มือเพือปรับปรุงและทําไบออสรุ่นใหม่ ๆ ออกมาให้รองรับการทํางานของ
หน่วยความจําทีมีค่า XMP ได้ง่ายขึน ส่วนทางผู้ผลิตหน่วยความจําเองก็
หลายยีห้อก็ได้ทําหน่วยความจําสําหรับแพลตฟอร์ม Ryzen ออกมาโดย
เฉพาะก็มี 
 
 
 
- 27 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ว่ากันตรง ๆ การที Ryzen จะมีปญหากับแรมในการใช้ค่า XMP 
ก็ไม่ใช่ปญหาอะไรนะครับ เพราะค่า XMP ทีอยู่ในหน่วยความจํานันไม่ได้
เปนค่ามาตรฐานอุตสาหกรรม แต่เปนมาตรฐานทีกําหนดโดย Intel และ
เวลาจะเรยกชือให้ถูกต้องกันจรง ๆ ก็ต้องเรยกว่า Intel XMP ซึงย่อมา
จาก Intel eXtreme Memory Profile ซึงค่า XMP นีเทียบง่าย ๆ ก็
คือการโอเวอร์คล็อกแรมมาจากโรงงานนันเอง โดยค่าเหล่านีถูกออกแบบ
และปรับแต่งมาเพือใช้งานร่วมกับซีพียูและเมนบอร์ดของทางฝงอินเทล ดัง
นันพอนํามาใช้กับซีพียูและเมนบอร์ดทางฝงเอเอ็มดีก็เลยเข้ากันไม่ได้ก็
เท่านันเอง 
แต่ทีต้องมาโวยวายกันก็เพราะว่าก่อนหน้านีในสมัยทีเอเอ็มดียัง
ใช้ซ็อกเก็ต AM3/AM3+ ก็สามารถนําแรมทีมีค่า XMP มาใช้งานได้โดย
ไม่มีปญหาก็เลยทําให้ทุกคนเข้าใจว่าค่า XMP นีเปนมาตรฐานทัวไปของ
แรม แต่ถ้าลองย้อนเวลากลับไปในช่วงที Intel เปดตัวมาตรฐาน XMP 
ของตนในครังแรก ช่วงเวลานันซีพียูและเมนบอร์ดทางฝงเอเอ็มดีก็ไม่
สามารถเปดใช้ค่า XMP ได้เหมือนกัน แต่ก็ไม่ได้มีการโวยวายกันในระดับ
โลกจนถึงขันตืนตระหนก (อาจจะเปนเพราะโซเชียลมีเดีย) และเปนทางฝงผู้
ผลิตเมนบอร์ดเองด้วยซําทีแข่งกันพัฒนา BIOS ของเมนบอร์ดฝงเอเอ็มดี
ให้รองรับค่า XMP ทีอยู่ในแรมได้ 
ดังนันในกรณีทีแพลตฟอร์ม Ryzen ไม่สามารถทํางานร่วมกับ
ค่า XMP ของแรมจึงไม่ใช่เรองใหญ่โตอะไรสําหรับเรา และค่าความเร็ว
ของแรมทีเปนมาตรฐานอุตสาหกรรมจรง ๆ นันมีชือว่า JEDEC ซึงค่านีจะ
มีระบุอยู่ในโมดูลหน่วยความจํา DDR ทุกรุ่น ซึงเราสามารถตรวจสอบค่า
เหล่านีได้โดยการดูจากไบออสของเมนบอร์ด หรอถ้าจะให้สะดวกหน่อยก็
ใช้โปรแกรม CPU-Z ตรวจสอบ หรอโปรแกรมอืน ๆ เช่น HWiNFO หรอ 
AIDA64 ก็ได้ อย่างไรก็ตามจนถึงตอนนีเมนบอร์ดหลายรุ่นหลายยีห้อที
 
 
- 28 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
รองรับซีพียู Ryzen ก็สามารถปรับแต่งไบออสเพือให้รองรับการทํางาน
ร่วมกับค่า XMP ของแรมได้โดยอัตโนมัติ หรอถ้าไม่สามารถตังค่าได้โดย
อัตโนมัติเมนบอร์ดก็จะไปอ่านค่า JEDEC ทีเปนมาตรฐานของหน่วยความ
จํามาใช้ แต่ถ้าเราต้องการให้แรมทํางานตามค่า XMP เราก็สามารถตรวจดู
ค่าต่าง ๆ โดยใช้ CPU-Z แล้วจดค่านันมาเซ็ตลงในไบออสด้วยตนเองได้
เช่นกัน 
 
 
   
 
 
- 29 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
พืนฐานการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen 
ข้อดีประการหนึงของซีพียู Ryzen ไม่ว่าจะเปนเจนฯ 1 หรอเจนฯ 
2 ก็คือทุกรุ่นสามารถนํามาโอเวอร์คล็อกเพิมประสิทธิภาพการทํางานได้ ไม่
ว่าจะเปนซีพียูรุ่นใหญ่อย่าง Ryzen 7 หรอรุ่นเล็กสุดอย่าง Ryzen 3 แม้
กระทัง Ryzen 5 2400G และ Ryzen 3 2200G ซึงเปนซีพียูทีมีกราฟก 
Vega อยู่ในตัวก็สามารถนํามาโอเวอร์คล็อกได้เช่นกัน แต่ว่าเมนบอร์ดจะ
ใช้ในการโอเวอร์คล็อกได้นันต้องเปนเมนบอร์ดซ็อกเก็ต AM4 ทีใช้ชิปเซต 
X470, X370 และ B350 เท่านัน ส่วนชิปเซต A320 นันไม่สามารถโอ
เวอร์คล็อกซีพียูได้ แต่ก็สามารถโอเวอร์คล็อกหน่วยความจําได้ ซึงเราจะ
พูดถึงเรองนีกันทีหลัง ตอนนีไปดูสิงทีเราควรรู้ก่อนจะทําการโอเวอร์คล็อก
ซีพียู Ryzen กันครับ 
 
การโอเวอร์คล็อกซีพียูคืออะไร 
การโอเวอร์คล็อกซีพียู (Overclock) คืออะไร ง่าย ๆ และสัน ๆ 
ก็คือการทําให้ความเร็วของซีพียูเพิมสูงกว่าความเร็วมาตรฐานทีมาจากผู้
ผลิต เช่นซีพียูจากโรงงานมีความเร็ว 3.0GHz เราก็ทําการเร่งความเร็ว
ด้วยการปรับแต่งค่าต่าง ๆ เพือให้มีความเร็วเพิมขึนเปน 3.5GHz อย่างนี 
เปนตัน ค่าความเร็วที 3.0GHz หรอที 3.5GHz นีเราจะเรยกว่าเปน CPU 
Clock Speed หรอ CPU Frequency  
 
ความเร็วของซีพียูมาจากไหน 
ความเร็วของซีพียูในทีนีเราจะหมายถึง CPU 
Frequceny/CPU Clock Speed ความเร็วของซีพียูนีจะถูกสร้างมาจาก
สองส่วนด้วยกันคือ Base Clock (BCLK) ทีถูกสร้างโดย Clock 
 
 
- 30 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
Generator หรอวงจรกําเนิดสัญญาณนา ิกา กับ Clock Multiple ซึง
เปนวงจรเพิมสัญญาณนา ิกาทีอยู่ในตัวซีพียู (เปนการเพิมสัญญาณ
นา ิกาด้วยเทคนิคการคูณ, ใช้วงจรทวความถี) 
 
 
Base Clock (BCLK) คืออะไร: ในซีพียูทุกระบบไม่ว่าจะเปนรุ่น
เล็กหรอรุ่นใหญ่แค่ไหนหนึงในองค์ประกอบทีสําคัญทีทําให้ซีพียูสามารถ
ทํางานได้ก็คือสัญญาณนา ิกา หน้าทีหลักของสัญญาณนา ิกาก็คือเปน
ส่วนทีจะนําไปใช้อ้างอิงเพือกําหนดจังหวะการทํางานของระบบในวงจร
ดิจิทัลให้ทําได้ประสานกัน หรอทํางานร่วมกันได้ (ซีพียู เมนบอร์ด แรม 
กราฟกการ์ด ไดร์ฟต่าง ๆ อุปกรณ์เหล่านีพืนฐานถือว่าเปนวงจรดิจิทัล
ทังหมด) สําหรับพีซีโดยทัวไปตัวกําเนิดสัญญาณนา ิกาจะมีอยู่บน
เมนบอร์ดและจะมีตัวกําเนิดสัญญาณเพียงทีเดียวเราเรยกว่า Base Clock 
(BCLK) ในปจจุบัน BCLK นีจะมีความเร็วที 100MHz (Base Clock 
ตรงนีกับ Base Clock ของซีพียูคนละส่วนกันนะครับอย่าเพิงสับสน) ตาม
ปกติแล้วเมนบอร์ดทัวไปจะไม่สามารถปรับค่า BCLK ได้ หรอถ้าปรับได้ก็
 
 
- 31 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
อาจจะปรับได้เพียงเล็กน้อย แต่ถ้าเปนเมนบอร์ดทีออกแบบมาเพือการโอ
เวอร์คล็อกโดยเฉพาะบางรุ่นก็สามารถปรับค่า BCLK ได้มากกว่า ทีเปน
เช่นนีก็เพราะว่าการปรับ BCLK นันจะส่งผลกระทบต่อฮาร์ดแวร์ส่วนอืน ๆ 
ด้วย เนืองจาก BCLK นันถูกใช้เปนสัญญาณนา ิกาอ้างอิงสําหรับส่วนอืน 
ๆ บนเมนบอร์ด้วยครับ แต่ก็มีเมนบอร์ดบางรุ่นเหมือนกันทีมีสัญญาณ 
BLCK ออกมาสองชุด ชุดแรกใช้สําหรับฮาร์ดแวร์ส่วนอืนทีอยู่บน
เมนบอร์ดไม่สามารถปรับแต่งได้ และมีอีกหนึงชุดสําหรับใช้กับซีพียู
โดยตรงสามารถปรับเปลียนได้จากหน้าจอใน BIOS 
 
Clock Multipile คืออะไร: บางครังเราอาจจะเจอคําเรยกอืน 
ๆ ว่าเปน CPU Multipile, CPU Ratio ก็ให้เข้าใจว่ามันคือ Clock 
Multipile (ตัวคูณ) ทีทําหน้าทีเพิมความเร็ว BLCK จาก 100MHz ให้
เพิมขึนด้วยการคูณ เพือส่งต่อให้กับส่วนการทํางานต่าง ๆ ภายในซีพียู เช่น
ซีพียูความเร็ว 3.0GHz ก็ได้จาก BLCK 100MHz คูณด้วย 30 
(100x30) ก็จะเท่ากับ 3000MHz หรอ 3.0GHz นันเอง และเวลาเราจะ
โอเวอร์คล็อกให้ความเร็วเพิมขึน เราก็จะมาปรับค่าของตัวคูณให้เพิมขึน
เพือทําให้ CPU Clock ทีได้ออกมามีความเร็วเพิมขึนนันเอง 
 
   
 
 
- 32 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ความเร็วของซีพียู Ryzen (Base Clock/Boost Clock) 
 
ตอนนีเราได้ทราบกันแล้วว่าความเร็วของซีพียูนันมีทีมาทีไปเปน
อย่างไร คราวนีเรามาลองดูค่าความเร็วของซีพียู Ryzen กันสักหน่อยครับ 
ในตัวอย่างนีเรานําสเปคแบบคร่าว ๆ ของซีพียู Ryzen 7 2700X มาให้ดู 
ตัวเลขทีบ่งบอกความเร็วของซีพียูรุ่นนีจะมีอยู่สองจํานวนด้วยกันคือ Max 
Boost Clock 4.3GHz และ Base Clock 3.7GHz แล้วแบบนีความเร็ว
จรง ๆ ของซีพียูรุ่นนีอยู่ทีเท่าไรกันแน่ 
ความเร็วของซีพียู Ryzen และซีพียูในยุคปจจุบัน มักจะถูกแจ้ง
มาเปนสองค่าแบบนีตลอดครับโดย Base Clock (คนละส่วนกับ Base 
Clock, BLCK) ในทีนีหมายถึงความเร็วมาตรฐานทัวไปของซีพียูในขณะ
ทํางาน อยู่ที 3.7GHz และ Max Boost Clock 4.3GHz หมายถึง
ความเร็วสูงสุดทีสามารถถูกปรับขึนเองได้โดยอัตโนมัติโดยอยู่ภายใต้
เงือนไขของค่าความร้อนและค่าการใช้พลังงานของตัวซีพียู 
 
   
 
 
- 33 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ตารางเปรยบเทียบคุณสมบัติซีพียู Ryzen  
ข้อมูลเปรยบเทียบสเปคซีพียู Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2 
ทังหมดทีวางตลาดแล้ว Ryzen 1000 Series หมายถึงเจนฯ 1, Ryzen 
2000 Series หมายถึงเจนฯ 2, Ryzen 2000G หมายถึงซีพียูทีมาพร้อม
กับกราฟก Vega ในตัว 
 
 
 
   
 
 
- 34 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
โอเวอร์คล็อกซีพียูทําไมต้องเพิมไฟ 
 
ถ้าใครเคยอ่านบทความเกียวกับการโอเวอร์คล็อกซีพียูมาบ้าง ก็
จะพบกับคําแนะนําทีว่าถ้าต้องการเพิมความเร็วของซีพียูให้มากขึนก็ต้อง
เพิมไฟ แล้วเพิมไฟทีว่าคือไฟอะไร แล้วเพิมไฟทําไม บทความนีเราจะพา
คุณผู้อ่านไปรู้จักกับเหตุผลทีแท้จรงของการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียู
เมือต้องการโอเวอร์คล็อก 
การโอเวอร์คล็อกซีพียูคือการเร่งความเร็วของสัญญาณนา ิกา
ของซีพียูให้มีจํานวนรอบการทํางานต่อวนาทีให้เพิมขึน เช่นจากความเร็ว 
3.5GHz ไปเปน 4.0GHz และเมือมีการโอเวอร์คล็อกซีพียูให้มีความเร็ว
เพิมเติมสิงทีตามมาก็คือการใช้พลังงานมากขึน ซึงหนึงในการชดเชยการ
ใช้พลังงานเหล่านันก็คือการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียู (และจะมีการเพิม
กระแสไฟฟาให้กับซีพียูด้วยโดยอัตโนมัติ) และนันคือสิงทีพวกเราทุกคนรู้
มาเหมือน ๆ กัน แต่ภายใต้การเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียูนียังมีเรองราว
อืน ๆ ทีซ่อนอยู่ เราจะไปดูกันว่าทีมาของเรองนีเปนอย่างไร 
   
 
 
- 35 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ทําความรู้จัก CPU Core Voltage และค่า Transient response 
คําว่าเพิมไฟให้ซีพียูในทีนีหมายถึงการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับ
ซีพียู ถ้าดูจากโปรแกรม CPU-Z ตรงนีจะเรยกว่า Core Voltage หรอถ้า
ไปดูในหน้าจอไบออสของเมนบอร์ดอาจจะพบเห็นคําอืน ๆ เช่น CPU 
Core Voltage หรอ CPU VCore 
 
 
ส่วนเหตุผลทีทําให้เราต้องเพิมแรงดันไฟฟาของ Core Voltage 
ก็มีอยู่หลายเหตุผลด้วยกัน ไม่ว่าจะเปนการเพิมเพือช่วยให้รักษาระดับแรง
ดันไฟฟาทีซีพียูต้องการมีเพียงพออยู่ตลอดเวลา และอีกส่วนหนึงก็คือเพือ
ชดเชยค่า Transient response ซึงเปนระยะเวลาในการเปลียนแปลง
ของแรงดันไฟฟาจากจุดหนึงไปจุดหนึง ในทางอุดมคติเวลาทีใช้ตรงนีคือ
ศูนย์หรอไม่เสียเวลาเลย แต่ความจรงไม่ได้เปนเช่นนัน แม้ไฟฟาจะเดินทาง
 
 
- 36 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ได้เร็วเทียบเท่าแสงเมือต้องเดินทางจากจุดหนึงไปจุดหนึงยังไงก็ต้องใช้
เวลาจะมากหรอน้อยก็คือเวลา ลองดูตัวอย่างภาพต่อไปนี 
 
ด้านบนเปนภาพตัวอย่างของ Transient response ในวงจร
ไฟฟา ยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การเปลียนแปลงแรงดันไฟฟาจาก 1.0V ไป 
1.2V จะมีการใช้เวลา 30ns ตรงนีเรยกว่าค่า Transient response ซึง
จรง ๆ มันน้อยมากเมือเทียบกับมุมมองของมนุษย์ เพราะมันคือ 30 ส่วนใน 
1 ล้านส่วนของวนาที เท่านัน แต่ถ้าเปนมุมมองของคอมพิวเตอร์ทีการ
ประมวลผลเกิดขึนในทุกเศษเสียววนาที ระยะเวลา 30ns ทีเคยเพียงพอต่อ
การเปลียนแปลงจากค่าแรงดันไฟฟาจากค่าหนึงไปยังอีกค่าหนึงตอนนีก็ไม่
เพียงพอแล้วเพราะเราไปเร่งวงรอบการทํางานให้เร็วขึน ทําให้ระบบของเรา
ล่มซึงอาจจะแสดงออกมาให้เราเห็นเปนหน้าจอบูลสกรนบ้าง หน้าจอค้าง
บ้าง หรอรสตาร์ทบ้าง พอมาถึงตรงนีหลายคนอาจจะงงว่าแล้วแค่ช่วงเวลา
การเปลียนแปลงทางไฟฟามันส่งผลต่อการทํางานของซีพียูขนาดนันเลย
หรอ 
 
 
- 37 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
มาขยายความกันต่อครับ เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการทํางานของ
คอมพิวเตอร์นันข้อมูลทีซับซ้อนทังหลายแท้จรงแล้วจะมีเพียงค่า Logic 
“0” หรอ Logic “1” เท่านัน แต่ว่าค่า “0” กับ “1” จะถูกผูกไว้กับค่าแรง
ดันอ้างอิงโดยเฉพาะค่า “1” อาจจะถูกกําหนดค่าแรงดันไว้ที 1.2V ให้
ตีความเปน “1” ถ้าตํากว่านีให้ตีค่าเปน “0” ดังนันเมือการเปลียนแปลง
ค่าแรงดันไฟฟาไม่ถูกตรงหรอไม่ตรงจังหวะกับการติดสินใจด้านข้อมูลก็
ทําให้ระบบล่มหรอแสดงออกอย่างทีได้กล่าวไปในตอนต้น 
เมือเปนอย่างนีการเพิมแรงดันไฟฟาขึนมาอีกเล็กน้อยเช่นจากก็
เหมือนกับเรายกฐานของแรงดันขึนมาไว้ก่อนแล้วและเมือต้องการไฟใน
ระดับทีต้องการก็จะเปนการเพิมขึนมาอีกเพียงเล็กน้อยซึงจะใช้เวลาหรอใช้
ค่า Transient response ทีน้อยลงด้วยนันเอง อันนีอธิบายแบบให้เข้าใจ
ง่าย ๆ นะครับ ของจรงมันซับซ้อนกว่านี เพราะซีพียูในยุคปจจุบันจะมีการ
ปรับใช้แรงดันขึนลงอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้ว ไม่ได้ใช้ค่าคงทีค่าใดค่าหนึง 
อ่านมาถึงตรงนีหลายคนคงพอจะเข้าใจแล้วหล่ะว่าการเพิมแรง
ดันไฟฟาให้กับซีพียูนันมันจะช่วยลดค่า Transient response แล้วทีนี
พอเพิมแล้วมันจะทําให้ระยะเวลาในการลดลงของแรงดันไฟฟานันต้องใช้
มากขึนด้วยหรอเปล่า แล้วแบบนีเพิมไฟจะมีประโยชน์อะไร อย่างนันต้อง
ลองดูอีกหนึงภาพตัวอย่างครับ 
 
 
 
- 38 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
 
ถ้าลองสังเกตดูดี ๆ (กราฟเส้นแดง วงกลาง) ช่วงการลดลงของ
แรงนันนันจะใช้เวลาค่อนข้างน้อยจะเห็นได้ว่าช่วงของการลดจะค่อนข้าง
หักมุมลงมาเลย ในขณะทีช่วงขาขึนทีใกล้กับจุดสูงสุดของสัญญาณจะมี
การโค้งงอแสดงถึงการใช้เวลาทีมากกว่า (ภาพในวงซ้ายสุด) 
ลองมาดูอีกภาพ (วงด้านขวา) เปนภาพจากดิจิทัลออสซิลโลสโคป
ทีใช้จับสัญญาณดิจิทัลทีมีความเร็ว 250,000Hz หรอ 250KHz ก็จะเห็น
ชัดว่าช่วงขาขึนของสัญญาณก่อนจะถึงจุดสูงสุดจะมีความโค้ง ในขณะที
ช่วงขอบขาลงของสัญญาณจะตกลงมาเร็วมาก ตามทีอธิบายไปแล้วว่า
ซีพียูส่วนใหญ่จะตีค่าทีตํากว่าแรงดันทีกําหนดว่าเปน “0” ทําให้การ
เปลียนแปลงในขาลงของสัญญาณจึงไม่เปนปญหา 
นอกจากนีแล้วค่าของ Transient response จะมีการ
เปลียนแปลงไปอีกเมืออุณหภูมิของตัวซีพียูเพิมขึนหรอลง ถ้าอุณหภูมิเพิม
ค่า Transient response จะเพิมขึนด้วย และนันก็อีกหนึงเหตุผลด้วยว่า
เมือเราโอเวอร์คล็อกแล้วทําไมต้องมีอุปกรณ์ระบายความร้อนทีดีตามไป
ด้วย 
 
 
- 39 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
อย่างไรก็ตามการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียูนัน ก็ต้องทําอย่าง
ระมัดระวังเราไม่ควรจะเพิมแรงดันไฟฟาครังละมาก ๆ ในคราวเดียว ควร
จะปรับเพิมขึนครังละ +0.1 โวลท์ หรอ +0.2 โวลท์ ก็เพียงพอ แล้วค่อย ๆ 
ทดสอบดู เพราะบางครังการเพิมแรงดันไฟฟาในส่วนของ CPU เพียงเล็ก
น้อยก็ช่วยให้ระบบทํางานมีเสถียรภาพแล้ว ไม่จําเปนต้องเพิมให้สูงจนเกิน
ความต้องการเพราะทีเหลือมันจะกลายเปนความร้อนให้กับซีพียูไปแทน
ครับ 
ซีพียูแต่ละตัวก็จะมีการตอบสนองต่อการเพิมค่านีไม่เท่ากัน ซีพียู
บางตัวโอเวอร์คล็อกไปโดยไม่ต้องเพิมแรงดันไฟฟาก็สามารถทํางานได้ดี 
ในขณะทีตัวอืน ๆ จําเปนต้องเพิมแรงดันไฟฟา เราสามารถใช้ข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ตเปนแนวทางได้ว่าคนทีเคยลองโอเวอร์คล็อกเขาปรับแรงดัน
ไฟฟาของซีพียูไปทีเท่าไรบ้าง และอีกประการหนึงก็ต้องดูด้วยว่าเขาโอเวอร์
คล็อกแล้วใช้ชุดระบายความร้อนแบบไหน ฮีตซิงค์ธรรมดา ฮีตซิงค์รุ่น
พิเศษ หรอใช้ชุดระบายความร้อนด้วยนําก็ต้องดูด้วย ไม่ใช่เห็นเขาเพิมเรา
เพิมบ้างโดยทีไม่ได้ดูเรองอุปกรณ์ระบายความร้อนงานนีก็อาจจะสร้าง
ความเสียหายให้กับซีพียูหรอเมนบอร์ดได้เช่นกัน แม้ว่าในปจจุบันซีพียูและ
เมนบอร์ดจะมีระบบปองกันตัวเองอยู่แล้วก็ตาม แต่เราก็ไม่ควรประมาท 
 
แรงดันไฟฟาทีให้ซีพียูมากจากไหน แล้วทําไมปรับได้ 
เชือหรอไม่ว่าหนึงในสิงทีใช้บอกถึงคุณภาพของเมนบอร์ดก็คือ
ภาคจ่ายไฟ (Voltage regulator) บนเมนบอร์ดทีวางอยู่รอบ ๆ ซ็อกเก็ต
ของซีพียูนันเอง ถ้าภาคจ่ายไฟทํางานดีจ่ายไฟได้เทียงตรงแม่นยําและเพียง
พอระบบทีเราใช้งานก็จะมีเสถียรภาพในการทํางานตามไปด้วย และยิงซีพียู
ยุคใหม่ทีมีการปรับเปลียนความเร็วในการทํางานโดยอัตโนมัติอยู่ตลอด
 
 
- 40 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
เวลาหากภาคจ่ายไฟนีทํางานไม่เทียงตรงแม่นยําก็จะทําให้การทํางาน
ทังหมดของซีพียูล้มเหลวได้ 
 
 
สมัยก่อนเมือนานและนานมาแล้วภาคจ่ายไฟบนเมนบอร์ดก็จะ
เปนเพียงวงจรภาคจ่ายไฟแบบสวตชิงทีมีพืนฐานการทํางานแบบบ้าน ๆ 
และมีแรงดันไฟฟาเพียงระดับเดียวเท่านันอาจจะเปน 5V หรอ 3.3V ก็แล้ว
แต่ว่าซีพียูจะต้องการแรงดันไฟฟาทีเท่าไร ไม่สามารถปรับได้เหมือนสมัยนี 
แต่ในช่วงประมาณป ค.ศ 2000 ในคอมพิวเตอร์เรมทีจะมีระบบจัดการ
บรหารพลังงานมาใช้เพือลดการใช้พลังงานและลดความร้อนในการทํางาน 
รวมไปถึงซีพียูของอินเทลก็เรมนําเทคโนโลยี Speed Step มาใช้ ทีทําให้
ซีพียูสามารถปรับความเร็วในการทํางานตามภาระของงาน หรอตามโหมด
การใช้พลังงานได้ ทําให้ซีพียูมีความต้องการแรงดันไฟฟาทีหลากหลายขึน 
ภาคจ่ายไฟโง่ ๆ ก็ต้องมีการปรับเปลียนใหม่เปนภาคจ่ายไฟทีสามารถ
 
 
- 41 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
สือสารกับฮาร์ดแวร์อืน ๆ ได้ โดยมีการเพิมส่วนควบคุมการทํางานของ
ภาคจ่ายไฟเพิมเข้าไป จากเดิมทีเคยใช้ชิปควคุมการทํางาน DC-DC 
Controller หรอ PWM Controller แบบธรรมดาทัวไปก็ต้องเปลียนมา
เปน Digital DC-DC Controller แทน เพราะตัวควบคุมแบบดิจิทัลนี
สามารถสือสารกับซีพียูและฮาร์ดแวร์อืน ๆ เพือปรับค่าแรงดันไฟฟาได้ตาม
ทีซีพียูหรอฮาร์ดแวร์อืน ๆ ต้องการได้อย่างแม่นยํา 
 
และทีลําขึนไปอีกก็คือซีพียูรุ่นใหม่ ๆ อย่าง Ryzen ของ AMD 
(รวมถึงซีพียูของทางอินเทลด้วย) สามารถปรับใช้แรงดันไฟของซีพียูให้มี
ความแตกต่างกันได้ในแต่ละคอร์เลยทีเดียว ลองดูภาพจากโปรแกรม 
HWmonitor จะเห็นได้ว่าซีพียู Ryzen 7 1700 ทีเปนซีพียู 8 คอร์ จะมี
ค่า VID (แรงดันไฟฟาของซีพียูแต่ละคอร์) ทีแตกต่างกันไป แต่ว่า VDD 
 
 
- 42 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
ซึงเปนแรงดันหลักจะต้องมีค่าสูงกว่าแรงดัน VID ของคอร์ทีต้องการ
สูงสุด ในภาพตัวอย่างคอร์ #0 (ในช่วงเวลาปจจุบัน) ต้องการ VID ที 
1.394V ค่า VDD ทีซีพียูต้องรับเข้ามาก็คือ 1.400V และถ้าเรามาดูใน
ช่อง Max ซึงเปนช่วงเวลาทีซีพียูแต่ละคอร์เคยต้องการแรงดันไฟฟา VID 
สูงถึง 1.400V ครบทุกคอร์ VDD ทีเข้ามาก็ต้องมีเกินไว้เล็กน้อยที 
1.406V และในช่วงค่า Mix ทีซีพียูทุกคอร์ต้องการ VID เพียงแค่ 
1.106V ค่า VDD ทีเราเข้ามาก็ต้องการเพียง 1.112V เท่านัน 
อย่างไรก็ตามการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียูนัน ก็ต้องทําอย่าง
ระมัดระวังเราไม่ควรจะเพิมแรงดันไฟฟาครังละมาก ๆ ในคราวเดียว ควร
จะปรับเพิมขึนครังละ +0.1 โวลท์ หรอ +0.2 โวลท์ ก็เพียงพอ แล้วค่อย ๆ 
ทดสอบดู เพราะบางครังการเพิมแรงดันไฟฟาในส่วนของซีพียูเพียงเล็ก
น้อยก็ช่วยให้ระบบทํางานมีเสถียรภาพแล้ว ไม่จําเปนต้องเพิมให้สูงจนเกิน
ความต้องการเพราะทีเหลือมันจะกลายเปนความร้อนให้กับซีพียูไปแทน
ครับ 
ซีพียูแต่ละตัวก็จะมีการตอบสนองต่อการเพิมค่านีไม่เท่ากัน ซีพียู
บางตัวโอเวอร์คล็อกไปโดยไม่ต้องเพิมแรงดันไฟฟาก็สามารถทํางานได้ดี 
ในขณะทีตัวอืน ๆ จําเปนต้องเพิมแรงดันไฟฟา เราสามารถใช้ข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ตเปนแนวทางได้ว่าคนทีเคยลองโอเวอร์คล็อกเขาปรับแรงดัน
ไฟฟาของซีพียูไปทีเท่าไรบ้าง และอีกประการหนึงก็ต้องดูด้วยว่าเขาโอเวอร์
คล็อกแล้วใช้ชุดระบายความร้อนแบบไหน ฮีตซิงค์ธรรมดา ฮีตซิงค์รุ่น
พิเศษ หรอใช้ชุดระบายความร้อนด้วยนําก็ต้องดูด้วย ไม่ใช่เห็นเขาเพิมเรา
เพิมบ้างโดยทีไม่ได้ดูเรองอุปกรณ์ระบายความร้อนงานนีก็อาจจะสร้าง
ความเสียหายให้กับซีพียูหรอเมนบอร์ดได้เช่นกัน แม้ว่าในปจจุบันซีพียูและ
เมนบอร์ดจะมีระบบปองกันตัวเองอยู่แล้วก็ตาม แต่เราก็ไม่ควรประมาท 
 
 
 
- 43 -
 
AMD Ryzen Overclocking Guide
แล้วจะรู้ได้ไงว่าซีพียูตัวไหนต้องการแรงด้นไฟฟาแค่ไหน และดู
อย่างไรว่ามากไปแล้ว 
วธีการตรวจสอบแบบบ้าน ๆ และง่ายทีสุดเลยก็คือตรวจสอบจาก
ไบออสนีแหละครับ ในกรณีทีเพิงประกอบพีซีเสร็จหรอถ้าใช้งานอยู่แล้วก็
ให้เข้าไปทีไบออส จากนันก็มองหาปุมเรยกคืนค่า default ของเมนบอร์ด 
ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมนู Exit ของไปออส อาจจะแสดงข้อความเปน Load 
default หรออืน ๆ ซึงตรงนีจะเปนการคืนค่าการปรับแต่งต่าง ๆ ของ
ระบบทังหมดไม่ว่าจะเปนซีพียู หน่วยความจํา และส่วนอืน ๆ  
จากนันก็ให้เรามาตรวจสอบในส่วนของการปรับแต่งซีพียูให้มาดู
ทีค่าของ CPU Voltage หรอ CPU Core Voltage ก็จะแสดงค่าปกติที
เหมาะสมของซีพียูรุ่นนัน ๆ ให้เราได้เห็น อย่างไรก็ตามค่าเหล่านีอาจจะไม่
ได้แสดงเปนค่าคงทีอาจจะมีการปรับเปลียนขึนลงไปตามการทํางานของ
ซีพียูได้ 
อย่างไรก็ตามถ้าเมนบอร์ดทีเราใช้และซีพียูทีเราใช้เปนรุ่นที
สามารถโอเวอร์คล็อกได้ ก็ให้เราลองตังค่าแรงดันไฟฟาในส่วนของ CPU 
Core Voltage ดูเล่น ๆ ได้ แต่ยังไม่ต้องบันทึก เช่นถ้าแสดงเปน 1.2V 
เราก็ลองเพิมไปเปน 1.3V 1.4V ไปเรอย ๆ เมนบอร์ดบางรุ่นอาจจะให้
พิมพ์ค่าแรงดันไฟฟาเข้าไปได้โดยตรง เมนบอร์ดบางรุ่นก็จะให้กดปุม +/- 
เพือเพิมหรอลดได้ตามต้องการ ซึงปกติแล้วถ้าเราเพิมส่วนนีไปมาก ๆ 
ตัวเลขก็อาจจะมีการเปลียนแปลงเปนสีอืน ๆ นอกเหนือจากปกติซึงแสดง
ถึงระดับอันตราย ตัวอย่างนีเราใช้เมนบอร์ด ASUS X370-F Strix ลอง
ปรับแรงดันไฟฟาให้กับซีพียู Ryzen 7 1700 
 
 
- 44 -
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide
AMD Ryzen Overclocking Guide

More Related Content

Similar to AMD Ryzen Overclocking Guide

ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
flukiiez
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
gotemohardy
 
Asus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจ
Asus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจAsus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจ
Asus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจ
som9nur
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
okbeer
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
okbeer
 

Similar to AMD Ryzen Overclocking Guide (20)

ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Ppt com
Ppt comPpt com
Ppt com
 
เอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียน
 
สถาปัตยกรรม CPU
สถาปัตยกรรม CPUสถาปัตยกรรม CPU
สถาปัตยกรรม CPU
 
hardware.pptx
hardware.pptxhardware.pptx
hardware.pptx
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Asus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจ
Asus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจAsus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจ
Asus k53 tasx119d แรงคุ้ม ถึงใจ
 
Js unit 2
Js unit 2Js unit 2
Js unit 2
 
เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ประจำปี พ.ศ. 2560
เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ประจำปี พ.ศ. 2560เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ประจำปี พ.ศ. 2560
เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ประจำปี พ.ศ. 2560
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
Review Need for Speed The Run
Review Need for Speed The RunReview Need for Speed The Run
Review Need for Speed The Run
 
computer
computercomputer
computer
 
computer
computercomputer
computer
 
ณัฐวุฒิ-สหรัฐ-ชคพ1-3
ณัฐวุฒิ-สหรัฐ-ชคพ1-3ณัฐวุฒิ-สหรัฐ-ชคพ1-3
ณัฐวุฒิ-สหรัฐ-ชคพ1-3
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 

AMD Ryzen Overclocking Guide

  • 2.   AMD RYZEN  Overclocking Guide  คู่มือโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen  (ฉบับพืนฐาน)                เขียน/บรรณาธิการ  ธนกาญจน์ จุ้ยเจรญ  พฤษภาคม 2561    สํานักพิมพ์:  QuickPC Extreme  40 ซอยลาดพร้าววังหิน 76 ถนนลาดพร้าววังหิน  แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10230  ติดต่อ:   ราตร ตรกมล / โทร. 083-189-4449 / ratree@quickpcextreme.com  www.quickpcextreme.com​ / เว็บไซต์สํานักพิมพ์  www.quickpconline.com​ / เว็บไซต์นิตยสารออนไลน์       
  • 3.   AMD Ryzen Overclocking Guide สารบัญ  ● สถาปตยกรรม Zen ในซีพียู Ryzen…..5  ● ทําความรู้จักเทคโนโลยี SenseMI, XFR, Precision Boost  เพือเข้าใจความแตกต่างของ Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2 …..​10  ● AMD Ryzen Platform…..​18  ● ไบออสคืออะไร ใช้ซีพียูใหม่ทําไมต้องอัปเกรดไบออส…..23  ● มาตรฐานของแรม และความเข้าใจเรอง XMP…..27  ● พืนฐานการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen…..30  ● โอเวอร์คล็อกซีพียูทําไมต้องเพิมไฟ.....35  ● ทดลองโอเวอร์คล็อกซีพียู (Ryzen 5 2400G)......50  ● ทดลองโอเวอร์คล็อกหน่วยความจํา(แรม)…..57  ● ทดลองโอเวอร์คล็อกกราฟก RX Vega ในซีพียู (Ryzen 5  2400G).....​77              - 2 -
  • 4.   AMD Ryzen Overclocking Guide Editor’s Talk    จุดเด่นประการสําคัญของซีพียู Ryzen ก็คือ ซีพียูทุกรุ่นสามารถ นํามาโอเวอร์คล็อกเพือเพิมประสิทธิภาพในการทํางานได้ ไม่ว่าจะเปนซีพียู รุ่นใหญ่ในระดับ Ryzen 7 หรอซีพียูรุ่นเล็กในระดับ Ryzen 3    การโอเวอร์คล็อกซีพียูในยุคปจจุบันก็สามารถทําได้อย่างง่ายดาย  ไม่ต้องเปนผู้เชียวชาญก็สามารถโอเวอร์คล็อกซีพียูให้เร็วขึนได้แล้ว  อย่างไรก็ตามการทีเราได้เรยนรู้ข้อมูลขันพืนฐานในเรองการโอเวอร์คล็อก ก็จะทําให้เราสามารถทําการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen รวมไปถึงซีพียูอืน ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยมากยิงขึน (เพราะใช้หลักการเดียวกัน)    หนังสือคู่มือการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen (ฉบับพืนฐาน) ทีทุก ท่านกําลังอ่านอยู่นีเราได้รวบรวมข้อมูลพืนฐานทีควรรู้ ไม่ว่าจะเปนหลัก การทํางานเบืองต้นของซีพียู เรองของไบออส เมนบอร์ด หน่วยความจํา  และอืน ๆ ซึงจะช่วยให้คุณผู้อ่านทีเปนเจ้าของซีพียู Ryzen สามารถ  โอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen ได้อย่างตรงกับความต้องการ และได้ ประสิทธิภาพสูงสุด    นอกจากเรองของซีพียูแล้วเรายังได้รวบรวมรายละเอียดของการ ปรับแต่งหน่วยความจํา ซึงเปนอีกส่วนหนึงทีช่วยให้ประสิทธิภาพการ ทํางานโดยรวมของแพลตฟอร์มซีพียู Ryzen ทํางานได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ        - 3 -
  • 5.   AMD Ryzen Overclocking Guide สุดท้ายต้องขอขอบคุณบรษัท SVOA ตัวแทนจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ของ AMD และทีมงานของ AMD ประเทศไทย ทีช่วยสนับสนุนทรัพยากร ต่าง ๆ จนทําให้หนังสือคู่มือฉบับนีเกิดขึนมาได้ หากคุณผู้อ่านพบข้อ บกพร่องใด ๆ ของเนือหาในหนังสือคู่มือเล่นนีสามารถแจ้งมาได้ทีอีเมล  thanakarn@quickpcextreme.com​ หรอถ้าต้องการให้เราเพิมเติม เนือหาอะไรเพิมเติมก็แจ้งมาได้เช่นกันครับ เพือทีเราจะได้ทําการปรับปรุง และแก้ไขในเล่มถัดไป และหวังว่าจะได้มีโอกาสมาพบกับคุณผู้อ่านอีกครัง ใน “AMD Ryzen Overclocking Guide V.2” สวัสดีครับ      ธนกาญจน์ จุ้ยเจรญ    บรรณาธิการ                          - 4 -
  • 6.   AMD Ryzen Overclocking Guide สถาปตยกรรม Zen ในซีพียู Ryzen   ไม่ว่าจะเปนซีพียู Ryzen เจนฯ 1 หรอซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ก็ยัง คงใช้สถาปตยกรรมหลักทีเหมือนกันชือว่า “Zen Core” ทีมีการออกแบบ ใหม่หมดเมือเทียบกับซีพียูในตระกูล AMD FX (สถาปตยกรรม  Bulldozer) ทีเปดตัวมาตังแต่ป 2011  Ryzen เจนฯ 1 เราจะเรยกชือว่าเปนสถาปตยกรรม Zen  (14nm) ส่วน Ryzen เจนฯ 2 เราจะเรยกชือสถาปตยกรรมว่า Zen+  (12nm) ไม่ได้เรยกว่า Zen 2 อย่างทีหลายคนเข้าใจ และอีกส่วนหนึงที ควรทราบก็คือในซีพียู Ryzen 2000G Series ทีมาพร้อมกับกราฟก RX  Vega ในตัวแม้จะถูกจัดให้เปน Ryzen เจนฯ 2 ตามกลไกทางการตลาด  แต่สถาปตยกรรมภายในนันเปน Zen 14nm+ คือมีบางส่วนทีปรับปรุงที แตกต่างไปจาก Ryzen เจนฯ 1 บ้างแต่ก็ไม่มากเท่ากับ Ryzen เจนฯ 2 ที เปน Zen+ 12nm    สําหรับซีพียู Ryzen เจนฯ 1 นันเรมวางตลาดครังแรกในเดือน กุมภาพันธ์ 2017 จะเห็นได้ว่าเราต้องรอกันอย่างยาวนานถึง 6 ป เอเอ็มดี     - 5 -
  • 7.   AMD Ryzen Overclocking Guide จึงมีการยกเครองซีพียูใหม่ทังหมด (ถ้าไม่นับซีพียูทีมีชือรหัสว่า Jaguar ที ตังใจทํามาใช้กับ Playstation โดยเฉพาะ และเอเอ็มดีก็นําใช้กับซีพียู  Athlon รุ่นเล็กทีเปนซ็อกเก็ต AM1 ทีเจาะตลาดประหยัดพลังงานและใช้ งานพืนฐานทัวไป) แม้จะต้องรออย่างยาวนานก็ต้องบอกว่าเปนการคุ้มค่าที รอคอยเพราะประสิทธิภาพของซีพียู Ryzen เจนฯ 1 สูงกว่า AMD FX ถึง  52% เทียบจากการประมวลผลชุดคําสังต่อรอบสัญญาณนา ิกา    ความเปลียนแปลงหลัก ๆ ทีเห็นได้ชัดจากการปรับปรุงมาเปน สถาปตยกรรม Zen ก็คือการปรับปรุงภาค Front End ในการอ่านรหัส คําสัง, ถอดรหัสคําสัง และประมวลผลคําสัง ให้มีประสิทธิภาพสูงขึน รวม ไปถึงการมี FPU ครบตามจํานวนคอร์ ถ้าเราจําได้ในสมัย AMD FX แม้ว่า จะเปนซีพียูแบบ 8 คอร์ แต่ว่า FPU จะมีเพียง 4 หน่วยเท่านัน ทําให้ ประสิทธิภาพในการทํางานด้านการประมวลผลเลขทศนิยมทําได้ค่อนข้าง ช้า ซึงปญหานีจรง ๆ ไม่ได้เปนทีตัวฮาร์ดแวร์เพียงอย่างเดียว แต่ว่าเปนที วนโดวส์เองก็ไม่ได้ปรับแต่งการทํางานให้เหมาะสมกับการออกแบบของเอ เอ็มดีด้วย และถ้าใครพอจะจําได้ตอนทีวนโดวส์ 10 เปดตัวมา เราก็ได้เห็น สือต่าง ๆ พูดถึงซีพียู AMD FX ว่าทํางานได้ดีกว่าวนโดวส์ 7 และ 8 อย่าง     - 6 -
  • 8.   AMD Ryzen Overclocking Guide ไม่น่าเชือ ทัง ๆ ทีเปนฮาร์ดแวร์รุ่นเดิม อย่างไรก็ตามแต่ปญหาเหล่านันได้ ถูกกําจัดให้หมดไปด้วยสถาปตยกรรมใหม่เรยบร้อยแล้ว    นอกจากการปรับปรุงในส่วนของ Front End แล้ว ทางเอเอ็มดี ยังได้เพิมคุณสมบัติในการทํางานทีเรยกว่า SMT (Simultaneous  multithreading) หมายถึงหนึงคอร์ของซีพียูสามารถรองรับได้สอง เธรดพร้อมกัน (หรอทางฝงอินเทลเราก็จะคุ้นเคยกับเทคโนโลยีนีในชือว่าไฮ เปอร์เธรดดิงนันเอง) นันทําให้ซีพียูของเอเอ็มดีรุ่นใหม่นีสามารถทีจะเพิม ประสิทธิภาพในการทํางานได้ง่ายขึนกว่าเดิม และทางเอเอ็มดีก็สามารถ สร้างซีพียูทีมีความหลากหลายออกมาเพือแข่งกับอินเทลได้ในทุกตลาด  และผลจากการปรากฏตัวของซีพียู Ryzen นันก็ทําให้ทางฝงอินเทลเองไม่ สามารถอยู่นิงได้ ต้องทําการอัปเกรดซีพียู Core i3 ทีเปนซีพียูแบบ 2  คอร์ 4 เธรด ให้กลายเปนซีพียูแบบ 4 คอร์ อัปเกรด Core i5 ทีเปนซีพียู แบบ 4 คอร์ ให้กลายเปน 6 คอร์ และอัปเกรดซีพียู Core i7 จาก 4 คอร์ 8  เธรด ไปเปนซีพียูแบบ 6 คอร์ 12 เธรด จะเห็นได้กว่าการเปดตัวของซีพียู      - 7 -
  • 9.   AMD Ryzen Overclocking Guide Ryzen ไม่ได้เปนการอัปเกรดซีพียูเฉพาะฝงเอเอ็มดีเพียงอย่างเดียวเท่านัน  แต่เปนการกระตุ้นให้เกิดการยกระดับของซีพียูทังอุตสาหกรรมเลยก็ว่าได้   ซึงก่อนหน้านีเอเอ็มดีเองก็เคยพลิกโฉมอุตสหกรรมของซีพียูจาก ระบบ 32 บิต มาเปน 64 บิต มาแล้วในยุคของ AMD Athlon64 แม้  เอเอ็มดีจะถูกมองว่าเปนเพียงมวยรองในตลาดซีพียู แต่การเปลียนแปลง ใหญ่ทุกครังของเอเอ็มดีนันมีส่วนร่วมอย่างมากทีผลักดันให้อุตสาหกรรมมี ความก้าวหน้ามากขึน    อีกหนึงเทคโนโลยีทีสําคัญทีอยู่ในซีพียู Ryzen ก็คือการเชือมต่อ ภายในของซีพียูมีการปรับเปลียนมาใช้ Infinity Fabric ทีมีความโดด เด่นในเรองของความยืดหยุ่นในการขยายระบบ คือนอกจากจะง่ายต่อการ เพิมจํานวนคอร์ซีพียูทีใช้สถาปตยกรรม Zen ด้วยกันเองแล้ว ยังสามารถ เพิมหน่วยประมวลผลประเภทอืน ๆ ให้เข้ามารวมเปนส่วนหนึงของซีพียูได้ ง่ายขึนโดยผ่าน Infinity Fabric โดยทีไม่ต้องไปยุ่งกับส่วนของคอร์ซีพียู เลย และหากมีการประมวลผลอยู่ภายในก็จะทําให้ประสิทธิภาพในการ ทํางานเพิมสูงขึนด้วยเพราะไม่ต้องเสียเวลาในการรับส่งข้อมูลผ่านบัสหรอ อินเทอร์เฟซอืน ๆ ภายนอกนันเอง      - 8 -
  • 10.   AMD Ryzen Overclocking Guide   และถ้าใครมีโอกาสได้ใช้ซีพียู Ryzen 5 2400G หรอ Ryzen 3  2200G มาแล้วก็คงจะได้สัมผัสกับเทคโนโลยี Infinity Fabric ทีใช้เชือม ต่อระหว่างซีพียู Ryzen กับกราฟก RX Vega ไว้เปนหนึงเดียวกันได้อย่าง มีประสิทธิภาพ (ดูผลการทดสอบได้ทีบทความทดสอบ Ryzen 5 2400G  และ Ryzen 3 2200G​)     ภาพด้านบนแสดงถึงซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ทีเข้ามาทดแทนซีพียูเจนฯ 1      - 9 -
  • 11.   AMD Ryzen Overclocking Guide ทําความรู้จักเทคโนโลยี  SenseMI, XFR, Precision Boost  เพือเข้าใจความแตกต่าง Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2    SenseMI เปนชุดเทคโนโลยีใหม่ทีเอเอ็มดีใส่เข้ามาในซีพียู สถาปตยกรรม Zen ซึงคุณสมบัติของ SenseMI นีก็จะอยู่ในซีพียู  Ryzen 1000 Series ทุกรุ่น และก็ยังคงถ่ายทอดมาสู่ Ryzen 2000G  Series และ Ryzen 2000 Series หรอทีเราเรยกรวม ๆ ว่า Ryzen เจน เนอร์เรชัน 2 นันเอง เราไปทบทวนกันสักหน่อยว่าคุณสมบัติ SenseMI  นันช่วยให้ซีพียู Ryzen ทํางานได้ดีขึนได้อย่างไรบ้าง และเราจะไปดูกัน ด้วยว่า SenseMI ทีอยู่ใน Ryzen เจนฯ 2 นันได้รับการปรับปรุงไป อย่างไรบ้าง ก่อนไปดู SenseMI แวะดูสเปคของซีพียู Ryzen เจนฯ 1  และ เจนฯ 2 เพือดูความแตกต่างในแบบภาพรวมกันก่อน        - 10 -
  • 12.   AMD Ryzen Overclocking Guide ตารางเปรยบคุณสมบัติของซีพียู Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2 ที วางจําหน่ายอยู่ในขณะนี ส่วนซีพียู Ryzen เจนฯ 1 ก็คิดว่าคงจะหมดไป จากตลาดในเร็ว ๆ นี อย่างเช่น Ryzen 3 1200 คงจะไม่มีการผลิตเพิม เพราะมี Ryzen 3 2200G ทีมาพร้อมกับกราฟกในตัวเข้ามาทดแทนใน ด้านประสิทธิภาพและราคา ส่วน Ryzen 5 1400 ก็จะถูกทดแทนด้วย  Ryzen 5 2400G ทีมาพร้อมกับกราฟก Vega ทีให้ความคุ้มค่าทังด้าน ราคาปละประสิทธิภาพเช่นกัน    เจาะลึกเทคโนโลยี SenseMI    SenseMI จะมีคุณสมบัติการทํางานทีโดดเด่นอยู่ 5 ประการ  โดยคุณสมบัติทัง 5 ประการนีจะทําการสอดประสานกันเพือให้ซีพียูทํางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน    1. Pure Power​ เปนคุณสมบัติในเรองการจัดการพลังงาน โดย ภายในซีพียูได้มีการติดตังเซนเซอร์ตรวจสอบการทํางานของ ซีพียูในเรองต่าง ไม่ว่าจะเปนอุณหภูมิ การใช้ทรัพยากรของระบบ      - 11 -
  • 13.   AMD Ryzen Overclocking Guide เพือปรับความเร็วของ CPU Clock ให้เหมาะสมต่อการทํางาน ก็ จะช่วยเรองการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึงมันจะส่งผล ต่ออุณหภูมิในการทํางานของซีพียูด้วย     2. Precision Boost / Precision Boost 2​ (สําหรับซีพียูเจนฯ  2) คุณสมบัตินีเปนการทํางานต่อเนืองมาจาก Pure Power ที เมือตรวจสอบการทํางานของซีพียูแล้วก็จะมาตรวจสอบดูว่ามี ความต้องการด้านการประมวลผลอย่างไรบ้าง เพือเพิมความเร็ว ให้กับ CPU Clock ได้อย่างเหมาะสมและไม่ใช้ค่าพลังงานเกินที กําหนด โดยปกติแล้ว Pricision Boost จะเร่งความเร็วของ ซีพียูเพิมขึนครังละ 25MHz ส่วนในซีพียู Ryzen เจนฯ 2 จะมี การเพิมความเร็วของซีพียูได้มากกว่า Ryzen เจนฯ 1 ซึงเราจะ อธิบายอย่างละเอียดภายหลัง    3. Extended Frequency Range​ เรยกย่อ ๆ ว่า XFR​ หรอ  XFR 2​ สําหรับ Ryzen เจนฯ 2 คุณสมบัตินีจะเปนการปรับ ความเร็วของ CPU Clock จากการตรวจสอบการใช้พลังงาน และการตรวจสอบอุณหภูมิการทํางานของซีพียูเพิมเติมด้วย ถ้าผู้ ใช้มีการติดตังชุดระบายความร้อนคุณภาพสูง ระบายความร้อน ได้ดีอุณหภูมิของซีพียูอยู่ในช่วงทีกําหนด ก็จะมีการเพิม CPU  Clock ให้เพิมขึนไปอีกขันเพือช่วยเร่งความเร็วในการทํางาน  และทุกอย่างนีจะเกิดขึนโดยอัตโนมัติโดยทีผู้ใช้ไม่ต้องปรับแต่งใด  ๆ ใน Ryzen เจนฯ 2 ถ้าใช้งานร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ชิปเซต  X470 และ B450 (ทีกําลังจะออก) จะมีคุณสมบัติ XFR2  Enhance เพิมมาก ซึงก็คือการเพิม CPU Clock ขึนไปอีกนิด      - 12 -
  • 14.   AMD Ryzen Overclocking Guide แต่ก็ขึนอยู่กับเงือนไขของการใช้พลังงานและอุปกรณ์ระบาย ความร้อนทีเราใช้ด้วย    4. Neural Net Prediction (NNP)​ คุณสมบัตินีคือระบบการ เรยนรู้ในเรองของการคาดเดาชุดคําสังล่วงหน้า หรอทีเมือก่อน เราจะรู้จักกันในชือของ Branch Prediction เมือก่อนการคาด เดาคําสังของ Branch Prediction จะมีรูปแบบค่อนข้าง ตายตัว แต่ด้วยเทคโนโลยี NNP ซีพียูสามารถเรยนรูปแบบของ การคาดเดาคําสังได้ตามลักษณะการทํางานของแอปพลิเคชัน ยิง คาดเดาคําสังได้แม่นยําการทํางานโดยรวมของระบบก็จะเร็วขึน    5. Smart Prefetch​ คุณสมบัตินีคือการเก็บข้อมูลบางส่วนทีมี การใช้งานบ่อย ๆ มาเก็บไว้ในแคช อย่างใน Ryzen นีจะหมายถึง แคช L3 ซึงเปนหน่วยความจําแคชทีต้องใช้แชร์ข้อมูลระหว่าง คอร์ประมวลผลแต่ละคอร์ของซีพียู ถ้าการจัดการข้อมูลตรงนีมี ความถูกต้องแม่นยํา ซีพียูก็ไม่ต้องเสียเวลาไปหาข้อมูลจากหน่วย ความจําหลักหรอ RAM สามารถนําข้อมูลจากหน่วยความจํา แคช L3 ได้ทันที ซึงมันก็ส่งผลต่อความเร็วในการทํางานโดยตรง    Precision Boost, XFR, Precision Boost Overdrive  เราจะเห็นได้ว่าใน SenseMI มีอยู่สองคุณสมบัติการทํางานที มีหน้าทีในการเพิมประสิทธิภาพการทํางานของซีพียูโดยตรงด้วยการเพิม  Clock Speed ของซีพียูให้เพิมขึนนันก็คือ Precision Boost​ และ XFR  และเมือมาอยู่ในซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ก็จะมีเลข 2 ทีบ่งบอกถึงการเปน     - 13 -
  • 15.   AMD Ryzen Overclocking Guide เวอร์ชันทีสองหรอรุ่นทีสองของคุณสมบัตินีด้วย ซึงมันมีความแตกต่างดัง ในภาพต่อไปนี    ภาพด้านบนนีเปนการยกตัวอย่างการทํางานของวธีการเพิม  Boost Clock ของซีพียู Ryzen แบบ 8 คอร์ กราฟเส้นสีส้มแสดงวธีการ เพิม Boost Clock ของซีพียู Ryzen เจนฯ 1 ว่า การบูสเพิมสูงสุดจะเกิด ขึนเมือมีเวร์คโหลดโดยความเร็วทีเพิมสูงนันจะไม่เกิน 2 คอร์ แต่ถ้ามีเวร์ค โหลดมากกว่านันการเพิมความเร็วของทุกคอร์จะลดลงมาอยู่ในระดับ เดียวกันโดยจะสูงกว่า Base Blcok อยู่เพียงเล็กน้อย ยกตัวอย่างเช่น  Base Clock อยู่ที 3.2GHz เมือมีการบูสจะมีเพียง 2 คอร์จะถูกบูสไปใน ระดับ 3.7GHz คอร์ทีเหลือจะถูกบูสมาแค่ 3.4GHz และต่อให้มี XFR  ลักษณะการเพิมก็จะเปนในรูปแบบเส้นกราฟสีส้มอยู่ดี เพียงแค่ยกระดับ ความเร็วขึนมีอีกเล็กน้อย      - 14 -
  • 16.   AMD Ryzen Overclocking Guide   แต่สําหรับซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ค่า Base Clock โดยพืนฐานก็ จะสูงกว่าซีพียูในเจนฯ แรกอยู่แล้ว และการเพิมของ Boost Clock นันก็ จะมีลักษณะทีลดหลันลงไปตามจํานวนเวร์คโหลดทีคอร์ทํางาน ลองดู ลักษณะเส้นกราฟ Precision Boost 2 จะเห็นได้ว่าค่อย ๆ ปรับลดลง ไม่ ได้ตัดตอนเหมือนกับซีพียูรุ่นแรก ขอยกตัวอย่างเปนเลขกลม ๆ เพือความ เข้าใจ เช่นคอร์ที 1 ถูกบูสไปที 4.0GHz คอร์ทีสองก็จะลดลงมาเปน  3.9GHz, 3.8GHz, 3.7GHz, 3.6GHz, 3.5GHz, 3.4GHz และคอร์ที แปดก็อยู่ที 3.3GHz แบบนีครับ ซึงทําให้การประมวลผลโดยรวมเร็วกว่า วธีเดิมมาก ลองดูภาพด้านล่างบรเวณทีเราเติมรูปสามเหลียมทับลงไปนัน คือพืนทีของประสิทธิภาพทีเราจะได้เพิมขึนมา        - 15 -
  • 17.   AMD Ryzen Overclocking Guide ย้อนกลับไปดูในกราฟเราจะเห็นว่ามีกราฟเส้นสีแดงทีเขียนว่า  XFR 2 ตรงนีก็เปนการเพิมความเร็วให้มากขึนไปอีกระดับหากเรามีการใช้ ชุดระบายความร้อนทีมีประสิทธิภาพสูงทีสามารถลดความร้อนในระหว่าง การทํางานของซีพียูได้ดี ตัว XFR 2 ก็จะขยับความเร็วของ Boost Clock  เพิมให้เราเองโดยอัตโนมัติโดยทีเราไม่ต้องไปตังค่าใด ๆ และในกราฟเส้นสี ขาวทีอยู่เหนือ XFR 2 ขึนไปทีเขียนว่า Precision Boost Overdrive  ตรงนีเปนคุณสมบัติใหม่ทีอยู่ใน Ryzen เจนฯ 2 ทีทํางานร่วมกับเมนบอร์ด ชิปเซต X470 โดยเฉพาะครับ (รวมถึงชิปเซต B450 ทีกําลังจะออก)  เหตุผลที Precision Boost Overdrive (รวมถึง XFR2  Enhance) ทําได้เฉพาะกับเมนบอร์ด X470 ก็เพราะว่าจําเปนต้องได้รับ การจ่ายพลังงานทีเพียงพอจากภาคจ่ายไฟของซีพียูบนเมนบอร์ดครับ  เนืองจากเมนบอร์ดรุ่นอืนทีออกมาก่อนหน้านีภาคจ่ายไฟได้ถูกออกแบบมา ให้ใช้งานโดยการออกแบบพืนฐานอยู่บนค่า TDP ของซีพียูระดับ 95 วัตต์  ในขณะทีซีพียู Ryzen 7 2700X มีค่า TDP 105 วัตต์ แม้ว่าจะใช้งานบน เมนบอร์ดรุ่นก่อนหน้าได้ทังหมด แต่ถ้าต้องการเพิมความเร็วให้สูงก็จําเปน ต้องการการจ่ายไฟทีเพียงพออย่างต่อเนืองเพือเพิมเสถียรภาพในการ ทํางาน ซึงเมนบอร์ด X470 จะตอบโจทย์นีได้ดีกว่าทําให้คุณสมบัติ  Precision Boost Overdrive จะถูกเปดใช้งานเมือ Ryzen เจนฯ 2  ทํางานบนเมนบอร์ด X470 เท่านัน แต่คุณสมบัติอืน ๆ ทีกล่าวมาก็ยังคงใช้ งานได้ปกติหากทํางานบนชิปเซตรุ่นก่อนหน้าไม่ว่าจะเปน X370, B350  และ A320  ในภาพรวมแล้วเราจะเห็นได้ว่าซีพียู Ryzen เจนฯ 2 นันมี Base  Clock และ Boost Clock ทีสูงกว่าเจนฯ แรกอยู่พอสมควรเลยทีเดียว  ทังนีก็เพราะการปรับกระบวนการผลิตซีพียูจาก 14 นาโนเมตร มาเปน 12  นาโนเมตร นันเองครับ ลองกลับไปดูในตารางสเปคซีพียูอีกครังจะเห็นได้     - 16 -
  • 18.   AMD Ryzen Overclocking Guide ว่าความเร็ว Base Clock และ Boost Clock ของซีพียู Ryzen เจนฯ 2  นันสูงกว่า เจนฯ 1 อยู่พอสมควรแต่ยังคงมีค่า TDP หรอค่าความร้อนของ ซีพียูทีเกิดขึนเท่ากัน มีเพียง Ryzen 7 2700X เท่านันทีเอเอ็มดีมีการปรับ ค่า TDP เพิมขึนเปน 105W เพือให้ผู้ใช้ทีชืนชอบการโอเวอร์คล็อก สามารถโอเวอร์คล็อกความเร็วให้กับซีพียูเพิมขีนได้โดยใช้ชุดระบายความ ร้อนประสิทธิภาพสูงทัวไป  ถ้าหากมีคนถามว่าซีพียู Ryzen เจนฯ 1 กับ เจนฯ 2 มีความแตก ต่างกันอย่างไร คําอธิบายทีอยู่ภายใต้หัวข้อนีก็อธิบายถึงความแตกต่างได้ ทังหมดครับ ไม่ว่าจะเปนการปรับลดขนาดการผลิตจาก 14 นาโนเมตร มา เปน 12 นาโนเมตร ให้ประสิทธิภาพในการทํางานเพิมขึนด้วยคุณสมบัติ  SenseMI ชุดใหม่ โดยการใช้พลังงานในระดับเดิม การรองรับแรมทีเร็ว ขึน                - 17 -
  • 19.   AMD Ryzen Overclocking Guide AMD Ryzen Platform  หลังจากทีเราได้ทําความรู้จักกับซีพียู Ryzen และสถาปตยกรรม  Zen ไปเปนทีเรยบร้อยแล้ว คราวนีเรามาทําความรู้จักกับแพลตฟอร์มของ  AMD Ryzen กันบ้างครับ คําว่าแพลตฟอร์มในทีนีเราก็จะหมายถึงส่วน อืน ๆ ทีจะนํามาทํางานร่วมกับซีพียู Ryzen นันเอง  โดยพืนฐานแล้วสิงทีจะต้องทํางานร่วมกับซีพียู อย่างแรกเลยก็ คือชิปเซต ซึงในแพลตฟอร์มของ Ryzen นีเราจะมีชิปเซตให้เลือกใช้ใน ตลาดอยู่ 4 รุ่นด้วยกัน ได้แก่ชิปเซต X470 (ทีเพิงเปดตัวมาพร้อมกับ  Ryzen เจนฯ 2), X370, B350 และ A320 โดยชิปเซตสามรุ่นหลังนีเปด ตัวมาพร้อมกับ Ryzen เจนฯ 1 (อันทีจรงเอเอ็มดียังมีชิป X300 กับ  A300 แต่ว่าเปนตลาดเฉพาะทางไม่ได้ใช้กับเมนบอร์ดทัวไป)          - 18 -
  • 20.   AMD Ryzen Overclocking Guide   ภาพด้านบนนีสามารถใช้บ่งบอกถึงรูปแบบแพลตฟอร์มของ  AMD Ryzen ได้อย่างลงตัว ไม่ว่าจะเปน Ryzen เจนฯ 1 หรอว่า เจนฯ 2  ก็จะมีการจัดโครงสร้างการเชือมต่อระบบทีเหมือน ๆ กันจะแตกต่างกันไป บ้างก็คือบรรดาชิปเซตทีอยู่บนเมนบอร์ดทีมีคุณสมบัติในการทํางานทีแตก ต่างกันไปตามสเปคทีระบุมา  นอกจากชิปเซต X470 ทีเปดตัวมาพร้อมกับ Ryzen เจนฯ 2  แล้ว ทางเอเอ็มดีก็เตรยมทีจะเปดตัวชิปเซตใหม่อีกหนึงรุ่นในช่วงครงหลัง ของป 2018 นันก็คือ B450 ซึงจะมีคุณสมบัติหลัก ๆ ในการทํางาน เหมือนกับ X470 และเมนบอร์ด B460 ก็จะรองรับ XFR2 และ  Precision Boost Overdrive ด้วยเช่นกัน        - 19 -
  • 21.   AMD Ryzen Overclocking Guide   สําหรับความพิเศษจรง ๆ ของชิปเซต X470 ทีเพิงเปดตัวพร้อม กับซีพียู Ryzen เจนฯ 2 ก็คือมาพร้อมกับซอฟต์แวร์ StoreMI ในขณะที ชิปเซตอืน ๆ ถ้าต้องการใช้คุณสมบัตินีต้องเสียเงินเพิมราว ๆ 600-700  บาท     StoreMI คือซอฟต์แวร์ทีช่วยรวมการทํางานของไดร์ฟทีมี ความเร็วกับไดร์ฟทีทํางานได้ช้าให้เปนหนึงเดียวกัน เช่นถ้าคุณมี SSD กับ  HDD เมือติดตัง StoreMI ลงไปวนโดวส์ก็จะมองไดร์ฟทังหมดเปนเพียง ไดร์ฟเดียว และโปรแกรมจะทําการวเคราะห์ว่ามีโปรแกรมใด(ไฟล์ใด)ทีใช้ งานบ่อย ๆ โปรแกรมก็จะทําการย้ายไฟล์เหล่านันมาไว้บนพืนทีไดร์ฟเร็วซึง     - 20 -
  • 22.   AMD Ryzen Overclocking Guide ในทีนีคือส่วนของ SSD และต้องยําอีกครังว่าการทํางานส่วนนีจะเปนไปโดย อัตโนมัติ ผู้ใช้จะมองไม่เห็นไดร์ฟเลยว่าเปน SSD หรอ HDD ผู้ใช้จะมอง เห็นเพียงว่านีคือไดร์ฟเพียงหนึงไดร์ฟเท่านัน นอกจากนีแล้วเพือเปนการ เสรมประสิทธิภาพในการทํางาน StoreMI จะนําพืนทีบางส่วนของหน่วย ความจํามาทํางานร่วมกันอีกด้วย แต่ว่าส่วนของหน่วยความจํานีจะถูกนํา มาใช้ในลักษณะของแคชเพือเพิมความความเร็วในระหว่างการทํางาน เท่านันไม่ได้เปนการจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรเหมือนไดร์ฟ SSD และ HDD  สําหรับผู้ทีใช้เมนบอร์ดชิปเซตอืน ๆ เช่น X370, B350 และ  B450 ทีกําลังจะออกมาก็สามารถใช้ StoreMI ได้แต่ว่าต้องไปซือเพิม  ส่วนชิปเซต A320 ใช้ StoreMI ไม่ได้ครับ            - 21 -
  • 23.   AMD Ryzen Overclocking Guide จะโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen ใช้เมนบอร์ดแบบไหนดี  ถ้าจะพูดให้ระเอียดก็เขียนเปนคู่มือได้อีกหนึงเล่มครับ แต่ถ้าจะ เอาแบบรวบรัดตัดตอน ก็ให้นึกถึงงบประมาณกับความต้องการของตัวเอง เปนหลักครับ ถ้าต้องการโอเวอร์คล็อกแบบสุดท้างต้องการรดพลังให้ได้ มากทีสุดหรอจะใช้สําหรับการแข่งขันแนะนําว่าให้เลือกเมนบอร์ดชิปเซต  X470 และ X370 ครับ เพราะเมนบอร์ดทังสองชิปเซตนีจะเปนเมนบอร์ด รุ่นท็อปทีเน้นเรองภาคจ่ายไฟบนเมนบอร์ดโดยเฉพาะ โดยเฉพาะคนที ต้องการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen 7 ทีเปนซีพียูแบบ 8 คอร์ 16 เธรด     แต่ถ้าใช้ซีพียูในระดับ Ryzen 5 ถ้าไม่จํากัดเรองงบประมาณก็ แนะนําว่าให้ไปเล่น X470 กับ X370 ด้วยเช่นกัน และพร้อมทีจะอัปเกรด ไปเปน Ryzen 7 ได้อย่างสบาย ๆ ส่วนคนทีต้องการโอเวอร์คล็อกแบบเบา  ๆ เน้นการทํางานอย่างมีเสถียรภาพ เมนบอร์ดชิปเซต B350 รวมถึง  B450 ทีกําลังจะออกมาในอนาคตก็เปนตัวเลือกทีน่าสนใจครับ แต่ก็ขอให้ เลือกเมนบอร์ดทีมีการติดตังชุดระบายความร้อนมาตรงบรเวณภาคจ่ายไฟ ด้วยนะครับจะช่วยเพิมเสถียรภาพในการโอเวอร์คล็อกได้ดีขึน    ส่วนเมนบอร์ดชิปเซต A320 นันโอเวอร์คล็อกไม่ได้นะครับ เหมาะสําหรับคนทีต้องการใช้งานแบบเดิม ๆ ครับ                - 22 -
  • 24.   AMD Ryzen Overclocking Guide ไบออสคืออะไร!!!  ใช้ซีพียูใหม่ทําไมต้องอัปเกรดไบออส    เอเอ็มดีได้ประกาศอย่างชัดเจนตังแต่ตอนเปดตัวซีพียู Ryzen  เจนฯ 1 แล้วว่าแพลตฟอร์มของซีพียู Ryzen ทีใช้ซ็อกเก็ต AM4 นีจะอยู่ ในตลาดไปอย่างน้อยเปนเวลาประมาณ 4 ป นันหมายความว่าในช่วง 4 ปนี  ถ้ามีซีพียูรุ่นใหม่ออกมาถ้าต้องการอัปเกรด ก็เปลียนเฉพาะตัวซีพียูอย่าง เดียว เมนบอร์ด แรม และอุปกรณ์อืน ๆ ไม่ต้องเปลียน    อย่างไรก็ตามเมือมีการเปดตัวซีพียูรุ่นใหม่ลงสู่ตลาด เมนบอร์ด รุ่นเดิมทีเราใช้งานอยู่ รวมไปถึงเมนบอร์ดทีออกมาก่อนหน้าซีพียูรุ่นนัน จําเปนต้องอัปเกรดไบออสก่อนถ้าต้องการใช้งานร่วมกับซีพียูรุ่นใหม่ เพือ ให้เมนบอร์ดของเรารู้จักกับคุณสมบัติในการทํางานของซีพียูรุ่นใหม่ เช่นใน     - 23 -
  • 25.   AMD Ryzen Overclocking Guide กรณีทีเอเอ็มดีเปดตัว Ryzen 5 2400G และ Ryzen 3 2200G  เมนบอร์ดทีออกมาก่อนหน้านันทังหมดจําเปนต้องได้รับการอัปเกรด ไบออส (BIOS) เพือให้เมนบอร์ดรู้จักกับซีพียูทังสองรุ่นนี เพือให้รู้ว่าซีพียูนี มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง เช่นเปนซีพียูทีมาพร้อมกับกราฟก ต้องมีตัวเลือก สําหรับการแบ่งแรมจากระบบมาใช้สําหรับการแสดงผลด้วย อะไรทํานองนี  หรอในกรณีอืน ๆ อย่างเช่นเมนบอร์ดบางรุ่นอาจจะไม่รองรับกับกับทํางาน ของหน่วยความจําหรอกราฟกการ์ดบางรุ่น ก็จําเปนต้องออกไบออสมา แก้ไขเพือให้ทํางานร่วมกันได้ อย่างนีเปนต้น ทีนีมาทําความรู้จักกับไบออส กันบ้างครับ    ภาพบนคือหน้าตาของไบออสแบบดังเดิมทีใช้กันมาตังแต่ยุคแรกเรมของพีซี    ไบออสเปนชือทีเรยกตัวย่อภาษาอังกฤษ “BIOS” ทีมาจากคําเต็ม ว่า Basic Input/Output System เปนซอฟต์แวร์ทีทํางานโดยตรงใน ระดับฮาร์ดแวร์ และทํางานร่วมกับระบบปฏิบัติการไม่ว่าจะเปนวนโดวส์  หรอลินุกซ์ หรอระบบปฏิบัติการอืน ๆ ก็จําเปนทีจะต้องเรยกใช้บรการของ ไบออสอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน นันทําให้เวลาเรากําหนดค่าการทํางานของ     - 24 -
  • 26.   AMD Ryzen Overclocking Guide ฮาร์ดแวร์ในไบออสแล้วทําให้มีผลเปลียนแปลงไปถึงการทํางานของ วนโดวส์และซอฟต์แวร์อืน ๆ ทีทํางานภายใต้วนโดวส์อีกด้วย  และไบออสคือสิงทีจะทํางานเปนอย่างแรกเมือเราเปดเครองให้ ทํางาน ไบออสจะทําการตรวจสอบฮาร์ดแวร์ทังหมดของระบบว่าปญหา หรอข้อขัดข้องอะไรหรอไม่ถ้าไม่มีก็จะทําการบูตเข้าสู่วนโดวส์หรอระบบ ปฏิบัติการอืน ๆ ทีเราติดตัง แต่ถ้ามีปญหาก็จะมีการรายงานออกมาในรูป แบบของเสียงทีเราเรยกกันว่า Beep Code, หรอเมนบอร์ดบางรุ่นก็จะมีไฟ  LED แจ้งว่าเกิดขัดข้องทีอุปกรณ์ใด เช่นแรม ซีพียู หรอกราฟกการ์ด หรอ เมนบอร์ดบางรุ่นก็จะแสดงเปนโค้ดตัวเลขฐาน 16 เพือแจ้งขันตอนการ ทํางานต่าง ๆ และถ้าแสดงค้างทีรหัสใดก็ต้องไปตรวจสอบดูว่ามีปญหามา จากทีใดบ้าง นีคือหน้าทีทัวไปของไบออสครับ     อินเทอร์เฟซของไบออสแบบใหม่ทีเรยกว่า UEFI        - 25 -
  • 27.   AMD Ryzen Overclocking Guide UEFI ของใหม่ทีมาแทน BIOS  อันทีจรงเมนบอร์ดรุ่นใหม่ในช่วงสามปทีผ่านมานีไม่ได้ใช้สิงที เรยกว่า BIOS แต่ใช้สิงทีเรยกว่า UEFI แต่เนืองจากความคุ้นชินเรายังคง เรยก UEFI ว่าเปนไบออสเหมือนเดิม หรอบางทีก็เรยกซ้อนกันไปเลยว่า เปน BIOS แบบ UEFI หรอ UEFI BIOS ก็มี   UEFI ย่อมาจากคําว่า Unified Extensible Firmware  Interface ดังนันถ้าจะให้เรยกแบบง่าย ๆ แต่ถูกต้องเราก็ควรเรยก UEFI  ว่า “เฟร์มแวร์ของเมนบอร์ด” แต่ก็ไม่ต้องไปซีเรยสอะไรมากครับ เรยก ไบออสเหมือนเดิมก็สะดวกดีเพราะหน้าทีหลัก ๆ ของ UEFI ก็ยังคงทํา หน้าทีเหมือนกับ BIOS ทุกประการ แต่จะมีคุณสมบัติการทํางานอืน ๆ ที เพิมเติมมากขึน รองรับฮาร์ดแวร์รุ่นใหม่ทีมีการทํางานซับซ้อนมากยิงขึน รวมทังมีอินเทอร์เฟซทีดูสวยงามมากกว่า ซึงในส่วนของอินเทอร์เฟซนี แหละทีทําให้การปรับแต่งการทํางานของ UEFI ง่ายกว่า BIOS มาก และ ยังสามารถแสดงข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบของกราฟกที เข้าใจได้ง่ายพร้อมด้วยคําอธิบายทีชัดเจนกว่าเดิม            - 26 -
  • 28.   AMD Ryzen Overclocking Guide มาตรฐานของแรม และความเข้าใจเรอง XMP  ตอนทีเอเอ็มดีเปดตัวซีพียู Ryzen เจนฯ 1 มีผู้ใช้จํานวนมากทีมี ปญหาในการตังค่าหน่วยความจําหรอแรมให้ได้ความเร็วตามสเปคของ แรม โดยเฉพาะแรมทีมีค่าโปรไฟล์พิเศษทีชือว่า XMP หลายคนยังคงจํา ภาพความวุ่นวายในช่วงแรกของซีพียู Ryzen 7 และ Ryzen 5 เจนฯ 1  ได้เปนอย่างดีในประเด็นของหน่วยความจําทีไม่สามารถเปดใช้ค่า XMP ได้  แต่ว่าตอนนีปญหาเหล่านันก็แทบจะหมดไปแล้ว และพอมี Ryzen เจนฯ 2  เปดตัวมาความวุ่นวายเรองแรมก็ไม่มีมาให้เห็นอีกเลย เพราะหลังจาก ปญหาในช่วง Ryzen เจนฯ 1 ทางเอเอ็มดีและผู้ผลิตเมนบอร์ดต่างก็ร่วม มือเพือปรับปรุงและทําไบออสรุ่นใหม่ ๆ ออกมาให้รองรับการทํางานของ หน่วยความจําทีมีค่า XMP ได้ง่ายขึน ส่วนทางผู้ผลิตหน่วยความจําเองก็ หลายยีห้อก็ได้ทําหน่วยความจําสําหรับแพลตฟอร์ม Ryzen ออกมาโดย เฉพาะก็มี        - 27 -
  • 29.   AMD Ryzen Overclocking Guide ว่ากันตรง ๆ การที Ryzen จะมีปญหากับแรมในการใช้ค่า XMP  ก็ไม่ใช่ปญหาอะไรนะครับ เพราะค่า XMP ทีอยู่ในหน่วยความจํานันไม่ได้ เปนค่ามาตรฐานอุตสาหกรรม แต่เปนมาตรฐานทีกําหนดโดย Intel และ เวลาจะเรยกชือให้ถูกต้องกันจรง ๆ ก็ต้องเรยกว่า Intel XMP ซึงย่อมา จาก Intel eXtreme Memory Profile ซึงค่า XMP นีเทียบง่าย ๆ ก็ คือการโอเวอร์คล็อกแรมมาจากโรงงานนันเอง โดยค่าเหล่านีถูกออกแบบ และปรับแต่งมาเพือใช้งานร่วมกับซีพียูและเมนบอร์ดของทางฝงอินเทล ดัง นันพอนํามาใช้กับซีพียูและเมนบอร์ดทางฝงเอเอ็มดีก็เลยเข้ากันไม่ได้ก็ เท่านันเอง  แต่ทีต้องมาโวยวายกันก็เพราะว่าก่อนหน้านีในสมัยทีเอเอ็มดียัง ใช้ซ็อกเก็ต AM3/AM3+ ก็สามารถนําแรมทีมีค่า XMP มาใช้งานได้โดย ไม่มีปญหาก็เลยทําให้ทุกคนเข้าใจว่าค่า XMP นีเปนมาตรฐานทัวไปของ แรม แต่ถ้าลองย้อนเวลากลับไปในช่วงที Intel เปดตัวมาตรฐาน XMP  ของตนในครังแรก ช่วงเวลานันซีพียูและเมนบอร์ดทางฝงเอเอ็มดีก็ไม่ สามารถเปดใช้ค่า XMP ได้เหมือนกัน แต่ก็ไม่ได้มีการโวยวายกันในระดับ โลกจนถึงขันตืนตระหนก (อาจจะเปนเพราะโซเชียลมีเดีย) และเปนทางฝงผู้ ผลิตเมนบอร์ดเองด้วยซําทีแข่งกันพัฒนา BIOS ของเมนบอร์ดฝงเอเอ็มดี ให้รองรับค่า XMP ทีอยู่ในแรมได้  ดังนันในกรณีทีแพลตฟอร์ม Ryzen ไม่สามารถทํางานร่วมกับ ค่า XMP ของแรมจึงไม่ใช่เรองใหญ่โตอะไรสําหรับเรา และค่าความเร็ว ของแรมทีเปนมาตรฐานอุตสาหกรรมจรง ๆ นันมีชือว่า JEDEC ซึงค่านีจะ มีระบุอยู่ในโมดูลหน่วยความจํา DDR ทุกรุ่น ซึงเราสามารถตรวจสอบค่า เหล่านีได้โดยการดูจากไบออสของเมนบอร์ด หรอถ้าจะให้สะดวกหน่อยก็ ใช้โปรแกรม CPU-Z ตรวจสอบ หรอโปรแกรมอืน ๆ เช่น HWiNFO หรอ  AIDA64 ก็ได้ อย่างไรก็ตามจนถึงตอนนีเมนบอร์ดหลายรุ่นหลายยีห้อที     - 28 -
  • 30.   AMD Ryzen Overclocking Guide รองรับซีพียู Ryzen ก็สามารถปรับแต่งไบออสเพือให้รองรับการทํางาน ร่วมกับค่า XMP ของแรมได้โดยอัตโนมัติ หรอถ้าไม่สามารถตังค่าได้โดย อัตโนมัติเมนบอร์ดก็จะไปอ่านค่า JEDEC ทีเปนมาตรฐานของหน่วยความ จํามาใช้ แต่ถ้าเราต้องการให้แรมทํางานตามค่า XMP เราก็สามารถตรวจดู ค่าต่าง ๆ โดยใช้ CPU-Z แล้วจดค่านันมาเซ็ตลงในไบออสด้วยตนเองได้ เช่นกัน              - 29 -
  • 31.   AMD Ryzen Overclocking Guide พืนฐานการโอเวอร์คล็อกซีพียู Ryzen  ข้อดีประการหนึงของซีพียู Ryzen ไม่ว่าจะเปนเจนฯ 1 หรอเจนฯ  2 ก็คือทุกรุ่นสามารถนํามาโอเวอร์คล็อกเพิมประสิทธิภาพการทํางานได้ ไม่ ว่าจะเปนซีพียูรุ่นใหญ่อย่าง Ryzen 7 หรอรุ่นเล็กสุดอย่าง Ryzen 3 แม้ กระทัง Ryzen 5 2400G และ Ryzen 3 2200G ซึงเปนซีพียูทีมีกราฟก  Vega อยู่ในตัวก็สามารถนํามาโอเวอร์คล็อกได้เช่นกัน แต่ว่าเมนบอร์ดจะ ใช้ในการโอเวอร์คล็อกได้นันต้องเปนเมนบอร์ดซ็อกเก็ต AM4 ทีใช้ชิปเซต  X470, X370 และ B350 เท่านัน ส่วนชิปเซต A320 นันไม่สามารถโอ เวอร์คล็อกซีพียูได้ แต่ก็สามารถโอเวอร์คล็อกหน่วยความจําได้ ซึงเราจะ พูดถึงเรองนีกันทีหลัง ตอนนีไปดูสิงทีเราควรรู้ก่อนจะทําการโอเวอร์คล็อก ซีพียู Ryzen กันครับ    การโอเวอร์คล็อกซีพียูคืออะไร  การโอเวอร์คล็อกซีพียู (Overclock) คืออะไร ง่าย ๆ และสัน ๆ  ก็คือการทําให้ความเร็วของซีพียูเพิมสูงกว่าความเร็วมาตรฐานทีมาจากผู้ ผลิต เช่นซีพียูจากโรงงานมีความเร็ว 3.0GHz เราก็ทําการเร่งความเร็ว ด้วยการปรับแต่งค่าต่าง ๆ เพือให้มีความเร็วเพิมขึนเปน 3.5GHz อย่างนี  เปนตัน ค่าความเร็วที 3.0GHz หรอที 3.5GHz นีเราจะเรยกว่าเปน CPU  Clock Speed หรอ CPU Frequency     ความเร็วของซีพียูมาจากไหน  ความเร็วของซีพียูในทีนีเราจะหมายถึง CPU  Frequceny/CPU Clock Speed ความเร็วของซีพียูนีจะถูกสร้างมาจาก สองส่วนด้วยกันคือ Base Clock (BCLK) ทีถูกสร้างโดย Clock      - 30 -
  • 32.   AMD Ryzen Overclocking Guide Generator หรอวงจรกําเนิดสัญญาณนา ิกา กับ Clock Multiple ซึง เปนวงจรเพิมสัญญาณนา ิกาทีอยู่ในตัวซีพียู (เปนการเพิมสัญญาณ นา ิกาด้วยเทคนิคการคูณ, ใช้วงจรทวความถี)      Base Clock (BCLK) คืออะไร: ในซีพียูทุกระบบไม่ว่าจะเปนรุ่น เล็กหรอรุ่นใหญ่แค่ไหนหนึงในองค์ประกอบทีสําคัญทีทําให้ซีพียูสามารถ ทํางานได้ก็คือสัญญาณนา ิกา หน้าทีหลักของสัญญาณนา ิกาก็คือเปน ส่วนทีจะนําไปใช้อ้างอิงเพือกําหนดจังหวะการทํางานของระบบในวงจร ดิจิทัลให้ทําได้ประสานกัน หรอทํางานร่วมกันได้ (ซีพียู เมนบอร์ด แรม  กราฟกการ์ด ไดร์ฟต่าง ๆ อุปกรณ์เหล่านีพืนฐานถือว่าเปนวงจรดิจิทัล ทังหมด) สําหรับพีซีโดยทัวไปตัวกําเนิดสัญญาณนา ิกาจะมีอยู่บน เมนบอร์ดและจะมีตัวกําเนิดสัญญาณเพียงทีเดียวเราเรยกว่า Base Clock  (BCLK) ในปจจุบัน BCLK นีจะมีความเร็วที 100MHz (Base Clock  ตรงนีกับ Base Clock ของซีพียูคนละส่วนกันนะครับอย่าเพิงสับสน) ตาม ปกติแล้วเมนบอร์ดทัวไปจะไม่สามารถปรับค่า BCLK ได้ หรอถ้าปรับได้ก็     - 31 -
  • 33.   AMD Ryzen Overclocking Guide อาจจะปรับได้เพียงเล็กน้อย แต่ถ้าเปนเมนบอร์ดทีออกแบบมาเพือการโอ เวอร์คล็อกโดยเฉพาะบางรุ่นก็สามารถปรับค่า BCLK ได้มากกว่า ทีเปน เช่นนีก็เพราะว่าการปรับ BCLK นันจะส่งผลกระทบต่อฮาร์ดแวร์ส่วนอืน ๆ  ด้วย เนืองจาก BCLK นันถูกใช้เปนสัญญาณนา ิกาอ้างอิงสําหรับส่วนอืน  ๆ บนเมนบอร์ด้วยครับ แต่ก็มีเมนบอร์ดบางรุ่นเหมือนกันทีมีสัญญาณ  BLCK ออกมาสองชุด ชุดแรกใช้สําหรับฮาร์ดแวร์ส่วนอืนทีอยู่บน เมนบอร์ดไม่สามารถปรับแต่งได้ และมีอีกหนึงชุดสําหรับใช้กับซีพียู โดยตรงสามารถปรับเปลียนได้จากหน้าจอใน BIOS    Clock Multipile คืออะไร: บางครังเราอาจจะเจอคําเรยกอืน  ๆ ว่าเปน CPU Multipile, CPU Ratio ก็ให้เข้าใจว่ามันคือ Clock  Multipile (ตัวคูณ) ทีทําหน้าทีเพิมความเร็ว BLCK จาก 100MHz ให้ เพิมขึนด้วยการคูณ เพือส่งต่อให้กับส่วนการทํางานต่าง ๆ ภายในซีพียู เช่น ซีพียูความเร็ว 3.0GHz ก็ได้จาก BLCK 100MHz คูณด้วย 30  (100x30) ก็จะเท่ากับ 3000MHz หรอ 3.0GHz นันเอง และเวลาเราจะ โอเวอร์คล็อกให้ความเร็วเพิมขึน เราก็จะมาปรับค่าของตัวคูณให้เพิมขึน เพือทําให้ CPU Clock ทีได้ออกมามีความเร็วเพิมขึนนันเอง            - 32 -
  • 34.   AMD Ryzen Overclocking Guide ความเร็วของซีพียู Ryzen (Base Clock/Boost Clock)    ตอนนีเราได้ทราบกันแล้วว่าความเร็วของซีพียูนันมีทีมาทีไปเปน อย่างไร คราวนีเรามาลองดูค่าความเร็วของซีพียู Ryzen กันสักหน่อยครับ  ในตัวอย่างนีเรานําสเปคแบบคร่าว ๆ ของซีพียู Ryzen 7 2700X มาให้ดู  ตัวเลขทีบ่งบอกความเร็วของซีพียูรุ่นนีจะมีอยู่สองจํานวนด้วยกันคือ Max  Boost Clock 4.3GHz และ Base Clock 3.7GHz แล้วแบบนีความเร็ว จรง ๆ ของซีพียูรุ่นนีอยู่ทีเท่าไรกันแน่  ความเร็วของซีพียู Ryzen และซีพียูในยุคปจจุบัน มักจะถูกแจ้ง มาเปนสองค่าแบบนีตลอดครับโดย Base Clock (คนละส่วนกับ Base  Clock, BLCK) ในทีนีหมายถึงความเร็วมาตรฐานทัวไปของซีพียูในขณะ ทํางาน อยู่ที 3.7GHz และ Max Boost Clock 4.3GHz หมายถึง ความเร็วสูงสุดทีสามารถถูกปรับขึนเองได้โดยอัตโนมัติโดยอยู่ภายใต้ เงือนไขของค่าความร้อนและค่าการใช้พลังงานของตัวซีพียู            - 33 -
  • 35.   AMD Ryzen Overclocking Guide ตารางเปรยบเทียบคุณสมบัติซีพียู Ryzen   ข้อมูลเปรยบเทียบสเปคซีพียู Ryzen เจนฯ 1 และ เจนฯ 2  ทังหมดทีวางตลาดแล้ว Ryzen 1000 Series หมายถึงเจนฯ 1, Ryzen  2000 Series หมายถึงเจนฯ 2, Ryzen 2000G หมายถึงซีพียูทีมาพร้อม กับกราฟก Vega ในตัว                - 34 -
  • 36.   AMD Ryzen Overclocking Guide โอเวอร์คล็อกซีพียูทําไมต้องเพิมไฟ    ถ้าใครเคยอ่านบทความเกียวกับการโอเวอร์คล็อกซีพียูมาบ้าง ก็ จะพบกับคําแนะนําทีว่าถ้าต้องการเพิมความเร็วของซีพียูให้มากขึนก็ต้อง เพิมไฟ แล้วเพิมไฟทีว่าคือไฟอะไร แล้วเพิมไฟทําไม บทความนีเราจะพา คุณผู้อ่านไปรู้จักกับเหตุผลทีแท้จรงของการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียู เมือต้องการโอเวอร์คล็อก  การโอเวอร์คล็อกซีพียูคือการเร่งความเร็วของสัญญาณนา ิกา ของซีพียูให้มีจํานวนรอบการทํางานต่อวนาทีให้เพิมขึน เช่นจากความเร็ว  3.5GHz ไปเปน 4.0GHz และเมือมีการโอเวอร์คล็อกซีพียูให้มีความเร็ว เพิมเติมสิงทีตามมาก็คือการใช้พลังงานมากขึน ซึงหนึงในการชดเชยการ ใช้พลังงานเหล่านันก็คือการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียู (และจะมีการเพิม กระแสไฟฟาให้กับซีพียูด้วยโดยอัตโนมัติ) และนันคือสิงทีพวกเราทุกคนรู้ มาเหมือน ๆ กัน แต่ภายใต้การเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียูนียังมีเรองราว อืน ๆ ทีซ่อนอยู่ เราจะไปดูกันว่าทีมาของเรองนีเปนอย่างไร          - 35 -
  • 37.   AMD Ryzen Overclocking Guide ทําความรู้จัก CPU Core Voltage และค่า Transient response  คําว่าเพิมไฟให้ซีพียูในทีนีหมายถึงการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับ ซีพียู ถ้าดูจากโปรแกรม CPU-Z ตรงนีจะเรยกว่า Core Voltage หรอถ้า ไปดูในหน้าจอไบออสของเมนบอร์ดอาจจะพบเห็นคําอืน ๆ เช่น CPU  Core Voltage หรอ CPU VCore      ส่วนเหตุผลทีทําให้เราต้องเพิมแรงดันไฟฟาของ Core Voltage  ก็มีอยู่หลายเหตุผลด้วยกัน ไม่ว่าจะเปนการเพิมเพือช่วยให้รักษาระดับแรง ดันไฟฟาทีซีพียูต้องการมีเพียงพออยู่ตลอดเวลา และอีกส่วนหนึงก็คือเพือ ชดเชยค่า Transient response ซึงเปนระยะเวลาในการเปลียนแปลง ของแรงดันไฟฟาจากจุดหนึงไปจุดหนึง ในทางอุดมคติเวลาทีใช้ตรงนีคือ ศูนย์หรอไม่เสียเวลาเลย แต่ความจรงไม่ได้เปนเช่นนัน แม้ไฟฟาจะเดินทาง     - 36 -
  • 38.   AMD Ryzen Overclocking Guide ได้เร็วเทียบเท่าแสงเมือต้องเดินทางจากจุดหนึงไปจุดหนึงยังไงก็ต้องใช้ เวลาจะมากหรอน้อยก็คือเวลา ลองดูตัวอย่างภาพต่อไปนี    ด้านบนเปนภาพตัวอย่างของ Transient response ในวงจร ไฟฟา ยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การเปลียนแปลงแรงดันไฟฟาจาก 1.0V ไป  1.2V จะมีการใช้เวลา 30ns ตรงนีเรยกว่าค่า Transient response ซึง จรง ๆ มันน้อยมากเมือเทียบกับมุมมองของมนุษย์ เพราะมันคือ 30 ส่วนใน  1 ล้านส่วนของวนาที เท่านัน แต่ถ้าเปนมุมมองของคอมพิวเตอร์ทีการ ประมวลผลเกิดขึนในทุกเศษเสียววนาที ระยะเวลา 30ns ทีเคยเพียงพอต่อ การเปลียนแปลงจากค่าแรงดันไฟฟาจากค่าหนึงไปยังอีกค่าหนึงตอนนีก็ไม่ เพียงพอแล้วเพราะเราไปเร่งวงรอบการทํางานให้เร็วขึน ทําให้ระบบของเรา ล่มซึงอาจจะแสดงออกมาให้เราเห็นเปนหน้าจอบูลสกรนบ้าง หน้าจอค้าง บ้าง หรอรสตาร์ทบ้าง พอมาถึงตรงนีหลายคนอาจจะงงว่าแล้วแค่ช่วงเวลา การเปลียนแปลงทางไฟฟามันส่งผลต่อการทํางานของซีพียูขนาดนันเลย หรอ      - 37 -
  • 39.   AMD Ryzen Overclocking Guide มาขยายความกันต่อครับ เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการทํางานของ คอมพิวเตอร์นันข้อมูลทีซับซ้อนทังหลายแท้จรงแล้วจะมีเพียงค่า Logic  “0” หรอ Logic “1” เท่านัน แต่ว่าค่า “0” กับ “1” จะถูกผูกไว้กับค่าแรง ดันอ้างอิงโดยเฉพาะค่า “1” อาจจะถูกกําหนดค่าแรงดันไว้ที 1.2V ให้ ตีความเปน “1” ถ้าตํากว่านีให้ตีค่าเปน “0” ดังนันเมือการเปลียนแปลง ค่าแรงดันไฟฟาไม่ถูกตรงหรอไม่ตรงจังหวะกับการติดสินใจด้านข้อมูลก็ ทําให้ระบบล่มหรอแสดงออกอย่างทีได้กล่าวไปในตอนต้น  เมือเปนอย่างนีการเพิมแรงดันไฟฟาขึนมาอีกเล็กน้อยเช่นจากก็ เหมือนกับเรายกฐานของแรงดันขึนมาไว้ก่อนแล้วและเมือต้องการไฟใน ระดับทีต้องการก็จะเปนการเพิมขึนมาอีกเพียงเล็กน้อยซึงจะใช้เวลาหรอใช้ ค่า Transient response ทีน้อยลงด้วยนันเอง อันนีอธิบายแบบให้เข้าใจ ง่าย ๆ นะครับ ของจรงมันซับซ้อนกว่านี เพราะซีพียูในยุคปจจุบันจะมีการ ปรับใช้แรงดันขึนลงอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้ว ไม่ได้ใช้ค่าคงทีค่าใดค่าหนึง  อ่านมาถึงตรงนีหลายคนคงพอจะเข้าใจแล้วหล่ะว่าการเพิมแรง ดันไฟฟาให้กับซีพียูนันมันจะช่วยลดค่า Transient response แล้วทีนี พอเพิมแล้วมันจะทําให้ระยะเวลาในการลดลงของแรงดันไฟฟานันต้องใช้ มากขึนด้วยหรอเปล่า แล้วแบบนีเพิมไฟจะมีประโยชน์อะไร อย่างนันต้อง ลองดูอีกหนึงภาพตัวอย่างครับ        - 38 -
  • 40.   AMD Ryzen Overclocking Guide   ถ้าลองสังเกตดูดี ๆ (กราฟเส้นแดง วงกลาง) ช่วงการลดลงของ แรงนันนันจะใช้เวลาค่อนข้างน้อยจะเห็นได้ว่าช่วงของการลดจะค่อนข้าง หักมุมลงมาเลย ในขณะทีช่วงขาขึนทีใกล้กับจุดสูงสุดของสัญญาณจะมี การโค้งงอแสดงถึงการใช้เวลาทีมากกว่า (ภาพในวงซ้ายสุด)  ลองมาดูอีกภาพ (วงด้านขวา) เปนภาพจากดิจิทัลออสซิลโลสโคป ทีใช้จับสัญญาณดิจิทัลทีมีความเร็ว 250,000Hz หรอ 250KHz ก็จะเห็น ชัดว่าช่วงขาขึนของสัญญาณก่อนจะถึงจุดสูงสุดจะมีความโค้ง ในขณะที ช่วงขอบขาลงของสัญญาณจะตกลงมาเร็วมาก ตามทีอธิบายไปแล้วว่า ซีพียูส่วนใหญ่จะตีค่าทีตํากว่าแรงดันทีกําหนดว่าเปน “0” ทําให้การ เปลียนแปลงในขาลงของสัญญาณจึงไม่เปนปญหา  นอกจากนีแล้วค่าของ Transient response จะมีการ เปลียนแปลงไปอีกเมืออุณหภูมิของตัวซีพียูเพิมขึนหรอลง ถ้าอุณหภูมิเพิม ค่า Transient response จะเพิมขึนด้วย และนันก็อีกหนึงเหตุผลด้วยว่า เมือเราโอเวอร์คล็อกแล้วทําไมต้องมีอุปกรณ์ระบายความร้อนทีดีตามไป ด้วย      - 39 -
  • 41.   AMD Ryzen Overclocking Guide อย่างไรก็ตามการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียูนัน ก็ต้องทําอย่าง ระมัดระวังเราไม่ควรจะเพิมแรงดันไฟฟาครังละมาก ๆ ในคราวเดียว ควร จะปรับเพิมขึนครังละ +0.1 โวลท์ หรอ +0.2 โวลท์ ก็เพียงพอ แล้วค่อย ๆ  ทดสอบดู เพราะบางครังการเพิมแรงดันไฟฟาในส่วนของ CPU เพียงเล็ก น้อยก็ช่วยให้ระบบทํางานมีเสถียรภาพแล้ว ไม่จําเปนต้องเพิมให้สูงจนเกิน ความต้องการเพราะทีเหลือมันจะกลายเปนความร้อนให้กับซีพียูไปแทน ครับ  ซีพียูแต่ละตัวก็จะมีการตอบสนองต่อการเพิมค่านีไม่เท่ากัน ซีพียู บางตัวโอเวอร์คล็อกไปโดยไม่ต้องเพิมแรงดันไฟฟาก็สามารถทํางานได้ดี  ในขณะทีตัวอืน ๆ จําเปนต้องเพิมแรงดันไฟฟา เราสามารถใช้ข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ตเปนแนวทางได้ว่าคนทีเคยลองโอเวอร์คล็อกเขาปรับแรงดัน ไฟฟาของซีพียูไปทีเท่าไรบ้าง และอีกประการหนึงก็ต้องดูด้วยว่าเขาโอเวอร์ คล็อกแล้วใช้ชุดระบายความร้อนแบบไหน ฮีตซิงค์ธรรมดา ฮีตซิงค์รุ่น พิเศษ หรอใช้ชุดระบายความร้อนด้วยนําก็ต้องดูด้วย ไม่ใช่เห็นเขาเพิมเรา เพิมบ้างโดยทีไม่ได้ดูเรองอุปกรณ์ระบายความร้อนงานนีก็อาจจะสร้าง ความเสียหายให้กับซีพียูหรอเมนบอร์ดได้เช่นกัน แม้ว่าในปจจุบันซีพียูและ เมนบอร์ดจะมีระบบปองกันตัวเองอยู่แล้วก็ตาม แต่เราก็ไม่ควรประมาท    แรงดันไฟฟาทีให้ซีพียูมากจากไหน แล้วทําไมปรับได้  เชือหรอไม่ว่าหนึงในสิงทีใช้บอกถึงคุณภาพของเมนบอร์ดก็คือ ภาคจ่ายไฟ (Voltage regulator) บนเมนบอร์ดทีวางอยู่รอบ ๆ ซ็อกเก็ต ของซีพียูนันเอง ถ้าภาคจ่ายไฟทํางานดีจ่ายไฟได้เทียงตรงแม่นยําและเพียง พอระบบทีเราใช้งานก็จะมีเสถียรภาพในการทํางานตามไปด้วย และยิงซีพียู ยุคใหม่ทีมีการปรับเปลียนความเร็วในการทํางานโดยอัตโนมัติอยู่ตลอด     - 40 -
  • 42.   AMD Ryzen Overclocking Guide เวลาหากภาคจ่ายไฟนีทํางานไม่เทียงตรงแม่นยําก็จะทําให้การทํางาน ทังหมดของซีพียูล้มเหลวได้      สมัยก่อนเมือนานและนานมาแล้วภาคจ่ายไฟบนเมนบอร์ดก็จะ เปนเพียงวงจรภาคจ่ายไฟแบบสวตชิงทีมีพืนฐานการทํางานแบบบ้าน ๆ  และมีแรงดันไฟฟาเพียงระดับเดียวเท่านันอาจจะเปน 5V หรอ 3.3V ก็แล้ว แต่ว่าซีพียูจะต้องการแรงดันไฟฟาทีเท่าไร ไม่สามารถปรับได้เหมือนสมัยนี  แต่ในช่วงประมาณป ค.ศ 2000 ในคอมพิวเตอร์เรมทีจะมีระบบจัดการ บรหารพลังงานมาใช้เพือลดการใช้พลังงานและลดความร้อนในการทํางาน  รวมไปถึงซีพียูของอินเทลก็เรมนําเทคโนโลยี Speed Step มาใช้ ทีทําให้ ซีพียูสามารถปรับความเร็วในการทํางานตามภาระของงาน หรอตามโหมด การใช้พลังงานได้ ทําให้ซีพียูมีความต้องการแรงดันไฟฟาทีหลากหลายขึน  ภาคจ่ายไฟโง่ ๆ ก็ต้องมีการปรับเปลียนใหม่เปนภาคจ่ายไฟทีสามารถ     - 41 -
  • 43.   AMD Ryzen Overclocking Guide สือสารกับฮาร์ดแวร์อืน ๆ ได้ โดยมีการเพิมส่วนควบคุมการทํางานของ ภาคจ่ายไฟเพิมเข้าไป จากเดิมทีเคยใช้ชิปควคุมการทํางาน DC-DC  Controller หรอ PWM Controller แบบธรรมดาทัวไปก็ต้องเปลียนมา เปน Digital DC-DC Controller แทน เพราะตัวควบคุมแบบดิจิทัลนี สามารถสือสารกับซีพียูและฮาร์ดแวร์อืน ๆ เพือปรับค่าแรงดันไฟฟาได้ตาม ทีซีพียูหรอฮาร์ดแวร์อืน ๆ ต้องการได้อย่างแม่นยํา    และทีลําขึนไปอีกก็คือซีพียูรุ่นใหม่ ๆ อย่าง Ryzen ของ AMD  (รวมถึงซีพียูของทางอินเทลด้วย) สามารถปรับใช้แรงดันไฟของซีพียูให้มี ความแตกต่างกันได้ในแต่ละคอร์เลยทีเดียว ลองดูภาพจากโปรแกรม  HWmonitor จะเห็นได้ว่าซีพียู Ryzen 7 1700 ทีเปนซีพียู 8 คอร์ จะมี ค่า VID (แรงดันไฟฟาของซีพียูแต่ละคอร์) ทีแตกต่างกันไป แต่ว่า VDD      - 42 -
  • 44.   AMD Ryzen Overclocking Guide ซึงเปนแรงดันหลักจะต้องมีค่าสูงกว่าแรงดัน VID ของคอร์ทีต้องการ สูงสุด ในภาพตัวอย่างคอร์ #0 (ในช่วงเวลาปจจุบัน) ต้องการ VID ที  1.394V ค่า VDD ทีซีพียูต้องรับเข้ามาก็คือ 1.400V และถ้าเรามาดูใน ช่อง Max ซึงเปนช่วงเวลาทีซีพียูแต่ละคอร์เคยต้องการแรงดันไฟฟา VID  สูงถึง 1.400V ครบทุกคอร์ VDD ทีเข้ามาก็ต้องมีเกินไว้เล็กน้อยที  1.406V และในช่วงค่า Mix ทีซีพียูทุกคอร์ต้องการ VID เพียงแค่  1.106V ค่า VDD ทีเราเข้ามาก็ต้องการเพียง 1.112V เท่านัน  อย่างไรก็ตามการเพิมแรงดันไฟฟาให้กับซีพียูนัน ก็ต้องทําอย่าง ระมัดระวังเราไม่ควรจะเพิมแรงดันไฟฟาครังละมาก ๆ ในคราวเดียว ควร จะปรับเพิมขึนครังละ +0.1 โวลท์ หรอ +0.2 โวลท์ ก็เพียงพอ แล้วค่อย ๆ  ทดสอบดู เพราะบางครังการเพิมแรงดันไฟฟาในส่วนของซีพียูเพียงเล็ก น้อยก็ช่วยให้ระบบทํางานมีเสถียรภาพแล้ว ไม่จําเปนต้องเพิมให้สูงจนเกิน ความต้องการเพราะทีเหลือมันจะกลายเปนความร้อนให้กับซีพียูไปแทน ครับ  ซีพียูแต่ละตัวก็จะมีการตอบสนองต่อการเพิมค่านีไม่เท่ากัน ซีพียู บางตัวโอเวอร์คล็อกไปโดยไม่ต้องเพิมแรงดันไฟฟาก็สามารถทํางานได้ดี  ในขณะทีตัวอืน ๆ จําเปนต้องเพิมแรงดันไฟฟา เราสามารถใช้ข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ตเปนแนวทางได้ว่าคนทีเคยลองโอเวอร์คล็อกเขาปรับแรงดัน ไฟฟาของซีพียูไปทีเท่าไรบ้าง และอีกประการหนึงก็ต้องดูด้วยว่าเขาโอเวอร์ คล็อกแล้วใช้ชุดระบายความร้อนแบบไหน ฮีตซิงค์ธรรมดา ฮีตซิงค์รุ่น พิเศษ หรอใช้ชุดระบายความร้อนด้วยนําก็ต้องดูด้วย ไม่ใช่เห็นเขาเพิมเรา เพิมบ้างโดยทีไม่ได้ดูเรองอุปกรณ์ระบายความร้อนงานนีก็อาจจะสร้าง ความเสียหายให้กับซีพียูหรอเมนบอร์ดได้เช่นกัน แม้ว่าในปจจุบันซีพียูและ เมนบอร์ดจะมีระบบปองกันตัวเองอยู่แล้วก็ตาม แต่เราก็ไม่ควรประมาท        - 43 -
  • 45.   AMD Ryzen Overclocking Guide แล้วจะรู้ได้ไงว่าซีพียูตัวไหนต้องการแรงด้นไฟฟาแค่ไหน และดู อย่างไรว่ามากไปแล้ว  วธีการตรวจสอบแบบบ้าน ๆ และง่ายทีสุดเลยก็คือตรวจสอบจาก ไบออสนีแหละครับ ในกรณีทีเพิงประกอบพีซีเสร็จหรอถ้าใช้งานอยู่แล้วก็ ให้เข้าไปทีไบออส จากนันก็มองหาปุมเรยกคืนค่า default ของเมนบอร์ด  ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมนู Exit ของไปออส อาจจะแสดงข้อความเปน Load  default หรออืน ๆ ซึงตรงนีจะเปนการคืนค่าการปรับแต่งต่าง ๆ ของ ระบบทังหมดไม่ว่าจะเปนซีพียู หน่วยความจํา และส่วนอืน ๆ   จากนันก็ให้เรามาตรวจสอบในส่วนของการปรับแต่งซีพียูให้มาดู ทีค่าของ CPU Voltage หรอ CPU Core Voltage ก็จะแสดงค่าปกติที เหมาะสมของซีพียูรุ่นนัน ๆ ให้เราได้เห็น อย่างไรก็ตามค่าเหล่านีอาจจะไม่ ได้แสดงเปนค่าคงทีอาจจะมีการปรับเปลียนขึนลงไปตามการทํางานของ ซีพียูได้  อย่างไรก็ตามถ้าเมนบอร์ดทีเราใช้และซีพียูทีเราใช้เปนรุ่นที สามารถโอเวอร์คล็อกได้ ก็ให้เราลองตังค่าแรงดันไฟฟาในส่วนของ CPU  Core Voltage ดูเล่น ๆ ได้ แต่ยังไม่ต้องบันทึก เช่นถ้าแสดงเปน 1.2V  เราก็ลองเพิมไปเปน 1.3V 1.4V ไปเรอย ๆ เมนบอร์ดบางรุ่นอาจจะให้ พิมพ์ค่าแรงดันไฟฟาเข้าไปได้โดยตรง เมนบอร์ดบางรุ่นก็จะให้กดปุม +/-  เพือเพิมหรอลดได้ตามต้องการ ซึงปกติแล้วถ้าเราเพิมส่วนนีไปมาก ๆ  ตัวเลขก็อาจจะมีการเปลียนแปลงเปนสีอืน ๆ นอกเหนือจากปกติซึงแสดง ถึงระดับอันตราย ตัวอย่างนีเราใช้เมนบอร์ด ASUS X370-F Strix ลอง ปรับแรงดันไฟฟาให้กับซีพียู Ryzen 7 1700      - 44 -