SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
ปัจจุบันการเดินขบวนเพื่อประท้วงเพื่อสิทธิหรือเรียกร้องสิ่งที่ต้องการ มีให้เราพบเห็นมากมาย ทา ให้ผู้จัดทา เกิด 
ความสงสัยว่า การเดินขบวนนั้นสามารถแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ และการแก้ปัญหานี้สามารถหาข้อสรุปได้จริงๆ 
หรือไม่ 
ในการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้เรื่องนี้ ผู้จัดทา พบว่าเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน 
ในสังคมไทยพบว่า มีปัญหาทางด้านการเมือง การเกิดการประท้วงเดินขบวนต่อต้านเผด็จการ ต่อต้านรัฐบาล 
ต่อต้านระบอบทักษิณ การเดินขบวนเพื่อนเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ตนเองและส่วนรวม ซึ่งเกิดจากการได้และ 
เสียผลประโยชน์ที่ไม่เท่ากันกับอีกฝ่ายหนึ่ง ทา ให้เกิดการกระทบกระทั้งกันอย่างรุนแรง จึงทา ให้เรื่องเกิดบาน 
ปลาย ทา ให้มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ทางด้านสังคม แบ่งเป็นเสื้อเหลืองเสื้อแดง เกิดความแตกแยกในสังคมไทย ดัง 
ข่าวที่เราได้พบเห็นตามหน้าหนังสือพิมพ์ จึงทา ให้คิดว่าการนา ประเด็นการเดินขบวนมาวิเคราะห์ น่าจะสามารถร้ถูึง 
ปัญหาและการจบปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยได้การตั้งคา ถามนั้นสามารถตั้งคา ถามได้หลากหลาย ตัวอย่างเช่น การ 
เดินขบวนสามารถแก้ไขปัญหาได้หรือไม่ , การเดินขบวนเกิดผลดีผลเสียอย่างไร, การเดินขับไล่ของเสื้อเหลืองเสื้อ 
แดง กับ พ.ร.บ. นิรโทษกรรมสิ่งใดร้ายแรงกว่ากัน เป็นต้น แต่ปัญหาที่เราต้องการศึกษาคือปัญหาที่ว่า “การ 
เดินขบวนสามารถแก้ไขปัญหาได้จริงหรือไม่” โดยเหตุที่ตัดสินใจเลือกปัญหานี้เพราะ มีเหตุผลที่ว่า ในปัจจุบันมี 
การแยกฝั่งเลือกฝ่าย ทา ให้เกิดปัญหาหลายปัญหาขึ้นในสังคม ทา ให้บุคคลภายในประเทศเกิดความเดือดร้อน จึง 
ทา ให้อยากทราบว่าต้องเดินขบวนบ่อยแค่ไหน ปัญหานี้จึงจะคลี่คลายไปได้
1.เพื่อศึกษาและค้นคว้าปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเดินขบวนว่าสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่ 
2.เพื่อศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่สนใจในการเดินขบวนประท้วง 
3.เพื่อให้เข้าใจซึ่งปัญหาและบทสรุปของการค้นคว้าเกี่ยวกับการเดินขบวนประท้วง
- การเดินขบวน (อังกฤษ: demonstration) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเคล่อืนไหวโดยปราศจากความรุนแรง 
(nonviolent) ของกล่มุบุคคลเพื่อประโยชน์ทางการเมืองหรืออื่น ๆ ซ่งึปรกติมักมีการเดินรณรงค์เป็นขบวน และมีการ 
ชุมนุมพูดจาปราศรัย และบางทีก็อาจมีการปิดล้อม (blockade) และการยึดพื้นที่ประท้วง (sit-in) ด้วย ซ่งึการ 
เดินขบวนจัดเป็นกิจกรรมหนึ่งในลัทธิกิจกรรมนิยม (activism) อันเป็นความนิยมกระทา กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุ 
ความม่งุหมายทางการเมืองของกลุ่มตน 
การเดินขบวนอาจมีขึ้นเพื่อแสดงมุมมองเกี่ยวกับประเด็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นมุมมองด้านบวกก็ดี ด้านลบก็ดี และประเด็น 
เช่นว่ามักเกี่ยวกับการร้องทุกข์หรือความอยุติธรรมทางสังคม แต่บางครั้งก็เกี่ยวกับเศรษฐกิจ โดยผู้เดินขบวนมักเห็นว่า 
กิจกรรมของตนจะประสบความสา เร็จย่งิขึ้นถ้ามีผู้ร่วมกิจกรรมมากขึ้น 
มีการเดินขบวนหลายรูปแบบ แล้วแต่จะจาแนก อาทิ 
การเดินแถว (march) ของกลุ่มบุคคลจากสถานที่หนึ่งไปสถานที่หนึ่ง 
การรณรงค์(rally) โดยอาจมกีารพูดจาปราศัย ปาฐกถา หรือร้องรา ทา เพลง 
การถือป้ายประท้วง (picketing) โดยผู้เดินขบวนจะแห่ล้อมสถานที่หนึ่ง ๆ ไว้ขณะชูป้ายด้วย 
การยึดพื้นที่ประท้วง (sit-in) โดยผู้เดินขบวนจะยึดท้องที่หนึ่ง ๆ บางทีก็เป็นระยะเวลาตามที่ระบุไว้แล้ว หรือบางทีก็ไม่มี 
กา หนดเวลาจนกว่าผู้เดินขบวนจะรู้สึกว่าประเด็นในการเดินขบวนของตนได้รับความสนใจอย่างเพียงพอแล้ว หรอืจนกว่าพวก 
เขาจะถูกชักจูงหรือบังคับให้พ้นไปจากท้องที่นั้น 
การเดินขบวนบางคราเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และบางคราก็เป็นการเคลื่อนไหวที่วางแผนหรือชั้นเชิงไว้เรียบร้อยแล้ว 
โดยปรกติมักเกิดขึ้นในที่สาธารณะ แต่การเดินขบวนในที่เอกชนก็อาจเป็นไปได้ เช่น
เพื่อจูงใจบุคคลกลุ่มเล็ก ๆ นอกจากนี้ การเดินขบวนมักเป็นการกระทา ทางกายภาพ แต่การเดินขบวนเสมือนจริงและ 
การเดินขบวนออนไลน์ก็มีได้ดุจกัน 
- การชุมนุมสาธารณะและการเดินขบวนถือเป็นวิธีการสา คัญอย่างหนึ่งในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อ 
รัฐบาลของตน เสรีภาพในการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนเป็นเสรีภาพที่พัฒนาต่อยอดเสรีภาพในการแสดงความ 
คิดเห็น จากการแสดงความคิดเห็นโดยบุคคลแต่ละคน (individual) มาสู่การแสดงความคิดเห็นแบบกลุ่ม 
(collective) ในแง่นี้ การชุมนุมและการเดินขบวนจึงถือเป็นวิวัฒนาการสา คัญของวิธีการแสดงความคิดเห็นของ 
พลเมือง รัฐบาลของประเทศที่เป็นประชาธิปไตยจึงไม่อาจลิดรอนจา กัดเสรีภาพในการชุมนุมประท้วงหรือเดินขบวน 
เรียกร้องของประชาชนโดยอาศัยเหตุผลใด ๆ ที่นอกเหนือจากเหตุผลอันชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อ 
มิให้เป็นการทา ลายพื้นที่ที่ประชาชนจะใช้เป็นเวทีสะท้อนความทุกข์ร้อนและความต้องการของตนไปยังรัฐบาลและ 
สังคมโดยตรง 
จากความหมายของการเดินขบวนข้างต้นพบว่าการเดินขบวนนั้นกล่าวคือ เป็นการเดินที่เรียกร้องความ 
ยุติธรรมให้แก่ตนเองแสดงถึงความคิดเห็นของผู้เดินขบวนที่มีอยู่โดยเกิดมาจากความเห็นของคนทั่วไปที่มีความเห็น 
เหมือนกัน คล้ายกัน แล้วเกิดมารวมกัน เพื่อเรียกร้องสิทธิหรือสิ่งที่ตนเองพึงจะได้ โดยมีการเดินขบวนที่ไม่คา นึงถึง 
ความรุนแรงในการเดินขบวน ดังที่กล่าวข้างต้นการเดินขบวนถือว่าเป็นวิวัฒนาการสา คัญของวิธีการแสดงความคิดเห็น 
ของพลเมือง ที่มีอา นาจสิทธิอยู่ในมือของตัวเองตามรัฐธรรมนูญ
- การประท้วง (อังกฤษ: Protest) เป็นการแสดงออกด้วยการกระทา เพื่อแสดงให้เห็นว่าคัดค้าน หรือ ไม่เห็นด้วย มี 
หลากหลายวธิี เช่น การ อดข้าวประท้วง การเดินประท้วง ซ่งึส่วนใหญ่เป็นการแสดงออกทางสังคมและการเมือง การประท้วงที่ใช้ 
ความรุนแรงก่อให้เกิดความวุ่นวายจะกลายเป็น การจลาจล 
- คณิน บุญสุวรรณได้กล่าวถึง “ ประท้วง หมายถึง การแสดงอาการขัดข้องใจของสมาชิกในที่ประชุมสภา กรณีที่ 
เห็นว่าการอภิปรายของสมาชิกผู้หนึ่งผู้ใดเป็นการอภิปรายนอกประเด็นวนเวียนซา้ซาก ซา้กับผู้อื่นซึ่งเป็นการผิดข้อบังคับหรือ 
เห็นว่าการอภิปรายดังกล่าวเป็นการพาดพิงถึงเรื่องส่วนตัวหรือเรื่องใดอันเป็นที่เสียหายแก่ผู้นั้นการประท้วงทั้งสองกรณีดังกล่าว 
ข้างต้นหรือการประท้วงในกรณีอื่นใดก็ตาม สมาชิกผู้ต้องการประท้วงจะต้องยืนและยกมือขึ้นพ้นศีรษะรอจนกว่าประธานจะเห็น 
และอนุญาตจึงกล่าวคา ประท้วงได้โดยการชี้แจงประเด็นและเหตุผลการประท้วงของตนเสร็จแล้วประธานในที่ประชุมสภาจะเป็นผู้ 
วินิจฉัยว่าการอภิปรายมกีารฝ่าฝืนข้อบังคับหรือพาดพิงทา ให้เกิดความเสียหายต่อผู้ใดตามที่ประท้วงหรือไม่ ถ้าวินิจฉัยว่าผิด 
ข้อบังคับหรือทา ให้ผู้อื่นเสียหายประธานก็จะสั่งให้ผู้อภิปรายถอนคา พูดหรือไม่ก็ยุติการอภิปรายเสีย คา วินิจฉัยและคา สั่งของ 
ประธานถือเป็นเด็ดขาด 
จากข้อความข้างต้นพบว่า การประท้วงเกิดจากการที่เกิด ไม่เห็นด้วย โดยมีลักษณะรุนแรงกว่าการเดินขบวนโดย 
สิ้นเชิง คือมีลักษณะร้ายแรงกว่า เช่น การทุบตีตา รวจการทุบตีผู้ที่รู้เห็นเหตุการณ์ในกรณีที่ตนเองเสียผลประโยชน์ดังที่เห็นใน 
หน้าหนังสือพิมพ์ การประท้วงนั้นมีมากมายหลายรูปแบบ แต่แบบที่พบเห็นได้มากจะเป็น การประท้วงเพื่อเรียกร้องสิทธิเช่น 
ชาวนาประท้วงรัฐบาลในกรณีจา นา ข้าวที่ไม่ได้เงินประกันราคาข้าวคืน ชาวนานา ข้าวสารมาเทลงพื้นถนนเพื่อประท้วง แล้วจุดไฟ 
เผา นา รถมาปิดการสัญจร เป็นต้น และการประท้วงครั้งใหญ่นี้ก็ลามไปถึงปัญหาประเทศ ไม่ใช่เพียงแค่กรณีเดียวที่เกิดปัญหา 
ใหญ่เช่นนี้ ปัญหาทางการเมืองก็เช่นเดียวกัน คือการชุมนุมของกลุ่ม กปปส. ที่เรียกร้องสิทธิให้รัฐบาลออกมาทา การจ่ายเงินจา นา 
ข้าว และขับไล่รัฐบาลเพื่อให้ลาออกจากรักษาการ และคืนผลประโยชน์ให้แก่ประชาชน จึงทา ให้เกิดการประท้วงที่ยาวนานและ 
ต่อเน่อืงกันมากนานจนถึงปัจจุบัน
1.สรุปและอภิปรายผล 
ผลจากการเดินขบวนประท้วงพบว่า การสรุปยังเกิดความไม่แน่นอนบ้างในเพียงแค่บางกรณีเท่านั้น อย่างเช่นกรณีที่ได้ 
ยกตัวอย่างในข้างต้นนั้น ก็สามารถสรุปได้ว่า การเดินขบวนประท้วงนั้นสามารถแก้ปัญหาได้แต่ก็เกิดความสูญเสียจากการ 
ประท้วงไม่น้อย เช่น นักศึกษา ครูอาจารย์นักวิชาการ เป็นต้น แต่อีกบางกรณีก็พบว่าไม่สามารถยุติความยืดเยื้อได้เลย นั่นคือ 
การเมืองในปัจจุบัน หรือการเมืองไทย ที่มีเรื่องให้ประท้วงและการเดินขบวนสม่า เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการเสียผลประโยชน์ทางการ 
เกษตร เช่น การเดินขบวนของม็อปข้าวโพด การปิดถนนเรื่องการจา นา ข้าว ล้วนแต่มีความคาดหวังเดียวกันคือผลประโยชน์จน 
บางทีทา ให้เกิดการนองเลือดกัน ดังในบางกรณีเท่านั้น 
2.ประโยชน์ที่ได้รับจากการค้นคว้า 
ทา ให้ได้ทราบถึงการแก้ปัญหาเบื้องต้นของการเดินขบวน 
ทราบถึงแนวทางการเรียกร้องสิทธิ 
สามารถนา ไปเป็นเอกสารในการชี้แจงได้บางประการ 
3 . ข้อเสนอแนะ 
โครงการเผยแพร่ความรู้เล่มนี้อาจมีข้อมูลในการนา เสนอ หรือการประกอบข้อมูลที่ถูกต้องไม่เพียงพอ โปรดศึกษาจากสื่อ 
เพิ่มเติม
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวธัญญาลักษณ์ นาวงษ์ 
นางสาวศุภนิดา วีระพันธุ์ 
หลักการและเหตุผล – 
วัตถุประสงค์ 
- การเดินขบวนสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่ 
- การขบวนสามารถแก้ปัญหาได้ในกรณีใดบ้าง 
เป้าหมาย 
เชิงปริมาณ 50 คน 
เชิงคุณภาพ

More Related Content

Viewers also liked

Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die! Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die! Garey Simmons
 
Lesson 29
Lesson 29Lesson 29
Lesson 29REXTEC
 
Corpus christi police department interview questions
Corpus christi police department interview questionsCorpus christi police department interview questions
Corpus christi police department interview questionsselinasimpson709
 
Gemius - Danone
Gemius - DanoneGemius - Danone
Gemius - DanoneIAB Europe
 
Cnh presentation
Cnh presentationCnh presentation
Cnh presentationdariush01
 
150528 pactify -short intro-v1
150528 pactify -short intro-v1150528 pactify -short intro-v1
150528 pactify -short intro-v1Bart Vanderhaegen
 
Презентация продукции Ренза
Презентация продукции РензаПрезентация продукции Ренза
Презентация продукции РензаYana Kovba
 

Viewers also liked (11)

Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die! Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
 
Lesson 29
Lesson 29Lesson 29
Lesson 29
 
Corpus christi police department interview questions
Corpus christi police department interview questionsCorpus christi police department interview questions
Corpus christi police department interview questions
 
Gemius - Danone
Gemius - DanoneGemius - Danone
Gemius - Danone
 
Lezing Avansv2ENG
Lezing Avansv2ENGLezing Avansv2ENG
Lezing Avansv2ENG
 
Hatce
HatceHatce
Hatce
 
Cnh presentation
Cnh presentationCnh presentation
Cnh presentation
 
150528 pactify -short intro-v1
150528 pactify -short intro-v1150528 pactify -short intro-v1
150528 pactify -short intro-v1
 
Презентация продукции Ренза
Презентация продукции РензаПрезентация продукции Ренза
Презентация продукции Ренза
 
Salesforce
SalesforceSalesforce
Salesforce
 
Moda
ModaModa
Moda
 

การเดินขบวนสามารถแก้ไขปัญหาได้หรือไม่

  • 1.
  • 2. ปัจจุบันการเดินขบวนเพื่อประท้วงเพื่อสิทธิหรือเรียกร้องสิ่งที่ต้องการ มีให้เราพบเห็นมากมาย ทา ให้ผู้จัดทา เกิด ความสงสัยว่า การเดินขบวนนั้นสามารถแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ และการแก้ปัญหานี้สามารถหาข้อสรุปได้จริงๆ หรือไม่ ในการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้เรื่องนี้ ผู้จัดทา พบว่าเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ในสังคมไทยพบว่า มีปัญหาทางด้านการเมือง การเกิดการประท้วงเดินขบวนต่อต้านเผด็จการ ต่อต้านรัฐบาล ต่อต้านระบอบทักษิณ การเดินขบวนเพื่อนเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ตนเองและส่วนรวม ซึ่งเกิดจากการได้และ เสียผลประโยชน์ที่ไม่เท่ากันกับอีกฝ่ายหนึ่ง ทา ให้เกิดการกระทบกระทั้งกันอย่างรุนแรง จึงทา ให้เรื่องเกิดบาน ปลาย ทา ให้มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ทางด้านสังคม แบ่งเป็นเสื้อเหลืองเสื้อแดง เกิดความแตกแยกในสังคมไทย ดัง ข่าวที่เราได้พบเห็นตามหน้าหนังสือพิมพ์ จึงทา ให้คิดว่าการนา ประเด็นการเดินขบวนมาวิเคราะห์ น่าจะสามารถร้ถูึง ปัญหาและการจบปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยได้การตั้งคา ถามนั้นสามารถตั้งคา ถามได้หลากหลาย ตัวอย่างเช่น การ เดินขบวนสามารถแก้ไขปัญหาได้หรือไม่ , การเดินขบวนเกิดผลดีผลเสียอย่างไร, การเดินขับไล่ของเสื้อเหลืองเสื้อ แดง กับ พ.ร.บ. นิรโทษกรรมสิ่งใดร้ายแรงกว่ากัน เป็นต้น แต่ปัญหาที่เราต้องการศึกษาคือปัญหาที่ว่า “การ เดินขบวนสามารถแก้ไขปัญหาได้จริงหรือไม่” โดยเหตุที่ตัดสินใจเลือกปัญหานี้เพราะ มีเหตุผลที่ว่า ในปัจจุบันมี การแยกฝั่งเลือกฝ่าย ทา ให้เกิดปัญหาหลายปัญหาขึ้นในสังคม ทา ให้บุคคลภายในประเทศเกิดความเดือดร้อน จึง ทา ให้อยากทราบว่าต้องเดินขบวนบ่อยแค่ไหน ปัญหานี้จึงจะคลี่คลายไปได้
  • 4. - การเดินขบวน (อังกฤษ: demonstration) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเคล่อืนไหวโดยปราศจากความรุนแรง (nonviolent) ของกล่มุบุคคลเพื่อประโยชน์ทางการเมืองหรืออื่น ๆ ซ่งึปรกติมักมีการเดินรณรงค์เป็นขบวน และมีการ ชุมนุมพูดจาปราศรัย และบางทีก็อาจมีการปิดล้อม (blockade) และการยึดพื้นที่ประท้วง (sit-in) ด้วย ซ่งึการ เดินขบวนจัดเป็นกิจกรรมหนึ่งในลัทธิกิจกรรมนิยม (activism) อันเป็นความนิยมกระทา กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุ ความม่งุหมายทางการเมืองของกลุ่มตน การเดินขบวนอาจมีขึ้นเพื่อแสดงมุมมองเกี่ยวกับประเด็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นมุมมองด้านบวกก็ดี ด้านลบก็ดี และประเด็น เช่นว่ามักเกี่ยวกับการร้องทุกข์หรือความอยุติธรรมทางสังคม แต่บางครั้งก็เกี่ยวกับเศรษฐกิจ โดยผู้เดินขบวนมักเห็นว่า กิจกรรมของตนจะประสบความสา เร็จย่งิขึ้นถ้ามีผู้ร่วมกิจกรรมมากขึ้น มีการเดินขบวนหลายรูปแบบ แล้วแต่จะจาแนก อาทิ การเดินแถว (march) ของกลุ่มบุคคลจากสถานที่หนึ่งไปสถานที่หนึ่ง การรณรงค์(rally) โดยอาจมกีารพูดจาปราศัย ปาฐกถา หรือร้องรา ทา เพลง การถือป้ายประท้วง (picketing) โดยผู้เดินขบวนจะแห่ล้อมสถานที่หนึ่ง ๆ ไว้ขณะชูป้ายด้วย การยึดพื้นที่ประท้วง (sit-in) โดยผู้เดินขบวนจะยึดท้องที่หนึ่ง ๆ บางทีก็เป็นระยะเวลาตามที่ระบุไว้แล้ว หรือบางทีก็ไม่มี กา หนดเวลาจนกว่าผู้เดินขบวนจะรู้สึกว่าประเด็นในการเดินขบวนของตนได้รับความสนใจอย่างเพียงพอแล้ว หรอืจนกว่าพวก เขาจะถูกชักจูงหรือบังคับให้พ้นไปจากท้องที่นั้น การเดินขบวนบางคราเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และบางคราก็เป็นการเคลื่อนไหวที่วางแผนหรือชั้นเชิงไว้เรียบร้อยแล้ว โดยปรกติมักเกิดขึ้นในที่สาธารณะ แต่การเดินขบวนในที่เอกชนก็อาจเป็นไปได้ เช่น
  • 5. เพื่อจูงใจบุคคลกลุ่มเล็ก ๆ นอกจากนี้ การเดินขบวนมักเป็นการกระทา ทางกายภาพ แต่การเดินขบวนเสมือนจริงและ การเดินขบวนออนไลน์ก็มีได้ดุจกัน - การชุมนุมสาธารณะและการเดินขบวนถือเป็นวิธีการสา คัญอย่างหนึ่งในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อ รัฐบาลของตน เสรีภาพในการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนเป็นเสรีภาพที่พัฒนาต่อยอดเสรีภาพในการแสดงความ คิดเห็น จากการแสดงความคิดเห็นโดยบุคคลแต่ละคน (individual) มาสู่การแสดงความคิดเห็นแบบกลุ่ม (collective) ในแง่นี้ การชุมนุมและการเดินขบวนจึงถือเป็นวิวัฒนาการสา คัญของวิธีการแสดงความคิดเห็นของ พลเมือง รัฐบาลของประเทศที่เป็นประชาธิปไตยจึงไม่อาจลิดรอนจา กัดเสรีภาพในการชุมนุมประท้วงหรือเดินขบวน เรียกร้องของประชาชนโดยอาศัยเหตุผลใด ๆ ที่นอกเหนือจากเหตุผลอันชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อ มิให้เป็นการทา ลายพื้นที่ที่ประชาชนจะใช้เป็นเวทีสะท้อนความทุกข์ร้อนและความต้องการของตนไปยังรัฐบาลและ สังคมโดยตรง จากความหมายของการเดินขบวนข้างต้นพบว่าการเดินขบวนนั้นกล่าวคือ เป็นการเดินที่เรียกร้องความ ยุติธรรมให้แก่ตนเองแสดงถึงความคิดเห็นของผู้เดินขบวนที่มีอยู่โดยเกิดมาจากความเห็นของคนทั่วไปที่มีความเห็น เหมือนกัน คล้ายกัน แล้วเกิดมารวมกัน เพื่อเรียกร้องสิทธิหรือสิ่งที่ตนเองพึงจะได้ โดยมีการเดินขบวนที่ไม่คา นึงถึง ความรุนแรงในการเดินขบวน ดังที่กล่าวข้างต้นการเดินขบวนถือว่าเป็นวิวัฒนาการสา คัญของวิธีการแสดงความคิดเห็น ของพลเมือง ที่มีอา นาจสิทธิอยู่ในมือของตัวเองตามรัฐธรรมนูญ
  • 6. - การประท้วง (อังกฤษ: Protest) เป็นการแสดงออกด้วยการกระทา เพื่อแสดงให้เห็นว่าคัดค้าน หรือ ไม่เห็นด้วย มี หลากหลายวธิี เช่น การ อดข้าวประท้วง การเดินประท้วง ซ่งึส่วนใหญ่เป็นการแสดงออกทางสังคมและการเมือง การประท้วงที่ใช้ ความรุนแรงก่อให้เกิดความวุ่นวายจะกลายเป็น การจลาจล - คณิน บุญสุวรรณได้กล่าวถึง “ ประท้วง หมายถึง การแสดงอาการขัดข้องใจของสมาชิกในที่ประชุมสภา กรณีที่ เห็นว่าการอภิปรายของสมาชิกผู้หนึ่งผู้ใดเป็นการอภิปรายนอกประเด็นวนเวียนซา้ซาก ซา้กับผู้อื่นซึ่งเป็นการผิดข้อบังคับหรือ เห็นว่าการอภิปรายดังกล่าวเป็นการพาดพิงถึงเรื่องส่วนตัวหรือเรื่องใดอันเป็นที่เสียหายแก่ผู้นั้นการประท้วงทั้งสองกรณีดังกล่าว ข้างต้นหรือการประท้วงในกรณีอื่นใดก็ตาม สมาชิกผู้ต้องการประท้วงจะต้องยืนและยกมือขึ้นพ้นศีรษะรอจนกว่าประธานจะเห็น และอนุญาตจึงกล่าวคา ประท้วงได้โดยการชี้แจงประเด็นและเหตุผลการประท้วงของตนเสร็จแล้วประธานในที่ประชุมสภาจะเป็นผู้ วินิจฉัยว่าการอภิปรายมกีารฝ่าฝืนข้อบังคับหรือพาดพิงทา ให้เกิดความเสียหายต่อผู้ใดตามที่ประท้วงหรือไม่ ถ้าวินิจฉัยว่าผิด ข้อบังคับหรือทา ให้ผู้อื่นเสียหายประธานก็จะสั่งให้ผู้อภิปรายถอนคา พูดหรือไม่ก็ยุติการอภิปรายเสีย คา วินิจฉัยและคา สั่งของ ประธานถือเป็นเด็ดขาด จากข้อความข้างต้นพบว่า การประท้วงเกิดจากการที่เกิด ไม่เห็นด้วย โดยมีลักษณะรุนแรงกว่าการเดินขบวนโดย สิ้นเชิง คือมีลักษณะร้ายแรงกว่า เช่น การทุบตีตา รวจการทุบตีผู้ที่รู้เห็นเหตุการณ์ในกรณีที่ตนเองเสียผลประโยชน์ดังที่เห็นใน หน้าหนังสือพิมพ์ การประท้วงนั้นมีมากมายหลายรูปแบบ แต่แบบที่พบเห็นได้มากจะเป็น การประท้วงเพื่อเรียกร้องสิทธิเช่น ชาวนาประท้วงรัฐบาลในกรณีจา นา ข้าวที่ไม่ได้เงินประกันราคาข้าวคืน ชาวนานา ข้าวสารมาเทลงพื้นถนนเพื่อประท้วง แล้วจุดไฟ เผา นา รถมาปิดการสัญจร เป็นต้น และการประท้วงครั้งใหญ่นี้ก็ลามไปถึงปัญหาประเทศ ไม่ใช่เพียงแค่กรณีเดียวที่เกิดปัญหา ใหญ่เช่นนี้ ปัญหาทางการเมืองก็เช่นเดียวกัน คือการชุมนุมของกลุ่ม กปปส. ที่เรียกร้องสิทธิให้รัฐบาลออกมาทา การจ่ายเงินจา นา ข้าว และขับไล่รัฐบาลเพื่อให้ลาออกจากรักษาการ และคืนผลประโยชน์ให้แก่ประชาชน จึงทา ให้เกิดการประท้วงที่ยาวนานและ ต่อเน่อืงกันมากนานจนถึงปัจจุบัน
  • 7. 1.สรุปและอภิปรายผล ผลจากการเดินขบวนประท้วงพบว่า การสรุปยังเกิดความไม่แน่นอนบ้างในเพียงแค่บางกรณีเท่านั้น อย่างเช่นกรณีที่ได้ ยกตัวอย่างในข้างต้นนั้น ก็สามารถสรุปได้ว่า การเดินขบวนประท้วงนั้นสามารถแก้ปัญหาได้แต่ก็เกิดความสูญเสียจากการ ประท้วงไม่น้อย เช่น นักศึกษา ครูอาจารย์นักวิชาการ เป็นต้น แต่อีกบางกรณีก็พบว่าไม่สามารถยุติความยืดเยื้อได้เลย นั่นคือ การเมืองในปัจจุบัน หรือการเมืองไทย ที่มีเรื่องให้ประท้วงและการเดินขบวนสม่า เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการเสียผลประโยชน์ทางการ เกษตร เช่น การเดินขบวนของม็อปข้าวโพด การปิดถนนเรื่องการจา นา ข้าว ล้วนแต่มีความคาดหวังเดียวกันคือผลประโยชน์จน บางทีทา ให้เกิดการนองเลือดกัน ดังในบางกรณีเท่านั้น 2.ประโยชน์ที่ได้รับจากการค้นคว้า ทา ให้ได้ทราบถึงการแก้ปัญหาเบื้องต้นของการเดินขบวน ทราบถึงแนวทางการเรียกร้องสิทธิ สามารถนา ไปเป็นเอกสารในการชี้แจงได้บางประการ 3 . ข้อเสนอแนะ โครงการเผยแพร่ความรู้เล่มนี้อาจมีข้อมูลในการนา เสนอ หรือการประกอบข้อมูลที่ถูกต้องไม่เพียงพอ โปรดศึกษาจากสื่อ เพิ่มเติม
  • 8. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวธัญญาลักษณ์ นาวงษ์ นางสาวศุภนิดา วีระพันธุ์ หลักการและเหตุผล – วัตถุประสงค์ - การเดินขบวนสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่ - การขบวนสามารถแก้ปัญหาได้ในกรณีใดบ้าง เป้าหมาย เชิงปริมาณ 50 คน เชิงคุณภาพ