SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
ความรู้ พนฐานทางธุรกิจ
         ื้
ความหมายและความสาคัญของธุรกิจ


        ธุรกิจ (Business) คือ ความพยายามของนักธุรกิจในการผลิตและ
ขายสิ นค้ าหรือบริ การเพื่อตอบสนองความต้ องการของสั งคมโดยมุ่งหวัง
กาไร
บริ ษัท                  ฯลฯ

              ห้ างร้ าน

รัฐวิสาหกิจ
วัตถุประสงค์ ของการประกอบธุรกิจ


• ต้ องการให้ ได้ กาไรมากที่สุด
  (Maximized Profit)
• หน่ ว ยราชการและองค์ ก าร
  กุศล โดยไม่ หวังผลตอบแทน
1. การสนองความต้ องการของลูกค้ า         ลูกค้ าเห็นความสาคัญ

2. การมุ่งทีประสิ ทธิภาพ
            ่                      • ทันต่ อความต้ องการ
                                   • สิ นค้ ามีคุณภาพดี

3. กาไรของธุรกิจ                    กาไรให้ พอจุนเจือค่ าใช้ จ่าย
ความสาคัญของธุรกิจ

 1. ธุรกิจช่ วยให้ เศรษฐกิจของชาติมีความเจริญ
ก้าวหน้ าและมั่นคง
2. ธุรกิจทาให้ ประชาชนมีมาตรฐานการดารงชีวตทีดขน
                                              ิ ่ ี ึ้
3. ธุรกิจทาให้ รัฐมีรายได้ เพิมขึน
                              ่ ้
4. ธุรกิจช่ วยแก้ปัญหาทางสั งคม
5. ธุรกิจทาให้ เกิดความเจริญก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี
ประโยชน์ ของธุรกิจ

1. ธุรกิจผลิตสิ นค้ าและบริการเพือสนองความต้ องการของมนุษย์
                                   ่
ในสั งคม
2. ธุรกิจช่ วยกระจายสิ นค้ าจากผู้ผลิตไปสู่ ผู้บริโภค
3. ธุรกิจเป็ นแหล่งตลาดแรงงาน
4. ธุรกิจเป็ นแหล่งเพิมรายได้ ให้ แก่รัฐบาล
                      ่
5. ธุรกิจช่ วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ปัจจัยในการดาเนินธุรกิจ

             1. ทรัพยากรวัสดุ (Material resources) หมายถึงทรัพยากรที่เป็ น
วัตถุดิบ อาคาร เครื่องจักร และเครื่องมืออุปกรณ์ ทใช้ ในการผลิต
                                                           ่ี
             2. ทรัพยากรมนุษย์ (Human resources) หมายถึง ประชากรที่
ทุ่มเทแรงงานให้ ธุรกิจโดยได้ รับค่าจ้ างตอบแทน
             3. ทรัพยากรการเงิน (Financial resources) หมายถึง เงินทุนทีต้อง  ่
มีไว้ เพือจ่ ายให้ กบลูกจ้ าง ซื้อวัตถุดิบ และเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินธุรกิจ
           ่        ั
             4. ทรัพยากรข้ อมูล (Informational resources) หมายถึง ข้ อมูลที่
ชี้ให้ ผู้ประกอบการหรือผู้จัดการทราบถึงความมีประสิ ทธิภาพในการใช้
ร่ วมกันของทรัพยากรทั้ง 3 ชนิดแรก
ประเภทของธุรกิจ

       ธุรกิจการผลิต (Manufacturing)
          เป็ นธุรกิจทีเ่ ปลียนรูปวัตถุดิบให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูปด้ วย
                             ่
กระบวนการผลิต โดยใช้ แรงงานและฝี มือในการแปรรูป ธุรกิจการผลิต
แบ่ งเป็ นกลุ่มได้ ดงนี้
                    ั
     1. ธุรกิจการเกษตร เช่ น การทานา การทาไร่ การทาสวน เป็ นต้ น
     2. ธุรกิจร้ านอาหาร เช่ น ร้ านขายก๋วยเตี๋ยว ร้ านขายข้ าวมันไก่
ข้ าวราดแกง เป็ นต้ น
     3. ธุรกิจโรงงาน เช่ น โรงงานผลิตนาดื่ม โรงงานทาธูป เทียน เป็ นต้ น
                                            ้
4. ธุ ร กิจ ประเภทหั ต ถกรรมและงานศิ ล ปะใช้ ฝี มื อ เช่ น
เครื่ องปั้ นดินเผา ดอกไม้ ประดิษฐ์ ของขวัญ ของชาร่ วย จักสาน
ทอผ้ าไหม ทาตุ๊กตา เจียระไนพลอย และอืน ๆ เป็ นต้ น
                                                 ่
            5. ธุ ร กิ จ ประเภทอื่ น ๆ เช่ น ร้ านถ่ า ยรู ป ตกแต่ ง สวน
ออกแบบตกแต่ งภายใน ทาเหล็กดัด มุ้งลวด ทากระจก กรอบรู ป
หลังคา กันสาด ร้ านประดับยนต์ ติดตั้งเครื่องเสี ยงรถยนต์ เป็ นต้ น
ธุรกิจเหมืองแร่ (Mineral)
         การประกอบธุ รกิ จ เหมื อ งแร่
ได้ แก่ การทาเหมืองแร่ ชนิดต่ าง ๆ การขุด
เ จ า ะ ถ่ า น หิ น ก า ร ขุ ด เ จ า ะ น า
ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆมาใช้
ธุรกิจพาณิชย์ (Commercial)
            เป็ นธุรกิจที่ทาหน้ าที่กระจายสิ นค้ าที่ผลิตจากอุตสาหกรรมต่ าง ๆ
ไปสู่ ผู้ บ ริ โ ภค ท าให้ ผู้ บ ริ โ ภคได้ อุ ป โภคบริ โ ภคสิ น ค้ า ตามความต้ อ งการ
ได้ แก่ ธุรกิจพ่อค้ าคนกลาง ผู้ค้าส่ ง ผู้ค้าปลีก ตัวแทนจาหน่ ายสิ นค้ าต่ าง ๆ
            1. ธุรกิจค้ าส่ ง (Wholesaling) หมายถึง ธุรกิจที่คนกลางดาเนินการ
โดยขายสิ นค้ าต่ อให้ คนกลางอืน ๆ เช่ น การค้ าส่ งอะไหล่ เครื่องใช้ ไฟฟา ค้ า
                                        ่                                        ้
ส่ งยาหรือเวชภัณฑ์ บุหรี่ สุ รา เสื้อผ้ า เป็ นต้ น
            2. ธุ รกิจค้ าปลีก (Retailing) หมายถึง ธุ รกิจซึ่ งขายสิ นค้ าจานวน
เล็กน้ อยแก่ ผู้บริโภคคนสุ ดท้ ายโดยตรง เช่ น ร้ านขายผลไม้ ร้ านขายยา ร้ าน
ขายของชา ร้ านขายเครื่องใช้ ไฟฟา เป็ นต้ น ้
ประเภทของธุรกิจค้ าปลีกแบ่ งออกได้ ดังนี้


            2.1 ร้ านค้ าปลีกสายเดี่ยว (Single-line store) เป็ นร้ านที่จาหน่ ายสิ นค้ า
หลายชนิดที่อยู่ในสายเดียวกัน เช่ น ร้ านเครื่ องประดับ กระเป๋ า รองเท้ า เป็ น
ต้ น
            2.2 ร้ านค้ าปลีกเฉพาะอย่ าง (Specialty store) เป็ นร้ านที่จากัดชนิดของ
สิ นค้ าทีจาหน่ าย เช่ น ร้ านจาหน่ ายเนคไทจะจาหน่ ายเฉพาะเนคไทอย่ างเดียว
          ่
            2.3 ร้ านค้ าปลีกสิ นค้ าเบ็ดเตล็ด (Variety store) เป็ นร้ านค้ าที่จาหน่ าย
สิ น ค้ า มากมายหลายชนิ ด และราคาไม่ แพง เช่ น เครื่ อ งเขี ย น ถ้ ว ยชาม
เครื่องสาอาง ของใช้ ประจาวัน เป็ นต้ น
2.4 ร้ านสรรพสิ นค้ า (Department store) หมายถึงร้ านเฉพาะ
อย่ างหลาย ๆร้ าน ที่รวมกันเป็ นร้ านเดียว เป็ นร้ านที่มีขนาดค่ อนข้ างใหญ่
ร้ านสรรพสิ นค้ ามักจะแบ่ งออกเป็ นแผนก ๆ ตามประเภทของสิ นค้ า เช่ น
แผนกเครื่องสาอาง แผนกเครื่องใช้ ไฟฟา เป็ นต้ น
                                         ้
           2.5 ร้ านสรรพาหาร (Supermarket) เป็ นร้ านค้ าปลีกที่จาหน่ าย
สิ นค้ าอุปโภค บริโภคทีใช้ ในครัวเรือนทุกย่ าง เป็ นร้ านค้ าที่แวะครั้งเดียวแต่
                           ่
สามารถซื้อสิ นค้ าทีต้องการได้ ทุกชนิด
                        ่
           2.6 ร้ านค้ าแบบให้ ส่วนลด (Discount stores) เป็ นร้ านค้ าที่ขาย
สิ นค้ าโดยให้ ส่วนลด คือ ตั้งราคาโดยเน้ นราคาต่ากว่ า ซึ่งเป็ นเสมือนสิ่ งจูงใจ
ในการจาหน่ าย
2.7 ร้ านค้ าที่จาหน่ ายสิ นค้ าตามสะดวก (Convenience store) เป็ น
ร้ านค้ า ที่ มี ลั ก ษณะของการบริ ก ารตนเองและมี ท าเลที่ ต้ั ง ของร้ านค้ า ที่
จาหน่ ายสิ นค้ าตามสะดวก ช่ วยให้ ลูกค้ าซื้อสิ นค้ าประเภทนีได้ ง่าย
                                                                ้
             2.8 ร้ านค้ าปลีกทางไปรษณีย์ (Mail) เป็ นร้ านค้ าที่ลูกค้ าสามารถ
สั่ งซื้อสิ นค้ าทางไปรษณีย์โดยดูจากแคตตาล็อคแล้ วแจ้ งความจานงพร้ อมส่ ง
ตั๋วแลกเงินไปยังร้ านค้ า และร้ านค้ าจะจัดส่ งสิ นค้ ามาให้ ตามต้ องการ
             2.9 การค้ าปลีกที่จาหน่ ายโดยตรงถึงบ้ าน (House to house
retailling) การจาหน่ ายโดยวิธีนีจะมีค่าใช้ จ่ายต่าเพราะไม่ ต้องผ่ านคนกลาง
                                         ้
สิ นค้ าที่ชิวิธีจาหน่ ายโดยตรงถึงบ้ าน ได้ แก่ เครื่ องใช้ ในครั วเรื อน เสื้ อผ้ า
เครื่องสาอาง เป็ นต้ น
ธุรกิจการก่อสร้ าง (Construction)
          เป็ นธุรกิจทีทาหน้ าทีในการนาวัสดุต่าง ๆ ได้ แก่ อิฐ หิน ปูน ทราย
                         ่         ่
มาใช้ ในการก่ อสร้ าง เช่ น การทาถนน สร้ างอาคาร สร้ างเขื่อน ก่ อสร้ าง
โรงพยาบาล เป็ นต้ น
       ธุรกิจการเงิน (Finance)
          เป็ นธุ ร กิจ ที่ทาหน้ า ที่ส่งเสริ มให้ ธุร กิจ อื่น ทางานไดคล่ อ งตั วขึ้น
เนื่ องจากในการทาธุ รกิจจะต้ องเริ่ มจากการลงทุ น ซึ่ งต้ องใช้ เงินในการ
ลงทุน ธุรกิจการเงินจะทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางในการติดต่ อซื้อชายชาระเงิน
ระหว่ า งกัน ธุ รกิจที่จัด เป็ นธุ รกิจการเงิน ได้ แก่ ธุ รกิจธนาคาร บริ ษัท
ประกันภัย บริษัทการเงิน เป็ นต้ น
ธุรกิจให้ บริการ (Service) หมายถึง กิจการทีจาหน่ ายสิ นค้ าในรู ปบริการ
                                                       ่
ให้ แก่ ผู้บริโภคหรือผู้ผลิต ธุรกิจทีดาเนินธุรกิจในลักษณะให้ บริการสามารถแบ่ ง
                                      ่
ออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ ดงนี้       ั
     1. ธุรกิจเกียวกับการศึกษา
                  ่
     2. ธุรกิจเกียวกับการคมนาคมขนส่ ง
                    ่
     3. ธุรกิจเกียวกับทีอยู่อาศัย
                      ่           ่
     4. ธุรกิจเกียวกับการติดต่ อสื่ อสารและบริการข้ อมูล
                        ่
     5. ธุรกิจเกียวกับสุ ขภาพพลานามัย
                          ่
     6. ธุรกิจเกียวกับความบันเทิงเริงรมย์
                            ่
     7. ธุรกิจเกียวกับกีฬา    ่
     8. ธุรกิจเกียวกับการประกันภัยและการคลังสิ นค้ า
                                ่
9. ธุรกิจเกียวกับการเงิน
               ่
   10. ธุรกิจบริการเบ็ดเตล็ดอืน ๆ
                              ่

        ธุรกิจอืน ๆ
                 ่
            เป็ นธุรกิจทีนอกเหนือจากธุรกิจประเภททีกล่าวมาแล้วข้ างต้ น
                         ่                          ่
ได้ แก่ ผู้ประกอบธุรกิจ อาชีพอิสระต่ าง ๆ เช่ น วิศวกร แพทย์ สถาปัตย์
ช่ างฝี มือ ประติมากรรม ฯลฯ
หน้ าทีในการประกอบธุรกิจ
       ่
1.1 การเลือกทาเลทีต้ง
                      ่ ั
    1.2 การวางผังโรงงาน
    1.3 การออกแบบสิ นค้ า
    1.4 การกาหนดตารางเวลาการผลิต
    1.5 การตรวจสอบสิ นค้ า

2. การจัดหาเงินทุน (Capital)
          เงินถือว่ าเป็ นปัจจัยทีมีความสาคัญในการประกอบธุรกิจ ผู้ประกอบ
                                  ่
ธุรกิจจึงต้ องมีการบริหารเงินทุนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งมีแหล่ งเงินทุน 2 แหล่ ง
ดังนี้
2.1 แหล่งเงินทุนภายใน (Internal Sources) เป็ นเงินทุนทีได้ จาก
                                                                 ่
เจ้ าของกิจการ อันได้ แก่เงินทีนามาลงทุน และจากกาไรสะสม
                               ่
          2.2 แหล่งเงินทุนภายนอก (External Sources) เป็ นเงินทุนทีได้ จาก
                                                                   ่
การกู้ยมจากสถาบันต่ าง ๆ เช่ น ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุนและ
        ื
หลักทรัพย์ เป็ นต้ น
     3. การจัดหาทรัพยากรด้ านกาลังคน
          คนถือเป็ นปัจจัยพืนฐานทีสาคัญมากทีสุดในการประกอบธุรกิจ ผู้
                             ้     ่         ่
ประกอบธุรกิจจะต้ องจัดหาบุคคลทีมีคุณภาพ ให้ เหมาะสมกับงาน ผู้
                                     ่
ประกอบธุรกิจควรพิจารณาดังนี้
3.1 การวางแผนกาลังคน ด้ านจานวน คุณภาพและหน้ าทีความรับผิดชอบ
                                                ่
3.2 การสรรหากาลังคน
3.3 การคัดเลือกและบรรจุ
3.4 การฝึ กอบรม
3.5 การประเมินผลการปฏิบัติ

4. การบริหารการตลาด
        เป็ นกระบวนการทีทาให้ สินค้ าหรือบริการถึงมือผู้บริโภค เพือ
                             ่                                       ่
ตอบสนองความต้ องการและสร้ างความพึงพอใจสู งสุ ดแก่ ผู้บริโภค ซึ่งการ
บริหารการตลาดผู้ประกอบธุรกิจต้ องอาศัยส่ วนผสมทางการตลาด (Marketing
mix) หรือเรียกว่ า 4 P’s เป็ นเครื่องมือทีทาให้ ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจ ได้ แก่
                                          ่
4.1 ผลิตภั ณ ฑ์ (Product) คือ สิ่ ง ที่ธุร กิจ เสนอขายเพื่อ สนองความ
ต้ องการของผู้บริโภคให้ พงพอใจ
                           ึ
4.2 ราคา (Price) คือ มูลค่ าผลิตภัณฑ์ ในรู ปตัวเงิน ผู้ประกอบธุรกิจ
ต้ องกาหนดราคาให้ เหมาะสม เป็ นทียอมรับของผู้บริโภค
                                      ่
4.3 การจัดจาหน่ าย (Place) คือ กิจกรรมการเคลือนย้ ายผลิตภัณฑ์ จาก
                                                   ่
ธุรกิจไปยังตลาดเปาหมาย
                   ้
4.4 การส่ งเสริมการตลาด (Promotion) คือ การติดต่ อสื่ อสารเกียวกับ
                                                                ่
ข้ อมูลระหว่ าง ผู้ขายกับผู้ซื้อ เพื่อสร้ างทัศนคติและพฤติกรรมการ
ซื้อ โดยมีวตถุประสงค์ ทจะชักจูงให้ เกิดการซื้อ
           ั            ี่
1. การแต่ งกายทีสุภาพ สะอาดตา
                   ่
2. มีอธยาศัย ยิมแย้ ม แจ่ มใส
       ั         ้
3. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
4. เป็ นผู้มีไหวพริบดี
5. เป็ นผู้ฟังและผู้พูดทีดี
                         ่
6. เป็ นผู้มองการณ์ ไกล
7. มีความอดทน
8. กล้ าทีจะประสบกับความขาดทุน
           ่
ฯลฯ
จรรยาบรรณ (Ethics) ไม่ ใ ช่ ก ฎหมายแต่ เ ป็ นข้ อ ที่ ค วรปฏิ บั ติ
สาหรั บอาชี พใดอาชี พหนึ่ง เช่ น แพทย์ ไม่ ควรเปิ ดเผยความลับของคนไข้
เพราะผิดจรรยาบรรณแพทย์ เป็ นต้ น สาหรับการประกอบธุรกิจก็เช่ นกัน ผู้
ประกอบธุรกิจควรจะแสดงความรับผิดชอบต่ อสั งคมทีเ่ ขาอาศัยอยู่ เช่ น
         1. การให้ สิ่ ง ที่ ดี ต่ อ สั ง คม การผลิต สิ่ ง ของที่ ดี มี คุ ณ ภาพให้ กั บ
สั งคม การไม่ ปลอมปนสิ นค้ า การเลือกวัตถุดิบที่ไม่ มีอันตรายในการผลิต
สิ นค้ า
         2. ปฏิบัติตามกฎหมาย เช่ น กฎหมายแรงงาน ลดการเอารั ดเอา
เปรียบคนงาน
3. สร้ างงานที่มีการจ้ างแรงงานสู ง
เช่ น งานก่อสร้ าง งานการเกษตร
         4. การก าหนดราคาสิ นค้ า ไม่ ค วร
ก าหนดสู งไปเพื่ อ หวั ง ผลก าไร แต่ ควร
พิจารณาถึงความเหมาะสม ไม่ ฉวยโอกาส
ขึนราคาในขณะที่เกิดเภทภัยต่ าง ๆ
   ้
         5. ป องกัน สภาพแวดล้ อ มเป็ นพิษ
             ้
ในทางธุ รกิจอุตสาหกรรมก็คือสิ่ งแวดล้ อม
เป็ นพิษ น้าเสี ย ของเสี ยที่ทับถมบนพืนดิน
                                       ้
ผู้ประกอบการธุ รกิจต้ องคานึ งถึงสิ่ งต่ าง ๆ
โดยจั ด ระบบการจ ากั ด และป องกั น ให้
                                  ้
เหมาะสม
6. ให้ ความสนับสนุนการศึกษา ธุรกิจจะต้ องให้ การช่ วยเหลือและ
สนับสนุนการศึกษาทั้งสถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน อาจทาได้ โดย
การให้ ทุนการศึกษา กู้ยมเงิน การฝึ กดูงานของนักศึกษา
                          ื
         7. ให้ บริการด้ านสุ ขภาพอนามัยและนันทนาการ ควรช่ วยเหลือ
กิจการต่ าง ๆ และให้ บริการด้ านต่ าง ๆ ของสั งคม เช่ น ลูกเสื อชาวบ้ าน การ
กุศล กิจกรรมต่ าง ๆ
6. จรรยาบรรณช่ วยเน้ นให้ เห็นชัดเจนยิ่งขึนในภาพพจน์ ที่ดี
                                                   ้
ของผู้มีจริยธรรม
         7. จรรยาบรรณช่ วยกาหนดหน้ าทีพทกษ์ ตามกฎหมายสาหรับผู้
                                          ่ ิ ั
ประกอบอาชีพให้ เป็ นไปอย่ างถูกต้ องตามธรรมนองคลองธรรม
1. ก่ อให้ เกิดความเป็ นธรรมต่ อตนเอง
และผู้อน ื่

2. ก่ อให้ เกิดภาพพจน์ ทดต่อสั งคม
                        ี่ ี

3. ก่ อให้ เกิดบรรยากาศทีเ่ หมาะสมแก่
การทางาน

4. ก่ อให้ เกิดมาตรฐานในสิ นค้ าและ
บริการทีผลิตขึน
            ่    ้

5. ก่ อให้ เกิดความสาเร็จในองค์ กร
บทบัญญัตจรรยาบรรณของนักธุรกิจ
                     ิ

         1. พึงอนุรักษ์ และถ้ าเป็ นไปได้ ถงปรับปรุงสภาวะแวดล้ อมให้ ดขน
                                               ึ                            ี ึ้
         2. พึ ง ปฏิ บั ติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ผลประโยชน์ ข องชาติ ต ามที่ ไ ด้
กาหนดไว้ ในนโยบายของรัฐเกียวกับเรื่องสภาวะแวดล้ อม
                                   ่
         3. พึงรั กษาและปรั บปรุ งมาตรฐานความปลอดภัย เพื่อที่จะขจัด
อันตรายอันอาจเกิดต่ อสภาวะแวดล้ อมให้ เหลือน้ อยทีสุด   ่
         4. พึงบารุงรักษาซึ่งอาคารสถานที่ให้ อยู่ในสภาพเรียบร้ อย งดงาม
และถูกสุ ขลักษณะ
         5. พึ ง คิ ด ค้ น ประดิ ษ ฐ์ และจ าหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารให้
เหมาะสม เข้ ากับสภาพแวดล้ อมและเป็ นสิ่ งทีมคุณประโยชน์ ต่อลูกค้ า
                                                  ่ ี
อุดมการณ์ ซึ่งนักธุรกิจพึงมี ได้ แก่
        1. หมั่นประกอบการดีและประพฤติเป็ นคนดี
        2. ต้ องมีความรับผิดชอบต่ อสั งคม โดยปฏิบัติให้ สอดคล้องกับ
ประโยชน์ ชนของคนทั่วไป
        3. ต้ องมีความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่
        4. ดารงไว้ ซึ่งชื่อเสี ยงและยึดถือปฏิบัติข้อบังคับของสมาคมการ
จัดการธุรกิจแห่ งประเทศไทย
        5. ละเว้ นการใช้ อานาจหน้ าทีเ่ พือผลประโยชน์ ส่วนตัว
                                          ่
        6. ละเว้ นการปฏิบติทมอคติต่อบุคคลอืน ต้ องตระหนักถึงศักดิ์ศรี
                             ั ี่ ี              ่
ความเสมอภาคของกลุ่มและบุคคล
ธุรกิจในปัจจุบันและอนาคต
          ปัจจุบันการตลาดเป็ นยุคของลูกค้ า ธุรกิจต่ าง ๆ มีการแข่ งขันกัน
อย่ างรุ นแรงเพื่อแย่ งชิ งลูกค้ า ดังนั้นนักธุรกิจจะต้ องสร้ างความได้ เปรียบ
ในการแข่ งขันของกิจการให้ เหนือกว่ าคู่แข่ งขันเพือทีจะได้ รักษาตลาดของ
                                                      ่ ่
กิจการได้ อย่ างต่ อเนื่อง จึงจาเป็ นจะต้ องมีการพัฒนาและปรั บปรุ งสิ นค้ า
และบริการให้ ทนสมัยอยู่ตลอดเวลา
                 ั
          แนวโน้ มธุรกิจในอนาคตคาดว่ าจะต้ องเผชิ ญเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่
สาคัญ เช่ น การขาดแคลนทรั พยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี ความจาเป็ นในเรื่ องของการพัฒนาประสิ ทธิภาพการผลิต
เป็ นต้ น
สรุป


          การประกอบกิจกรรมใดที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ ได้ กาไร เช่ น
บริ ษั ท ห้ า งร้ าน ตลอดจนรั ฐ วิ ส าหกิจ ต่ า ง ๆ เราเรี ย กว่ า ธุ ร กิ จ
สาหรั บการให้ บริ การแก่ ประชาชน โดยจุดมุ่งหมายให้ ประชาชนมี
ความเป็ นอยู่ที่ดีขึ้น การประกอบธุรกิจมีความสาคัญหลายประการ
กล่ าวคือ ช่ วยให้ เศรษฐกิจของชาติมีความเจริ ญก้ าวหน้ าและมั่นคง
ทาให้ ประชาชนมีมาตรฐานการดารงชี วิตที่ดีขึน ช่ วยให้ รัฐมีรายได้
                                                  ้
เพิ่มขึ้น ช่ วยแก้ ปัญหาทางสั งคมและทาให้ เกิดความเจริ ญก้ าวหน้ า
ทางเทคโนโลยี
จบการนาเสนอ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie บทที่1

ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6praphol
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่arm_smiley
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creationsiroros
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการDrDanai Thienphut
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกsupatra39
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 

Ähnlich wie บทที่1 (20)

ิีbs
ิีbsิีbs
ิีbs
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
Sentang project53
Sentang project53Sentang project53
Sentang project53
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 

Mehr von praphol

สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560praphol
 
เอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสเอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสpraphol
 
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองpraphol
 
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชpraphol
 
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้านายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้าpraphol
 
โกอ่าง
โกอ่างโกอ่าง
โกอ่างpraphol
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและpraphol
 
บบที่12
บบที่12บบที่12
บบที่12praphol
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7praphol
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5praphol
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
Magicoflove
MagicofloveMagicoflove
Magicoflovepraphol
 
20things
20things20things
20thingspraphol
 
Jobassign
JobassignJobassign
Jobassignpraphol
 
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวบทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวpraphol
 
ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่
ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่
ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่praphol
 

Mehr von praphol (20)

สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
 
เอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสเอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเส
 
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
 
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
 
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้านายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
 
โกอ่าง
โกอ่างโกอ่าง
โกอ่าง
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
 
บบที่12
บบที่12บบที่12
บบที่12
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
Magicoflove
MagicofloveMagicoflove
Magicoflove
 
20things
20things20things
20things
 
Jobassign
JobassignJobassign
Jobassign
 
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวบทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่
ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่
ติดกระแสโรงแรมสมัยใหม่
 

บทที่1

  • 2. ความหมายและความสาคัญของธุรกิจ ธุรกิจ (Business) คือ ความพยายามของนักธุรกิจในการผลิตและ ขายสิ นค้ าหรือบริ การเพื่อตอบสนองความต้ องการของสั งคมโดยมุ่งหวัง กาไร
  • 3. บริ ษัท ฯลฯ ห้ างร้ าน รัฐวิสาหกิจ
  • 4. วัตถุประสงค์ ของการประกอบธุรกิจ • ต้ องการให้ ได้ กาไรมากที่สุด (Maximized Profit) • หน่ ว ยราชการและองค์ ก าร กุศล โดยไม่ หวังผลตอบแทน
  • 5. 1. การสนองความต้ องการของลูกค้ า ลูกค้ าเห็นความสาคัญ 2. การมุ่งทีประสิ ทธิภาพ ่ • ทันต่ อความต้ องการ • สิ นค้ ามีคุณภาพดี 3. กาไรของธุรกิจ กาไรให้ พอจุนเจือค่ าใช้ จ่าย
  • 6. ความสาคัญของธุรกิจ 1. ธุรกิจช่ วยให้ เศรษฐกิจของชาติมีความเจริญ ก้าวหน้ าและมั่นคง 2. ธุรกิจทาให้ ประชาชนมีมาตรฐานการดารงชีวตทีดขน ิ ่ ี ึ้ 3. ธุรกิจทาให้ รัฐมีรายได้ เพิมขึน ่ ้ 4. ธุรกิจช่ วยแก้ปัญหาทางสั งคม 5. ธุรกิจทาให้ เกิดความเจริญก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี
  • 7. ประโยชน์ ของธุรกิจ 1. ธุรกิจผลิตสิ นค้ าและบริการเพือสนองความต้ องการของมนุษย์ ่ ในสั งคม 2. ธุรกิจช่ วยกระจายสิ นค้ าจากผู้ผลิตไปสู่ ผู้บริโภค 3. ธุรกิจเป็ นแหล่งตลาดแรงงาน 4. ธุรกิจเป็ นแหล่งเพิมรายได้ ให้ แก่รัฐบาล ่ 5. ธุรกิจช่ วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
  • 8. ปัจจัยในการดาเนินธุรกิจ 1. ทรัพยากรวัสดุ (Material resources) หมายถึงทรัพยากรที่เป็ น วัตถุดิบ อาคาร เครื่องจักร และเครื่องมืออุปกรณ์ ทใช้ ในการผลิต ่ี 2. ทรัพยากรมนุษย์ (Human resources) หมายถึง ประชากรที่ ทุ่มเทแรงงานให้ ธุรกิจโดยได้ รับค่าจ้ างตอบแทน 3. ทรัพยากรการเงิน (Financial resources) หมายถึง เงินทุนทีต้อง ่ มีไว้ เพือจ่ ายให้ กบลูกจ้ าง ซื้อวัตถุดิบ และเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินธุรกิจ ่ ั 4. ทรัพยากรข้ อมูล (Informational resources) หมายถึง ข้ อมูลที่ ชี้ให้ ผู้ประกอบการหรือผู้จัดการทราบถึงความมีประสิ ทธิภาพในการใช้ ร่ วมกันของทรัพยากรทั้ง 3 ชนิดแรก
  • 9. ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจการผลิต (Manufacturing) เป็ นธุรกิจทีเ่ ปลียนรูปวัตถุดิบให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูปด้ วย ่ กระบวนการผลิต โดยใช้ แรงงานและฝี มือในการแปรรูป ธุรกิจการผลิต แบ่ งเป็ นกลุ่มได้ ดงนี้ ั 1. ธุรกิจการเกษตร เช่ น การทานา การทาไร่ การทาสวน เป็ นต้ น 2. ธุรกิจร้ านอาหาร เช่ น ร้ านขายก๋วยเตี๋ยว ร้ านขายข้ าวมันไก่ ข้ าวราดแกง เป็ นต้ น 3. ธุรกิจโรงงาน เช่ น โรงงานผลิตนาดื่ม โรงงานทาธูป เทียน เป็ นต้ น ้
  • 10. 4. ธุ ร กิจ ประเภทหั ต ถกรรมและงานศิ ล ปะใช้ ฝี มื อ เช่ น เครื่ องปั้ นดินเผา ดอกไม้ ประดิษฐ์ ของขวัญ ของชาร่ วย จักสาน ทอผ้ าไหม ทาตุ๊กตา เจียระไนพลอย และอืน ๆ เป็ นต้ น ่ 5. ธุ ร กิ จ ประเภทอื่ น ๆ เช่ น ร้ านถ่ า ยรู ป ตกแต่ ง สวน ออกแบบตกแต่ งภายใน ทาเหล็กดัด มุ้งลวด ทากระจก กรอบรู ป หลังคา กันสาด ร้ านประดับยนต์ ติดตั้งเครื่องเสี ยงรถยนต์ เป็ นต้ น
  • 11. ธุรกิจเหมืองแร่ (Mineral) การประกอบธุ รกิ จ เหมื อ งแร่ ได้ แก่ การทาเหมืองแร่ ชนิดต่ าง ๆ การขุด เ จ า ะ ถ่ า น หิ น ก า ร ขุ ด เ จ า ะ น า ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆมาใช้
  • 12. ธุรกิจพาณิชย์ (Commercial) เป็ นธุรกิจที่ทาหน้ าที่กระจายสิ นค้ าที่ผลิตจากอุตสาหกรรมต่ าง ๆ ไปสู่ ผู้ บ ริ โ ภค ท าให้ ผู้ บ ริ โ ภคได้ อุ ป โภคบริ โ ภคสิ น ค้ า ตามความต้ อ งการ ได้ แก่ ธุรกิจพ่อค้ าคนกลาง ผู้ค้าส่ ง ผู้ค้าปลีก ตัวแทนจาหน่ ายสิ นค้ าต่ าง ๆ 1. ธุรกิจค้ าส่ ง (Wholesaling) หมายถึง ธุรกิจที่คนกลางดาเนินการ โดยขายสิ นค้ าต่ อให้ คนกลางอืน ๆ เช่ น การค้ าส่ งอะไหล่ เครื่องใช้ ไฟฟา ค้ า ่ ้ ส่ งยาหรือเวชภัณฑ์ บุหรี่ สุ รา เสื้อผ้ า เป็ นต้ น 2. ธุ รกิจค้ าปลีก (Retailing) หมายถึง ธุ รกิจซึ่ งขายสิ นค้ าจานวน เล็กน้ อยแก่ ผู้บริโภคคนสุ ดท้ ายโดยตรง เช่ น ร้ านขายผลไม้ ร้ านขายยา ร้ าน ขายของชา ร้ านขายเครื่องใช้ ไฟฟา เป็ นต้ น ้
  • 13. ประเภทของธุรกิจค้ าปลีกแบ่ งออกได้ ดังนี้ 2.1 ร้ านค้ าปลีกสายเดี่ยว (Single-line store) เป็ นร้ านที่จาหน่ ายสิ นค้ า หลายชนิดที่อยู่ในสายเดียวกัน เช่ น ร้ านเครื่ องประดับ กระเป๋ า รองเท้ า เป็ น ต้ น 2.2 ร้ านค้ าปลีกเฉพาะอย่ าง (Specialty store) เป็ นร้ านที่จากัดชนิดของ สิ นค้ าทีจาหน่ าย เช่ น ร้ านจาหน่ ายเนคไทจะจาหน่ ายเฉพาะเนคไทอย่ างเดียว ่ 2.3 ร้ านค้ าปลีกสิ นค้ าเบ็ดเตล็ด (Variety store) เป็ นร้ านค้ าที่จาหน่ าย สิ น ค้ า มากมายหลายชนิ ด และราคาไม่ แพง เช่ น เครื่ อ งเขี ย น ถ้ ว ยชาม เครื่องสาอาง ของใช้ ประจาวัน เป็ นต้ น
  • 14. 2.4 ร้ านสรรพสิ นค้ า (Department store) หมายถึงร้ านเฉพาะ อย่ างหลาย ๆร้ าน ที่รวมกันเป็ นร้ านเดียว เป็ นร้ านที่มีขนาดค่ อนข้ างใหญ่ ร้ านสรรพสิ นค้ ามักจะแบ่ งออกเป็ นแผนก ๆ ตามประเภทของสิ นค้ า เช่ น แผนกเครื่องสาอาง แผนกเครื่องใช้ ไฟฟา เป็ นต้ น ้ 2.5 ร้ านสรรพาหาร (Supermarket) เป็ นร้ านค้ าปลีกที่จาหน่ าย สิ นค้ าอุปโภค บริโภคทีใช้ ในครัวเรือนทุกย่ าง เป็ นร้ านค้ าที่แวะครั้งเดียวแต่ ่ สามารถซื้อสิ นค้ าทีต้องการได้ ทุกชนิด ่ 2.6 ร้ านค้ าแบบให้ ส่วนลด (Discount stores) เป็ นร้ านค้ าที่ขาย สิ นค้ าโดยให้ ส่วนลด คือ ตั้งราคาโดยเน้ นราคาต่ากว่ า ซึ่งเป็ นเสมือนสิ่ งจูงใจ ในการจาหน่ าย
  • 15. 2.7 ร้ านค้ าที่จาหน่ ายสิ นค้ าตามสะดวก (Convenience store) เป็ น ร้ านค้ า ที่ มี ลั ก ษณะของการบริ ก ารตนเองและมี ท าเลที่ ต้ั ง ของร้ านค้ า ที่ จาหน่ ายสิ นค้ าตามสะดวก ช่ วยให้ ลูกค้ าซื้อสิ นค้ าประเภทนีได้ ง่าย ้ 2.8 ร้ านค้ าปลีกทางไปรษณีย์ (Mail) เป็ นร้ านค้ าที่ลูกค้ าสามารถ สั่ งซื้อสิ นค้ าทางไปรษณีย์โดยดูจากแคตตาล็อคแล้ วแจ้ งความจานงพร้ อมส่ ง ตั๋วแลกเงินไปยังร้ านค้ า และร้ านค้ าจะจัดส่ งสิ นค้ ามาให้ ตามต้ องการ 2.9 การค้ าปลีกที่จาหน่ ายโดยตรงถึงบ้ าน (House to house retailling) การจาหน่ ายโดยวิธีนีจะมีค่าใช้ จ่ายต่าเพราะไม่ ต้องผ่ านคนกลาง ้ สิ นค้ าที่ชิวิธีจาหน่ ายโดยตรงถึงบ้ าน ได้ แก่ เครื่ องใช้ ในครั วเรื อน เสื้ อผ้ า เครื่องสาอาง เป็ นต้ น
  • 16. ธุรกิจการก่อสร้ าง (Construction) เป็ นธุรกิจทีทาหน้ าทีในการนาวัสดุต่าง ๆ ได้ แก่ อิฐ หิน ปูน ทราย ่ ่ มาใช้ ในการก่ อสร้ าง เช่ น การทาถนน สร้ างอาคาร สร้ างเขื่อน ก่ อสร้ าง โรงพยาบาล เป็ นต้ น ธุรกิจการเงิน (Finance) เป็ นธุ ร กิจ ที่ทาหน้ า ที่ส่งเสริ มให้ ธุร กิจ อื่น ทางานไดคล่ อ งตั วขึ้น เนื่ องจากในการทาธุ รกิจจะต้ องเริ่ มจากการลงทุ น ซึ่ งต้ องใช้ เงินในการ ลงทุน ธุรกิจการเงินจะทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางในการติดต่ อซื้อชายชาระเงิน ระหว่ า งกัน ธุ รกิจที่จัด เป็ นธุ รกิจการเงิน ได้ แก่ ธุ รกิจธนาคาร บริ ษัท ประกันภัย บริษัทการเงิน เป็ นต้ น
  • 17. ธุรกิจให้ บริการ (Service) หมายถึง กิจการทีจาหน่ ายสิ นค้ าในรู ปบริการ ่ ให้ แก่ ผู้บริโภคหรือผู้ผลิต ธุรกิจทีดาเนินธุรกิจในลักษณะให้ บริการสามารถแบ่ ง ่ ออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ ดงนี้ ั 1. ธุรกิจเกียวกับการศึกษา ่ 2. ธุรกิจเกียวกับการคมนาคมขนส่ ง ่ 3. ธุรกิจเกียวกับทีอยู่อาศัย ่ ่ 4. ธุรกิจเกียวกับการติดต่ อสื่ อสารและบริการข้ อมูล ่ 5. ธุรกิจเกียวกับสุ ขภาพพลานามัย ่ 6. ธุรกิจเกียวกับความบันเทิงเริงรมย์ ่ 7. ธุรกิจเกียวกับกีฬา ่ 8. ธุรกิจเกียวกับการประกันภัยและการคลังสิ นค้ า ่
  • 18. 9. ธุรกิจเกียวกับการเงิน ่ 10. ธุรกิจบริการเบ็ดเตล็ดอืน ๆ ่ ธุรกิจอืน ๆ ่ เป็ นธุรกิจทีนอกเหนือจากธุรกิจประเภททีกล่าวมาแล้วข้ างต้ น ่ ่ ได้ แก่ ผู้ประกอบธุรกิจ อาชีพอิสระต่ าง ๆ เช่ น วิศวกร แพทย์ สถาปัตย์ ช่ างฝี มือ ประติมากรรม ฯลฯ
  • 20. 1.1 การเลือกทาเลทีต้ง ่ ั 1.2 การวางผังโรงงาน 1.3 การออกแบบสิ นค้ า 1.4 การกาหนดตารางเวลาการผลิต 1.5 การตรวจสอบสิ นค้ า 2. การจัดหาเงินทุน (Capital) เงินถือว่ าเป็ นปัจจัยทีมีความสาคัญในการประกอบธุรกิจ ผู้ประกอบ ่ ธุรกิจจึงต้ องมีการบริหารเงินทุนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งมีแหล่ งเงินทุน 2 แหล่ ง ดังนี้
  • 21. 2.1 แหล่งเงินทุนภายใน (Internal Sources) เป็ นเงินทุนทีได้ จาก ่ เจ้ าของกิจการ อันได้ แก่เงินทีนามาลงทุน และจากกาไรสะสม ่ 2.2 แหล่งเงินทุนภายนอก (External Sources) เป็ นเงินทุนทีได้ จาก ่ การกู้ยมจากสถาบันต่ าง ๆ เช่ น ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุนและ ื หลักทรัพย์ เป็ นต้ น 3. การจัดหาทรัพยากรด้ านกาลังคน คนถือเป็ นปัจจัยพืนฐานทีสาคัญมากทีสุดในการประกอบธุรกิจ ผู้ ้ ่ ่ ประกอบธุรกิจจะต้ องจัดหาบุคคลทีมีคุณภาพ ให้ เหมาะสมกับงาน ผู้ ่ ประกอบธุรกิจควรพิจารณาดังนี้
  • 22. 3.1 การวางแผนกาลังคน ด้ านจานวน คุณภาพและหน้ าทีความรับผิดชอบ ่ 3.2 การสรรหากาลังคน 3.3 การคัดเลือกและบรรจุ 3.4 การฝึ กอบรม 3.5 การประเมินผลการปฏิบัติ 4. การบริหารการตลาด เป็ นกระบวนการทีทาให้ สินค้ าหรือบริการถึงมือผู้บริโภค เพือ ่ ่ ตอบสนองความต้ องการและสร้ างความพึงพอใจสู งสุ ดแก่ ผู้บริโภค ซึ่งการ บริหารการตลาดผู้ประกอบธุรกิจต้ องอาศัยส่ วนผสมทางการตลาด (Marketing mix) หรือเรียกว่ า 4 P’s เป็ นเครื่องมือทีทาให้ ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจ ได้ แก่ ่
  • 23. 4.1 ผลิตภั ณ ฑ์ (Product) คือ สิ่ ง ที่ธุร กิจ เสนอขายเพื่อ สนองความ ต้ องการของผู้บริโภคให้ พงพอใจ ึ 4.2 ราคา (Price) คือ มูลค่ าผลิตภัณฑ์ ในรู ปตัวเงิน ผู้ประกอบธุรกิจ ต้ องกาหนดราคาให้ เหมาะสม เป็ นทียอมรับของผู้บริโภค ่ 4.3 การจัดจาหน่ าย (Place) คือ กิจกรรมการเคลือนย้ ายผลิตภัณฑ์ จาก ่ ธุรกิจไปยังตลาดเปาหมาย ้ 4.4 การส่ งเสริมการตลาด (Promotion) คือ การติดต่ อสื่ อสารเกียวกับ ่ ข้ อมูลระหว่ าง ผู้ขายกับผู้ซื้อ เพื่อสร้ างทัศนคติและพฤติกรรมการ ซื้อ โดยมีวตถุประสงค์ ทจะชักจูงให้ เกิดการซื้อ ั ี่
  • 24. 1. การแต่ งกายทีสุภาพ สะอาดตา ่ 2. มีอธยาศัย ยิมแย้ ม แจ่ มใส ั ้ 3. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 4. เป็ นผู้มีไหวพริบดี 5. เป็ นผู้ฟังและผู้พูดทีดี ่ 6. เป็ นผู้มองการณ์ ไกล 7. มีความอดทน 8. กล้ าทีจะประสบกับความขาดทุน ่ ฯลฯ
  • 25. จรรยาบรรณ (Ethics) ไม่ ใ ช่ ก ฎหมายแต่ เ ป็ นข้ อ ที่ ค วรปฏิ บั ติ สาหรั บอาชี พใดอาชี พหนึ่ง เช่ น แพทย์ ไม่ ควรเปิ ดเผยความลับของคนไข้ เพราะผิดจรรยาบรรณแพทย์ เป็ นต้ น สาหรับการประกอบธุรกิจก็เช่ นกัน ผู้ ประกอบธุรกิจควรจะแสดงความรับผิดชอบต่ อสั งคมทีเ่ ขาอาศัยอยู่ เช่ น 1. การให้ สิ่ ง ที่ ดี ต่ อ สั ง คม การผลิต สิ่ ง ของที่ ดี มี คุ ณ ภาพให้ กั บ สั งคม การไม่ ปลอมปนสิ นค้ า การเลือกวัตถุดิบที่ไม่ มีอันตรายในการผลิต สิ นค้ า 2. ปฏิบัติตามกฎหมาย เช่ น กฎหมายแรงงาน ลดการเอารั ดเอา เปรียบคนงาน
  • 26. 3. สร้ างงานที่มีการจ้ างแรงงานสู ง เช่ น งานก่อสร้ าง งานการเกษตร 4. การก าหนดราคาสิ นค้ า ไม่ ค วร ก าหนดสู งไปเพื่ อ หวั ง ผลก าไร แต่ ควร พิจารณาถึงความเหมาะสม ไม่ ฉวยโอกาส ขึนราคาในขณะที่เกิดเภทภัยต่ าง ๆ ้ 5. ป องกัน สภาพแวดล้ อ มเป็ นพิษ ้ ในทางธุ รกิจอุตสาหกรรมก็คือสิ่ งแวดล้ อม เป็ นพิษ น้าเสี ย ของเสี ยที่ทับถมบนพืนดิน ้ ผู้ประกอบการธุ รกิจต้ องคานึ งถึงสิ่ งต่ าง ๆ โดยจั ด ระบบการจ ากั ด และป องกั น ให้ ้ เหมาะสม
  • 27. 6. ให้ ความสนับสนุนการศึกษา ธุรกิจจะต้ องให้ การช่ วยเหลือและ สนับสนุนการศึกษาทั้งสถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน อาจทาได้ โดย การให้ ทุนการศึกษา กู้ยมเงิน การฝึ กดูงานของนักศึกษา ื 7. ให้ บริการด้ านสุ ขภาพอนามัยและนันทนาการ ควรช่ วยเหลือ กิจการต่ าง ๆ และให้ บริการด้ านต่ าง ๆ ของสั งคม เช่ น ลูกเสื อชาวบ้ าน การ กุศล กิจกรรมต่ าง ๆ
  • 28.
  • 29. 6. จรรยาบรรณช่ วยเน้ นให้ เห็นชัดเจนยิ่งขึนในภาพพจน์ ที่ดี ้ ของผู้มีจริยธรรม 7. จรรยาบรรณช่ วยกาหนดหน้ าทีพทกษ์ ตามกฎหมายสาหรับผู้ ่ ิ ั ประกอบอาชีพให้ เป็ นไปอย่ างถูกต้ องตามธรรมนองคลองธรรม
  • 30. 1. ก่ อให้ เกิดความเป็ นธรรมต่ อตนเอง และผู้อน ื่ 2. ก่ อให้ เกิดภาพพจน์ ทดต่อสั งคม ี่ ี 3. ก่ อให้ เกิดบรรยากาศทีเ่ หมาะสมแก่ การทางาน 4. ก่ อให้ เกิดมาตรฐานในสิ นค้ าและ บริการทีผลิตขึน ่ ้ 5. ก่ อให้ เกิดความสาเร็จในองค์ กร
  • 31. บทบัญญัตจรรยาบรรณของนักธุรกิจ ิ 1. พึงอนุรักษ์ และถ้ าเป็ นไปได้ ถงปรับปรุงสภาวะแวดล้ อมให้ ดขน ึ ี ึ้ 2. พึ ง ปฏิ บั ติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ผลประโยชน์ ข องชาติ ต ามที่ ไ ด้ กาหนดไว้ ในนโยบายของรัฐเกียวกับเรื่องสภาวะแวดล้ อม ่ 3. พึงรั กษาและปรั บปรุ งมาตรฐานความปลอดภัย เพื่อที่จะขจัด อันตรายอันอาจเกิดต่ อสภาวะแวดล้ อมให้ เหลือน้ อยทีสุด ่ 4. พึงบารุงรักษาซึ่งอาคารสถานที่ให้ อยู่ในสภาพเรียบร้ อย งดงาม และถูกสุ ขลักษณะ 5. พึ ง คิ ด ค้ น ประดิ ษ ฐ์ และจ าหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารให้ เหมาะสม เข้ ากับสภาพแวดล้ อมและเป็ นสิ่ งทีมคุณประโยชน์ ต่อลูกค้ า ่ ี
  • 32. อุดมการณ์ ซึ่งนักธุรกิจพึงมี ได้ แก่ 1. หมั่นประกอบการดีและประพฤติเป็ นคนดี 2. ต้ องมีความรับผิดชอบต่ อสั งคม โดยปฏิบัติให้ สอดคล้องกับ ประโยชน์ ชนของคนทั่วไป 3. ต้ องมีความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่ 4. ดารงไว้ ซึ่งชื่อเสี ยงและยึดถือปฏิบัติข้อบังคับของสมาคมการ จัดการธุรกิจแห่ งประเทศไทย 5. ละเว้ นการใช้ อานาจหน้ าทีเ่ พือผลประโยชน์ ส่วนตัว ่ 6. ละเว้ นการปฏิบติทมอคติต่อบุคคลอืน ต้ องตระหนักถึงศักดิ์ศรี ั ี่ ี ่ ความเสมอภาคของกลุ่มและบุคคล
  • 33. ธุรกิจในปัจจุบันและอนาคต ปัจจุบันการตลาดเป็ นยุคของลูกค้ า ธุรกิจต่ าง ๆ มีการแข่ งขันกัน อย่ างรุ นแรงเพื่อแย่ งชิ งลูกค้ า ดังนั้นนักธุรกิจจะต้ องสร้ างความได้ เปรียบ ในการแข่ งขันของกิจการให้ เหนือกว่ าคู่แข่ งขันเพือทีจะได้ รักษาตลาดของ ่ ่ กิจการได้ อย่ างต่ อเนื่อง จึงจาเป็ นจะต้ องมีการพัฒนาและปรั บปรุ งสิ นค้ า และบริการให้ ทนสมัยอยู่ตลอดเวลา ั แนวโน้ มธุรกิจในอนาคตคาดว่ าจะต้ องเผชิ ญเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ สาคัญ เช่ น การขาดแคลนทรั พยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ความจาเป็ นในเรื่ องของการพัฒนาประสิ ทธิภาพการผลิต เป็ นต้ น
  • 34. สรุป การประกอบกิจกรรมใดที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ ได้ กาไร เช่ น บริ ษั ท ห้ า งร้ าน ตลอดจนรั ฐ วิ ส าหกิจ ต่ า ง ๆ เราเรี ย กว่ า ธุ ร กิ จ สาหรั บการให้ บริ การแก่ ประชาชน โดยจุดมุ่งหมายให้ ประชาชนมี ความเป็ นอยู่ที่ดีขึ้น การประกอบธุรกิจมีความสาคัญหลายประการ กล่ าวคือ ช่ วยให้ เศรษฐกิจของชาติมีความเจริ ญก้ าวหน้ าและมั่นคง ทาให้ ประชาชนมีมาตรฐานการดารงชี วิตที่ดีขึน ช่ วยให้ รัฐมีรายได้ ้ เพิ่มขึ้น ช่ วยแก้ ปัญหาทางสั งคมและทาให้ เกิดความเจริ ญก้ าวหน้ า ทางเทคโนโลยี