SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
{
ไวรัสโคโรน่า 2019
(Novel coronavirus 2019)
CORONAVIRUS
Coronavirus : 2,700+ infected, 80 dead,
8 cases in Thailand
โรคซาร ์ส (Severe Acute
Respiratory Syndrome:
SARS)
Fig 1. Genome organization and phylogenetic history of Ro-BatCoV GCCDC1.
Huang C, Liu WJ, Xu W, Jin T, Zhao Y, et al. (2016) A Bat-Derived Putative Cross-Family Recombinant Coronavirus with a Reovirus
Gene. PLOS Pathogens 12(9): e1005883. https://doi.org/10.1371/journal.ppat.1005883
https://journals.plos.org/plospathogens/article?id=10.1371/journal.ppat.1005883
Modes of transmission of diseases
พบครั้งแรก ๒๐๑๒ ต่อมาเรียกเป็น Middle East
Respiratory Syndrome (MERS)
เชื้อ : Coronavirus ตัวใหม่ ตั้งชื่อเป็น MERS-
CoV มีในสัตว์เช่นอูฐ และ ค้างคาว
ระยะฟักตัวประมาณ ๕ วัน (๒-๑๔ วัน)
อาการ ระบบทางเดินหายใจ ปอดบวม อาจมีอาการ
ท้องร่วงร่วมด้วย (30%)
ร ้อยละ ๕๐ มีอาการรุนแรง multiorgan failure
โดยเฉพาะ ไต
 ร ้อยละ ๒๕ อาการปานกลาง และ
 ร ้อยละ ๒๕ อาการน้อย
อัตราป่วยตาย ประมาณ ๓๘ % ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มี
โรคประจาตัว
ข้อความรู้เกี่ยวกับโรค
MERS
ช่องทางการติดต่อ : สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มี
เชื้อในน้ามูก เสมหะ สารคัดหลั่งในทางเดิน
หายใจ (อุจจาระ?)
แพร่ระบาดจากสัตว์(อูฐ) สู่คน และคนสู่คน
แต่ยังไม่สามารถแพร่ติดต่อได้ง่ายและต่อเนื่อง
(non- sustainable)
Reproductive number (0.7) ในชุมชน
การติดเชื้อในโรงพยาบาลเกิดได้บ่อย มี
ปรากฎการณ์ Superspreader
มีบุคลากรป่วยประมาณร ้อยละ ๒๕ แต่อัตรา
ตายประมาณร ้อยละ ๗ น้อยกว่าคนทั่วไป ๕
ข้อความรู้เกี่ยวกับโรค
MERS
MERS-CoV in Dromedary in the
Middle East
MERS-CoV พบบ่อยในอูฐ แถบทวีปอัฟริกาและ
ตะวันออกกลาง
MERS-CoV พบในอูฐประเทศอียิปต์ที่นาเข้ามา
จากซูดาน เอธิโอเปี ย
พบภูมิคุ้มกันต่อ MERS-CoV-like ในอูฐในเคนยา
ตูนีเซีย ไนจีเรีย และเอธิโอเปี ย
 สรุป :- อูฐน่าจะเป็ นแหล่งโรคของ MERS-CoV (โดยได้มาจากค้างคาว??) แต่เส้นทาง
เข้าสู่คนยังไม่ทราบแน่ชัด
อาการทางคลินิกของโรค MERS-CoV
อาการที่พบบ่อย - ไข้ หนาวสั่น ไอแห้งๆ
- ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
- หอบเหนื่อย
อาการที่พบบ้าง - เจ็บคอ น้ามูกไหล ไอมี
เสมหะ
- ปวดท้อง อาเจียน ท้องเสีย
ผู้ป่ วยอาการรุนแรงมักมีอาการ URI แล้ว
ลุกลามเป็ น
pneumonia ภายใน 1 สัปดาห์
( CDC. Interim Guidance for Health Professional, 2014. )
อาการทางคลินิกของโรค
MERS-CoV (2)
กว้างมากตั้งแต่ ไม่มีอาการ ถึง รุนแรงมาก (อัตรา
ตาย 28-30%)
ระยะฟักตัว 5 วัน (2-13 วัน)
ระยะเวลาจากเริ่มมีอาการถึงนอน รพ. ประมาณ 4
วัน
ระยะเวลาจากเริ่มมีอาการถึงตายประมาณ 12 วัน
ระยะเวลาที่เข้า ICU ถึงตาย 30 วัน (อัตราตาย 58%
ที่ 90 วัน)
( CDC. Interim Guidance for Health Professiona
สรุป :- สิ่งที่น่ากังวลสาหรับ
MERS – CoV (1)
1. ทราบแหล่งรังโรค (น่าจะเป็ นอูฐ) แต่ไม่ทราบ
transmission route
2. ยังไม่ทราบว่าแพร่เชื้อของผู้ป่ วยก่อนมีอาการ
หรือไม่
(SARS – CoV แพร่ตอนมีอาการไข้) แพร่เชื้อ
ได้นานแค่ไหน ????
3. พบ viremia แต่ไม่ทราบว่า viremia พบก่อนมี
อาการหรือไม่
4. อาจไม่มีไข้ อาจพบอาการอื่น ๆ เช่น ท้องเสีย
ก่อนอาการทางเดินหายใจ(ทาให้วินิจฉัยยาก
ขึ้น แพร่เชื้อมากขึ้น)
สรุป :- สิ่งที่น่ากังวลสาหรับ
MERS – CoV (2)
5. อาการ อาการแสดงยังไม่ชัดเจน แต่ที่เด่นชัด
สุดคือ severe pneumonia
6. ไม่ทราบวิธีการติดต่อ จากสัตว์สู่คน
7. ไม่มียารักษา ไม่มียาป้ องกัน ไม่มีวัคซีน
8. พบการแพร่ระบาดจาก คน-สู่-คน แล้ว แต่
Non-sustained transmission และแพร่ใน
โรงพยาบาลพบมากขึ้น
( CIDRAP News; June 13,
วันที่ 20 เมษายน 2555 ประเทศ
จอร ์แดน
รัฐมนตรีสาธารณสุขจอร ์แดนแถลงอ้าง
ว่า ได้รับการยืนยันว่ามีผู้ป่ วยรวม 11
รายที่ติดโรคปอดบวมประหลาดโรคหนึ่ง
4 รายได้รับการรักษา ฟื้นโรคและหาย อีก
6 รายอนุญาตให้กลับบ้านได้แล้ว
มีพยาบาลในหอผู้ป่ วยไอซียูเสียชีวิต 1
ราย ต่อมามีน้องของพยาบาล (อยู่บ้าน
เดียวกันหรือไม่ก็ไม่ทราบ) เสียชีวิต
ตามมาอีก 1 คน
ซาร ์ก้า
,จอร ์แดน
กรุงอัม
มาน
แผนที่ประเทศ
โรคเริ่มอุบัติที่ซาร ์ก้า จอร ์แดน เมษายน
๒๕๕๕
ประเทศ จานวนผู้ป่ วย จานวน
ผู้เสียชีวิต
ซาอุดิอาระเบีย 1,057 467
สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ 81 11
กาตาร ์ 13 5
จอร ์แดน 19 6
โอมาน 6 3
ประเทศอื่นๆ ในตะวันออก
กลาง
12 4
ประเทศในทวีปยุโรป 15 7
เกาหลีใต้ 186 36
ประเทศอื่นๆ 11 7
รวม 1,401 543
จานวนผู้ป่ วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สาย
พันธุ ์2012 พ.ศ. 2555 – 2558 (ถึงวันที่ 30
กรกฎาคม 2558)
อัตราป่ วยตาย ร้อย
สถานการณ์ซาอุดิอาระเบีย
Clinic
C
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
May
เริ่มมีไข้
และไอ Clinic A
Hospital B
(ผู้ป่วยใน)
Hospital D (ผู้ป่วย
นอก)
เก็บเสมหะ
ตรวจหาเชื้อ
MERS-CoV
• พบเชื้อ MERS-
CoV
• มีการแยกโรค
วันที่ 20 พฤษภาคม 2558 ประเทศเกาหลีใต้
พบผู้ป่วยยืนยัน MERS รายแรก
เพศชาย อายุ 68 ปี
มีประวัติเดินทางไปหลายประเทศแถบ
ตะวันออกกลาง
ผู้ป่ วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ ์2012 รายแรกของเกาหลีใต้
ผู้ป่ วยอายุระหว่าง 16 -
84 ปี มัธยฐาน 56 ปี เป็ น
เพศชาย 73 ราย หญิง
52 ราย ไม่ทราบเพศ 1
ราย ผู้ป่ วยเกือบทั้งหมด
ติดเชื้อจากโรงพยาบาล
โดยมีจานวนโรงพยาบาล
ที่เกี่ยวข้อง 55 แห่ง ใน
จานวนนี้มี 10 แห่งที่มี
การแพร่เชื้อทาให้เกิด
ผู้ป่ วยรายใหม่ ซึ่งกระจาย
ใน 4 จังหวัด ได้แก่
Seoul (4 แห่ง),
Gyeonggi (3 แห่ง),
Daejeon (2 แห่ง) และ
สถานการณ์เกาหลีใต้
การกระจายโรงพยาบาล/คลินิกตามที่มีการติดเชื้อในโรงพยาบาล
June 26th, 2015. เกาหลีใต ้
Seoul Asan
clinic
Daecheongdo
hospital
Samsung Seoul Hospital
St. Mary's Hospital in
Pyeongtaek
Konyang
hospital
365 Seoul
clinic
Good Morning Hospital in
Pyeongtaek
SacredHeart
Hospital
145/15 (14.มิย)
Yeouido St. Mary's Hos
บุคลากรทางการแพทย์ (จาก
ข ้อมูลผู้ป่ วย ณ 64 ราย)
รายที่ แหล่งโรค อาชีพ สถานที่รับเชื้อ
1 Case 1 พยาบาล Clinic A
2 Case 1 พยาบาล Hosp. B, 8th floor
3 Case 1 พยาบาล Hosp. B, 8th floor
4 Case 1 แพทย์ Clinic C
5 Case 1 พยาบาล Hosp. B, 7th floor
6 Case 13 แพทย์ Hosp. D, ER
7 Case 13 บุคลากรทาง
การแพทย์
Hosp. D, ER
8 Case 13 บุคลากรทาง
การแพทย์
Hosp. D, ER
การวิเคราะห์ความเสี่ยง
ผู้เดินทางกลับจากตะวันออกกลางยังคงมีความเสี่ยงที่จะ
นาโรคเข้าสู่ประเทศแม้ความเสี่ยงจะไม่มากนัก
ผู้เดินทางจากประเทศเกาหลีใต้จะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นที่
จะนาโรคเข้าสู่ประเทศหากประเทศเกาหลีใต้เริ่มมีการ
แพร่ระบาดในชุมชนเพิ่มขึ้น
คนเกาหลีใต้เดินทางมาไทยประมาณเดือนละ
100,000 คน และคนไทยเดินทางไปเกาหลีใต้
ประมาณเดือนละ 30,000 – 40,000 คน
หากมีผู้เดินทางป่วยเดินทางเข้าประเทศ ความเสี่ยงที่จะมี
การแพร่ระบาดในวงที่ 2 หรือไม่จะขึ้นอยู่กับ
ความสามารถในการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยให้ได้โดยเร็ว
(โรงพยาบาลและคลินิกที่รับผู้เดินทางจึงมีความสาคัญ
สูงมาก)
การสามารถในการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
High risk closed contact
ชุมชน สถานพยาบาล และ
โรงเรียน
สมาชิกในครอบครัว ญาติ ผู้ที่ดูแลผู้ป่ วยขณะที่มีอาการป่ วย
ผู้สัมผัสอื่นๆ ผู้ร่วมเดินทาง ที่สัมผัสผู้ป่ วยโดยตรง หรือสัมผัสสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ หรือ
โดนไอ จาม จากผู้ป่ วยขณะที่มีอาการป่ วย เช่น เพื่อนบ้านที่ช่วยหามผู้ป่ วยขึ้นรถมา รพ.
บุคคลากรทางการแพทย์เจ้าหน้าที่ห้อง Lab ที่สัมผัสผู้ป่ วยโดยตรงหรือสัมผัสสารคัดหลั่งจาก
ผู้ป่ วย โดยไม่ได้ใส่ PPE ที่เหมาะสม
ผู้ป่ วยหรือผู้ที่มาเยี่ยมในแผนกและช่วงเวลาเดียวกับที่มีผู้ป่ วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนของผู้ป่ วย และมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่ วยขณะมีอาการ
High risk closed contact
ในเครื่องบิน
ผู้โดยสารและลูกเรือที่มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่ วย
ผู้โดยสารที่นั่งใกล้กับผู้ป่ วยในระยะ 2 แถวหน้าและหลัง
เจ้าหน้าที่ทุกรายในเครื่องบินที่ผู้ป่ วยโดยสาร
ผู้ร่วม group tour เดียวกับผู้ป่ วย
High risk closed contact
ในรถหรือเรือโดยสาร
ผู้โดยสารและพนักงานที่มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่ วย
ขณะมีอาการ
ผู้โดยสารที่นั่งใกล้กับผู้ป่ วยที่มีอาการในระยะ 2 แถว
หน้าและหลัง ในรถโดยสารหรือเรือขนาดใหญ่
ผู้โดยสารหรือคนขับทุกรายที่โดยสารพร้อมกับผู้ป่ วย
ที่มีอาการในรถตู้หรือรถยนต์ส่วนบุคคลหรือรถ
โดยสารส่วนบุคคล
การติดตามผู้สัมผัส
 เครื่องบินและยานพาหนะอื่นๆ (ในกรณีที่ผู้ป่ วยมี
อาการก่อนหรือระหว่างเดินทาง)
 กรณีของเครื่องบินระหว่างประเทศ : ใช ้ทีมด่านควบคุม
โรค
 กรณีของยานพาหนะที่อยู่ในประเทศ : ใช ้ทีมสานัก
ระบาดฯ (ทีมพิเศษสาหรับ MERS) และสานัก
โรคติดต่อทั่วไป
 ครอบครัว และผู้สัมผัสใกล ้ชิดในชุมชน หรือที่ทางาน :
ใช ้ทีมสานักระบาดฯที่ออกสอบสวนโรคในพื้นที่
ร่วมกับทีมสคร.และสสจ.
 โรงพยาบาล : ใช ้ทีมสานักระบาดฯที่ออกสอบสวนโรค
ในพื้นที่ ร่วมกับทีมสคร.และสสจ.
การสอบสวนและควบคุมโรคใน “ผู้
สัมผัสใกล้ชิด”
ของผู้ป่ วยน่าจะเป็ นหรือยืนยัน MERS
 การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ
 ในรายที่มีอาการ ถึงแม ้ว่าอุณหภูมิไม่ถึง 38 องศา
เซลเซียส ดาเนินการเหมือนกรณีผู้ป่ วยที่ต ้อง
ดาเนินการสอบสวนโรค และเก็บข ้อมูลโดยใช ้
แบบฟอร์ม SARI_AI1, SARI_AI2
 ในรายที่ไม่มีอาการ ทา Nasopharyngeal ร่วมกับ
Throat swab ใส่ใน VTM สีเหลืองโดยรวมไว ้ใน
หลอดเดียวกัน ส่งตรวจ MERS coronavirus
 หากตัวอย่างจากระบบทางเดินหายใจให ้ผลลบ เก็บ
ตัวอย่าง Acute และ Convalescent serum ห่างกัน
14-21 วัน ส่งตรวจที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 การควบคุมโรค
 ในรายที่มีอาการ ให ้นอนโรงพยาบาล ในห ้องแยก
Negative pressure หรือ Modified negative
pressure room และเก็บตัวอย่างส่งตรวจ ถ้าให้ผลลบ
ให้เก็บซ้าทุกวัน ติดต่อกัน 3 วัน หากให ้ผลบวก ให ้
รักษาอยู่ที่รพ.เดิม ห ้ามส่งต่อไปรพ.อื่นยกเว ้นกรณีที่
จาเป็นต่อการรักษาชีวิตผู้ป่ วย และต ้องเตรียมความ
พร ้อมกับโรงพยาบาลปลายทางก่อน
 ในรายที่ไม่มีอาการ ให ้จากัดการเดินทางและจากัด
การคลุกคลีใกล ้ชิดกับผู้อื่นโดยไม่จาเป็น โดยแยก
ระดับของการกักกันตามระดับความเสี่ยง
การสอบสวนและควบคุมโรคใน “ผู้
สัมผัสใกล้ชิด”
ของผู้ป่ วยน่าจะเป็ นหรือยืนยัน MERS
แนวทางในการกักกันผู้สัมผัส
ใกล้ชิดตามระดับความเสี่ยง
ผู้สัมผัสใกล้ชิด
High risk Low risk
Index case
Patient under
investigation
(PUI)
1. การแยกตัวเองเพื่อสังเกตอาการ
(Self isolation)
2. ติดตามโดยไปเยี่ยมที่บ้าน
สอบถามอาการทางเดินหายใจ
และวัดไข้
1. การแยกตัวเองเพื่อสังเกต
อาการ (Self isolation)
2. ติดตามโดยการโทรถามอาการ
ป่ วยทางเดินหายใจ
Probable/
Confirmed
MERS
1. การรับตัวไว้เพื่อสังเกตอาการใน
สถานที่ที่จัดไว้ (Quarantine)
2. ติดตามโดยการ ไปสอบถาม
อาการทางเดินหายใจ และวัดไข้วัน
ละ 2 ครั้ง ในสถานที่กักกันที่เตรียม
ไว้
1. การแยกตัวเองเพื่อสังเกต
อาการ (Self isolation)
2. ติดตามโดยไปเยี่ยมที่บ้าน
สอบถามอาการทางเดินหายใจ
และวัดไข้
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของประเทศ
ไทย
1. ระบบการดูแลผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์
• จัดทาทะเบียนผู้เดินทางเพื่อไปประกอบพิธีฮัจญ์
• ตรวจสุขภาพ
• ให้ความรู้วิธีป้ องกันดูแลตนเอง เช่น ไม่ควรใกล้ชิดคนป่วย
ไม่ควรไปฟาร์มอูฐ ห้ามดื่มนมอูฐ ห้ามกินเนื้อดิบๆ สุกๆ
ล้างมือบ่อยๆ และใส่หน้ากากป้ องกันโรค เป็นต้น
• ฉีดวัคซีนเพื่อป้ องกันโรคไข้หวัดใหญ่และไข้กาฬหลังแอ่น
• จัดทีมแพทย์ดูแลผู้เดินทาง ณ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
• ติดตามเฝ้ าระวังโรคเมื่อกลับถึงประเทศไทยต่อไปอีก 30
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ
ประเทศไทย
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ
ประเทศไทย
2. ค้นหาผู้ป่ วยและผู้ต้องสงสัยโดยเร็ว
1. ที่สนามบิน
• ประกาศแจ้งบนเครื่องบิน
• วัดอุณหภูมิกายผู้เดินทาง มีการติดตั้ง Thermoscan หรือ
Handheld Thermometer
• ให้ข้อมูล (Health beware card) และเบอร ์โทรติดต่อเมื่อมี
อาการผิดปกติ
2. ที่โรงพยาบาล
• คัดกรองผู้ป่วยไข้และไอ
• ให้ผู้ป่วยที่มีอาการไอใส่หน้ากากป้องกันโรค
• ซักประวัติการเดินทาง
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ
ประไทย
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ
ประเทศไทย
3. การแยกและรักษาผู้ป่ วยโดยเร็ว
1.รับผู้ป่วยไว้รักษาในห้องแยกผู้ป่วย (Negative pressure)
2.ตรวจวินิจฉัยให้ได้โดยเร็ว
3.มีห้องปฏิบัติการที่พร ้อมตรวจหาการติดเชื้อ 14 แห่งทั่ว
ประเทศ สามารถตรวจวินิจฉัยโรคได้ภายใน 24 ชั่วโมง
4.ให้การรักษาที่เหมาะสม
5.ป้ องกันการแพร่เชื้อในโรงพยาบาล
1) มีมาตรการป้องกันการติดเชื้อของบุคลากรทาง
การแพทย์
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของประเทศ
ไทย
4. จัดระบบปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
1. สอบสวนควบคุมโรคเร็ว
• ค้นหาผู้สัมผัสให้ได้ทุกราย
• แยกผู้สัมผัส และดาเนินการติดตามผู้สัมผัสต่อเนื่อง 14 วัน/
2. จัดระบบปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
“New normal” ในโลกหลัง COVID-19 ที่ไม่มี
อะไรเหมือนเดิม
เทียบให้ชัดข้อมูล Covid-19 Vaccine
ทาอย่างไร ? เมื่อ COVID เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้ า
ระวัง
ขอขอบคุณ
 ทุกแหล่งข้อมูลที่เผบแพร่ทางสื่อ online
 - google.com
 - กระทรวงสาธารณสุข
 - หน่วยงานอื่น๐ ที่ไม่ได้ออกนาม

More Related Content

Similar to corona virus 65.ppt

แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016sakarinkhul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 Utai Sukviwatsirikul
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่นายสามารถ เฮียงสุข
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV Namchai Chewawiwat
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 

Similar to corona virus 65.ppt (20)

plague
plagueplague
plague
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 
20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report
 
MERS-CoV
MERS-CoVMERS-CoV
MERS-CoV
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
 
CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 

More from praphan khunti

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfpraphan khunti
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfpraphan khunti
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docpraphan khunti
 

More from praphan khunti (10)

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
 

corona virus 65.ppt

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. CORONAVIRUS Coronavirus : 2,700+ infected, 80 dead, 8 cases in Thailand
  • 6. โรคซาร ์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome: SARS)
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. Fig 1. Genome organization and phylogenetic history of Ro-BatCoV GCCDC1. Huang C, Liu WJ, Xu W, Jin T, Zhao Y, et al. (2016) A Bat-Derived Putative Cross-Family Recombinant Coronavirus with a Reovirus Gene. PLOS Pathogens 12(9): e1005883. https://doi.org/10.1371/journal.ppat.1005883 https://journals.plos.org/plospathogens/article?id=10.1371/journal.ppat.1005883
  • 15.
  • 16. Modes of transmission of diseases
  • 17.
  • 18.
  • 19. พบครั้งแรก ๒๐๑๒ ต่อมาเรียกเป็น Middle East Respiratory Syndrome (MERS) เชื้อ : Coronavirus ตัวใหม่ ตั้งชื่อเป็น MERS- CoV มีในสัตว์เช่นอูฐ และ ค้างคาว ระยะฟักตัวประมาณ ๕ วัน (๒-๑๔ วัน) อาการ ระบบทางเดินหายใจ ปอดบวม อาจมีอาการ ท้องร่วงร่วมด้วย (30%) ร ้อยละ ๕๐ มีอาการรุนแรง multiorgan failure โดยเฉพาะ ไต  ร ้อยละ ๒๕ อาการปานกลาง และ  ร ้อยละ ๒๕ อาการน้อย อัตราป่วยตาย ประมาณ ๓๘ % ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มี โรคประจาตัว ข้อความรู้เกี่ยวกับโรค MERS
  • 20.
  • 21. ช่องทางการติดต่อ : สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มี เชื้อในน้ามูก เสมหะ สารคัดหลั่งในทางเดิน หายใจ (อุจจาระ?) แพร่ระบาดจากสัตว์(อูฐ) สู่คน และคนสู่คน แต่ยังไม่สามารถแพร่ติดต่อได้ง่ายและต่อเนื่อง (non- sustainable) Reproductive number (0.7) ในชุมชน การติดเชื้อในโรงพยาบาลเกิดได้บ่อย มี ปรากฎการณ์ Superspreader มีบุคลากรป่วยประมาณร ้อยละ ๒๕ แต่อัตรา ตายประมาณร ้อยละ ๗ น้อยกว่าคนทั่วไป ๕ ข้อความรู้เกี่ยวกับโรค MERS
  • 22. MERS-CoV in Dromedary in the Middle East MERS-CoV พบบ่อยในอูฐ แถบทวีปอัฟริกาและ ตะวันออกกลาง MERS-CoV พบในอูฐประเทศอียิปต์ที่นาเข้ามา จากซูดาน เอธิโอเปี ย พบภูมิคุ้มกันต่อ MERS-CoV-like ในอูฐในเคนยา ตูนีเซีย ไนจีเรีย และเอธิโอเปี ย  สรุป :- อูฐน่าจะเป็ นแหล่งโรคของ MERS-CoV (โดยได้มาจากค้างคาว??) แต่เส้นทาง เข้าสู่คนยังไม่ทราบแน่ชัด
  • 23. อาการทางคลินิกของโรค MERS-CoV อาการที่พบบ่อย - ไข้ หนาวสั่น ไอแห้งๆ - ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ - หอบเหนื่อย อาการที่พบบ้าง - เจ็บคอ น้ามูกไหล ไอมี เสมหะ - ปวดท้อง อาเจียน ท้องเสีย ผู้ป่ วยอาการรุนแรงมักมีอาการ URI แล้ว ลุกลามเป็ น pneumonia ภายใน 1 สัปดาห์ ( CDC. Interim Guidance for Health Professional, 2014. )
  • 24. อาการทางคลินิกของโรค MERS-CoV (2) กว้างมากตั้งแต่ ไม่มีอาการ ถึง รุนแรงมาก (อัตรา ตาย 28-30%) ระยะฟักตัว 5 วัน (2-13 วัน) ระยะเวลาจากเริ่มมีอาการถึงนอน รพ. ประมาณ 4 วัน ระยะเวลาจากเริ่มมีอาการถึงตายประมาณ 12 วัน ระยะเวลาที่เข้า ICU ถึงตาย 30 วัน (อัตราตาย 58% ที่ 90 วัน) ( CDC. Interim Guidance for Health Professiona
  • 25. สรุป :- สิ่งที่น่ากังวลสาหรับ MERS – CoV (1) 1. ทราบแหล่งรังโรค (น่าจะเป็ นอูฐ) แต่ไม่ทราบ transmission route 2. ยังไม่ทราบว่าแพร่เชื้อของผู้ป่ วยก่อนมีอาการ หรือไม่ (SARS – CoV แพร่ตอนมีอาการไข้) แพร่เชื้อ ได้นานแค่ไหน ???? 3. พบ viremia แต่ไม่ทราบว่า viremia พบก่อนมี อาการหรือไม่ 4. อาจไม่มีไข้ อาจพบอาการอื่น ๆ เช่น ท้องเสีย ก่อนอาการทางเดินหายใจ(ทาให้วินิจฉัยยาก ขึ้น แพร่เชื้อมากขึ้น)
  • 26. สรุป :- สิ่งที่น่ากังวลสาหรับ MERS – CoV (2) 5. อาการ อาการแสดงยังไม่ชัดเจน แต่ที่เด่นชัด สุดคือ severe pneumonia 6. ไม่ทราบวิธีการติดต่อ จากสัตว์สู่คน 7. ไม่มียารักษา ไม่มียาป้ องกัน ไม่มีวัคซีน 8. พบการแพร่ระบาดจาก คน-สู่-คน แล้ว แต่ Non-sustained transmission และแพร่ใน โรงพยาบาลพบมากขึ้น ( CIDRAP News; June 13,
  • 27. วันที่ 20 เมษายน 2555 ประเทศ จอร ์แดน รัฐมนตรีสาธารณสุขจอร ์แดนแถลงอ้าง ว่า ได้รับการยืนยันว่ามีผู้ป่ วยรวม 11 รายที่ติดโรคปอดบวมประหลาดโรคหนึ่ง 4 รายได้รับการรักษา ฟื้นโรคและหาย อีก 6 รายอนุญาตให้กลับบ้านได้แล้ว มีพยาบาลในหอผู้ป่ วยไอซียูเสียชีวิต 1 ราย ต่อมามีน้องของพยาบาล (อยู่บ้าน เดียวกันหรือไม่ก็ไม่ทราบ) เสียชีวิต ตามมาอีก 1 คน
  • 29. ประเทศ จานวนผู้ป่ วย จานวน ผู้เสียชีวิต ซาอุดิอาระเบีย 1,057 467 สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ 81 11 กาตาร ์ 13 5 จอร ์แดน 19 6 โอมาน 6 3 ประเทศอื่นๆ ในตะวันออก กลาง 12 4 ประเทศในทวีปยุโรป 15 7 เกาหลีใต้ 186 36 ประเทศอื่นๆ 11 7 รวม 1,401 543 จานวนผู้ป่ วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สาย พันธุ ์2012 พ.ศ. 2555 – 2558 (ถึงวันที่ 30 กรกฎาคม 2558) อัตราป่ วยตาย ร้อย
  • 30.
  • 32.
  • 33. Clinic C 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 May เริ่มมีไข้ และไอ Clinic A Hospital B (ผู้ป่วยใน) Hospital D (ผู้ป่วย นอก) เก็บเสมหะ ตรวจหาเชื้อ MERS-CoV • พบเชื้อ MERS- CoV • มีการแยกโรค วันที่ 20 พฤษภาคม 2558 ประเทศเกาหลีใต้ พบผู้ป่วยยืนยัน MERS รายแรก เพศชาย อายุ 68 ปี มีประวัติเดินทางไปหลายประเทศแถบ ตะวันออกกลาง ผู้ป่ วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ ์2012 รายแรกของเกาหลีใต้
  • 34. ผู้ป่ วยอายุระหว่าง 16 - 84 ปี มัธยฐาน 56 ปี เป็ น เพศชาย 73 ราย หญิง 52 ราย ไม่ทราบเพศ 1 ราย ผู้ป่ วยเกือบทั้งหมด ติดเชื้อจากโรงพยาบาล โดยมีจานวนโรงพยาบาล ที่เกี่ยวข้อง 55 แห่ง ใน จานวนนี้มี 10 แห่งที่มี การแพร่เชื้อทาให้เกิด ผู้ป่ วยรายใหม่ ซึ่งกระจาย ใน 4 จังหวัด ได้แก่ Seoul (4 แห่ง), Gyeonggi (3 แห่ง), Daejeon (2 แห่ง) และ สถานการณ์เกาหลีใต้
  • 36. Seoul Asan clinic Daecheongdo hospital Samsung Seoul Hospital St. Mary's Hospital in Pyeongtaek Konyang hospital 365 Seoul clinic Good Morning Hospital in Pyeongtaek SacredHeart Hospital 145/15 (14.มิย) Yeouido St. Mary's Hos
  • 37. บุคลากรทางการแพทย์ (จาก ข ้อมูลผู้ป่ วย ณ 64 ราย) รายที่ แหล่งโรค อาชีพ สถานที่รับเชื้อ 1 Case 1 พยาบาล Clinic A 2 Case 1 พยาบาล Hosp. B, 8th floor 3 Case 1 พยาบาล Hosp. B, 8th floor 4 Case 1 แพทย์ Clinic C 5 Case 1 พยาบาล Hosp. B, 7th floor 6 Case 13 แพทย์ Hosp. D, ER 7 Case 13 บุคลากรทาง การแพทย์ Hosp. D, ER 8 Case 13 บุคลากรทาง การแพทย์ Hosp. D, ER
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ผู้เดินทางกลับจากตะวันออกกลางยังคงมีความเสี่ยงที่จะ นาโรคเข้าสู่ประเทศแม้ความเสี่ยงจะไม่มากนัก ผู้เดินทางจากประเทศเกาหลีใต้จะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นที่ จะนาโรคเข้าสู่ประเทศหากประเทศเกาหลีใต้เริ่มมีการ แพร่ระบาดในชุมชนเพิ่มขึ้น คนเกาหลีใต้เดินทางมาไทยประมาณเดือนละ 100,000 คน และคนไทยเดินทางไปเกาหลีใต้ ประมาณเดือนละ 30,000 – 40,000 คน หากมีผู้เดินทางป่วยเดินทางเข้าประเทศ ความเสี่ยงที่จะมี การแพร่ระบาดในวงที่ 2 หรือไม่จะขึ้นอยู่กับ ความสามารถในการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยให้ได้โดยเร็ว (โรงพยาบาลและคลินิกที่รับผู้เดินทางจึงมีความสาคัญ สูงมาก) การสามารถในการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56. High risk closed contact ชุมชน สถานพยาบาล และ โรงเรียน สมาชิกในครอบครัว ญาติ ผู้ที่ดูแลผู้ป่ วยขณะที่มีอาการป่ วย ผู้สัมผัสอื่นๆ ผู้ร่วมเดินทาง ที่สัมผัสผู้ป่ วยโดยตรง หรือสัมผัสสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ หรือ โดนไอ จาม จากผู้ป่ วยขณะที่มีอาการป่ วย เช่น เพื่อนบ้านที่ช่วยหามผู้ป่ วยขึ้นรถมา รพ. บุคคลากรทางการแพทย์เจ้าหน้าที่ห้อง Lab ที่สัมผัสผู้ป่ วยโดยตรงหรือสัมผัสสารคัดหลั่งจาก ผู้ป่ วย โดยไม่ได้ใส่ PPE ที่เหมาะสม ผู้ป่ วยหรือผู้ที่มาเยี่ยมในแผนกและช่วงเวลาเดียวกับที่มีผู้ป่ วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนของผู้ป่ วย และมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่ วยขณะมีอาการ
  • 57. High risk closed contact ในเครื่องบิน ผู้โดยสารและลูกเรือที่มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่ วย ผู้โดยสารที่นั่งใกล้กับผู้ป่ วยในระยะ 2 แถวหน้าและหลัง เจ้าหน้าที่ทุกรายในเครื่องบินที่ผู้ป่ วยโดยสาร ผู้ร่วม group tour เดียวกับผู้ป่ วย
  • 58. High risk closed contact ในรถหรือเรือโดยสาร ผู้โดยสารและพนักงานที่มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่ วย ขณะมีอาการ ผู้โดยสารที่นั่งใกล้กับผู้ป่ วยที่มีอาการในระยะ 2 แถว หน้าและหลัง ในรถโดยสารหรือเรือขนาดใหญ่ ผู้โดยสารหรือคนขับทุกรายที่โดยสารพร้อมกับผู้ป่ วย ที่มีอาการในรถตู้หรือรถยนต์ส่วนบุคคลหรือรถ โดยสารส่วนบุคคล
  • 59. การติดตามผู้สัมผัส  เครื่องบินและยานพาหนะอื่นๆ (ในกรณีที่ผู้ป่ วยมี อาการก่อนหรือระหว่างเดินทาง)  กรณีของเครื่องบินระหว่างประเทศ : ใช ้ทีมด่านควบคุม โรค  กรณีของยานพาหนะที่อยู่ในประเทศ : ใช ้ทีมสานัก ระบาดฯ (ทีมพิเศษสาหรับ MERS) และสานัก โรคติดต่อทั่วไป  ครอบครัว และผู้สัมผัสใกล ้ชิดในชุมชน หรือที่ทางาน : ใช ้ทีมสานักระบาดฯที่ออกสอบสวนโรคในพื้นที่ ร่วมกับทีมสคร.และสสจ.  โรงพยาบาล : ใช ้ทีมสานักระบาดฯที่ออกสอบสวนโรค ในพื้นที่ ร่วมกับทีมสคร.และสสจ.
  • 60. การสอบสวนและควบคุมโรคใน “ผู้ สัมผัสใกล้ชิด” ของผู้ป่ วยน่าจะเป็ นหรือยืนยัน MERS  การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ  ในรายที่มีอาการ ถึงแม ้ว่าอุณหภูมิไม่ถึง 38 องศา เซลเซียส ดาเนินการเหมือนกรณีผู้ป่ วยที่ต ้อง ดาเนินการสอบสวนโรค และเก็บข ้อมูลโดยใช ้ แบบฟอร์ม SARI_AI1, SARI_AI2  ในรายที่ไม่มีอาการ ทา Nasopharyngeal ร่วมกับ Throat swab ใส่ใน VTM สีเหลืองโดยรวมไว ้ใน หลอดเดียวกัน ส่งตรวจ MERS coronavirus  หากตัวอย่างจากระบบทางเดินหายใจให ้ผลลบ เก็บ ตัวอย่าง Acute และ Convalescent serum ห่างกัน 14-21 วัน ส่งตรวจที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • 61.  การควบคุมโรค  ในรายที่มีอาการ ให ้นอนโรงพยาบาล ในห ้องแยก Negative pressure หรือ Modified negative pressure room และเก็บตัวอย่างส่งตรวจ ถ้าให้ผลลบ ให้เก็บซ้าทุกวัน ติดต่อกัน 3 วัน หากให ้ผลบวก ให ้ รักษาอยู่ที่รพ.เดิม ห ้ามส่งต่อไปรพ.อื่นยกเว ้นกรณีที่ จาเป็นต่อการรักษาชีวิตผู้ป่ วย และต ้องเตรียมความ พร ้อมกับโรงพยาบาลปลายทางก่อน  ในรายที่ไม่มีอาการ ให ้จากัดการเดินทางและจากัด การคลุกคลีใกล ้ชิดกับผู้อื่นโดยไม่จาเป็น โดยแยก ระดับของการกักกันตามระดับความเสี่ยง การสอบสวนและควบคุมโรคใน “ผู้ สัมผัสใกล้ชิด” ของผู้ป่ วยน่าจะเป็ นหรือยืนยัน MERS
  • 62. แนวทางในการกักกันผู้สัมผัส ใกล้ชิดตามระดับความเสี่ยง ผู้สัมผัสใกล้ชิด High risk Low risk Index case Patient under investigation (PUI) 1. การแยกตัวเองเพื่อสังเกตอาการ (Self isolation) 2. ติดตามโดยไปเยี่ยมที่บ้าน สอบถามอาการทางเดินหายใจ และวัดไข้ 1. การแยกตัวเองเพื่อสังเกต อาการ (Self isolation) 2. ติดตามโดยการโทรถามอาการ ป่ วยทางเดินหายใจ Probable/ Confirmed MERS 1. การรับตัวไว้เพื่อสังเกตอาการใน สถานที่ที่จัดไว้ (Quarantine) 2. ติดตามโดยการ ไปสอบถาม อาการทางเดินหายใจ และวัดไข้วัน ละ 2 ครั้ง ในสถานที่กักกันที่เตรียม ไว้ 1. การแยกตัวเองเพื่อสังเกต อาการ (Self isolation) 2. ติดตามโดยไปเยี่ยมที่บ้าน สอบถามอาการทางเดินหายใจ และวัดไข้
  • 63. มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของประเทศ ไทย 1. ระบบการดูแลผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ • จัดทาทะเบียนผู้เดินทางเพื่อไปประกอบพิธีฮัจญ์ • ตรวจสุขภาพ • ให้ความรู้วิธีป้ องกันดูแลตนเอง เช่น ไม่ควรใกล้ชิดคนป่วย ไม่ควรไปฟาร์มอูฐ ห้ามดื่มนมอูฐ ห้ามกินเนื้อดิบๆ สุกๆ ล้างมือบ่อยๆ และใส่หน้ากากป้ องกันโรค เป็นต้น • ฉีดวัคซีนเพื่อป้ องกันโรคไข้หวัดใหญ่และไข้กาฬหลังแอ่น • จัดทีมแพทย์ดูแลผู้เดินทาง ณ ประเทศซาอุดิอาระเบีย • ติดตามเฝ้ าระวังโรคเมื่อกลับถึงประเทศไทยต่อไปอีก 30
  • 64. มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ ประเทศไทย มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ ประเทศไทย 2. ค้นหาผู้ป่ วยและผู้ต้องสงสัยโดยเร็ว 1. ที่สนามบิน • ประกาศแจ้งบนเครื่องบิน • วัดอุณหภูมิกายผู้เดินทาง มีการติดตั้ง Thermoscan หรือ Handheld Thermometer • ให้ข้อมูล (Health beware card) และเบอร ์โทรติดต่อเมื่อมี อาการผิดปกติ 2. ที่โรงพยาบาล • คัดกรองผู้ป่วยไข้และไอ • ให้ผู้ป่วยที่มีอาการไอใส่หน้ากากป้องกันโรค • ซักประวัติการเดินทาง
  • 65. มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ ประไทย มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของ ประเทศไทย 3. การแยกและรักษาผู้ป่ วยโดยเร็ว 1.รับผู้ป่วยไว้รักษาในห้องแยกผู้ป่วย (Negative pressure) 2.ตรวจวินิจฉัยให้ได้โดยเร็ว 3.มีห้องปฏิบัติการที่พร ้อมตรวจหาการติดเชื้อ 14 แห่งทั่ว ประเทศ สามารถตรวจวินิจฉัยโรคได้ภายใน 24 ชั่วโมง 4.ให้การรักษาที่เหมาะสม 5.ป้ องกันการแพร่เชื้อในโรงพยาบาล 1) มีมาตรการป้องกันการติดเชื้อของบุคลากรทาง การแพทย์
  • 66. มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของประเทศ ไทย 4. จัดระบบปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 1. สอบสวนควบคุมโรคเร็ว • ค้นหาผู้สัมผัสให้ได้ทุกราย • แยกผู้สัมผัส และดาเนินการติดตามผู้สัมผัสต่อเนื่อง 14 วัน/ 2. จัดระบบปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
  • 67. “New normal” ในโลกหลัง COVID-19 ที่ไม่มี อะไรเหมือนเดิม
  • 69. ทาอย่างไร ? เมื่อ COVID เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้ า ระวัง
  • 70. ขอขอบคุณ  ทุกแหล่งข้อมูลที่เผบแพร่ทางสื่อ online  - google.com  - กระทรวงสาธารณสุข  - หน่วยงานอื่น๐ ที่ไม่ได้ออกนาม