SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 49
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเขียนโครงร่างงานวิจัยในการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การเขียนโครงร่างงานวิจัยในการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
โครงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการ
การอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงร่างงานวิจัย
ในการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันอังคารที่ 25 ธันวาคม 2561
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการอบรม
โครงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการ
การอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงร่างงานวิจัยในการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันอังคารที่ 25 ธันวาคม 2561
วิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
prachyanun@hotmail.com
http://www.prachyanun.com
081-7037515 prachyanunn@gmail.com
ปรับทัศนคติ
“ข้อเสนอโครงการวิจัย คนละเรื่องกับเค้าโครงวิทยานิพนธ์”
เครือข่ายวิจัย คอบช. 6 ส.
สวรส. วัณโรค
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กลุ่มที่ 8
ยุทธศาสตร์ที่ 8
ตัวอย่างแผนงานวิจัย
ตัวอย่างแผนงานวิจัย#
Research Program : แผนงานวิจัย
Research Project : โครงการวิจัย
1. ผู้รับผิดชอบประกอบด้วย
1.1 หัวหน้าโครงการ ระบุชื่อหัวหน้าโครงการ หน่วยงาน หมายเลขบัตรประจาตัว
ประชาชน สถานที่ติดต่อหมายเลขโทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ โทรสาร และ E-mail *กรุณาระบุให้
ชัดเจนเพื่อประโยชน์ของท่านในการติดต่อกลับ*
1.2 ผู้ร่วมงานวิจัย ระบุชื่อผู้ร่วมวิจัย หน่วยงาน พร้อมทั้งสถานที่ติดต่อหมายเลขโทรศัพท์
โทรศัพท์มือถือ โทรสาร และ E-mail และอธิบายถึงลักษณะและสัดส่วนของงานที่แต่ละคน
รับผิดชอบ
1.3 ที่ปรึกษาโครงการวิจัย ระบุชื่อที่ปรึกษาโครงการ หน่วยงาน สถานที่ติดต่อหมายเลข
โทรศัพท์ โทรสาร และ E-mail
1.4 หน่วยงานหลัก ระบุชื่อหน่วยงานหลักในระดับกลุ่ม/กอง/สานัก/กรม/กระทรวง หรือ
ภาควิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย/กระทรวง พร้อมสถานที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร
1.5 หน่วยงานสนับสนุน ระบุชื่อหน่วยงานสนับสนุน พร้อมรายละเอียดเช่นเดียวกับ
ข้อ 1.4
หนังสือรับรองที่ปรึกษา
2. ประเภทการวิจัย
ประเภทของการวิจัย (Type of Research) หมายถึง การวิจัยและพัฒนา (R&D) ประกอบด้วย
1.1 การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research หรือ Pure Research หรือ Theoretical
Research) เป็นการศึกษาค้นคว้าในทางทฤษฎี หรือในห้องทดลองเพื่อหาความรู้ใหม่ ๆ
เกี่ยวกับสมมติฐานของปรากฏการณ์ และความจริงที่สามารถสังเกตได้ หรือเป็นการวิเคราะห์หา
คุณสมบัติโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ต่าง ๆ เพื่อตั้งและทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis)
ทฤษฎี (Theories) และกฎต่าง ๆ (Laws) โดยมิได้มุ่งหวังที่จะใช้ประโยชน์โดยเฉพาะ
1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) เป็นการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาความรู้ใหม่ ๆ
และมีวัตถุประสงค์เพื่อนาความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเป็นการนาเอาความรู้
และวิธีการต่าง ๆ ที่ได้จากการวิจัยขั้นพื้นฐานมาประยุกต์ใช้อีกต่อหนึ่ง หรือหาวิธีใหม่ ๆ เพื่อ
บรรลุเป้าหมายที่ได้ระบุไว้แน่ชัดล่วงหน้า
1.3 การพัฒนาทดลอง (Experimental Development) เป็นงานที่ทาอย่างเป็นระบบ
โดยใช้ความรู้ที่ได้รับจากการวิจัยและประสบการณ์ที่มีอยู่ เพื่อสร้างวัสดุ ผลิตภัณฑ์และเครื่องมือ
ใหม่ เพื่อการติดตั้งกระบวนการ ระบบและบริการใหม่ หรือเพื่อการปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นให้
ดีขึ้น
3. สาขาวิชาการและกลุ่มวิชาที่ทาการวิจัย
3.1 สาขาวิทยาศาสตร์ กายภาพและคณิตศาสตร์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชา
คณิตศาสตร์และสถิติ ฟิ สิกส์ ดาราศาสตร์ วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโลกและอวกาศ
ธรณีวิทยา อุทกวิทยา สมุทรศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา ฟิสิกส์ของสิ่งแวดล้อม และอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้อง
3.2 สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์การแพทย์
แพทยศาสตร์ สาธารณสุข เทคนิคการแพทย์ พยาบาลศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์
สังคมศาสตร์การแพทย์ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.3 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประกอบด้วยกลุ่มวิชา อนินทรีย์เคมี อินทรีย์
เคมี ชีวเคมี เคมีอุตสาหกรรม อาหารเคมี เคมีโพลิเมอร์ เคมีวิเคราะห์ ปิโตรเลียม เคมี
สิ่งแวดล้อม เคมีเทคนิค นิวเคลียร์เคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ เคมีชีวภาพ เภสัชเคมีและเภสัช
วิเคราะห์ เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชกรรม เภสัชวิทยาและพิษวิทยา เครื่องสาอาง เภสัช
เวช เภสัชชีวภาพ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สาขาวิชาการ ประกอบด้วย #2
3.4 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประกอบด้วยกลุ่มวิชา ทรัพยากรพืช การป้องกันกาจัดศัตรูพืช
ทรัพยากรสัตว์ ทรัพยากรประมง ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรนาเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร ระบบเกษตร
ทรัพยากรดิน ธุรกิจการเกษตร วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร วิทยาศาสตร์
ชีวภาพ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.5 สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย ประกอบด้วยกลุ่มวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
พืนฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหกรรมวิจัย และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.6 สาขาปรัชญา ประกอบด้วยกลุ่มวิชา ปรัชญา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วรรณคดี ศิลปกรรม ภาษา
สถาปัตยกรรม ศาสนา และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.7 สาขานิติศาสตร์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชา กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมาย
เศรษฐกิจ กฎหมายธุรกิจ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายวิธีพิจารณาความ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.8 สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
นโยบายศาสตร์ อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันทางการเมือง ชีวิตทางการเมือง สังคมวิทยาทางการเมือง ระบบ
การเมือง ทฤษฎีการเมือง รัฐประศาสนศาสตร์ มติสาธารณะ ยุทธศาสตร์เพื่อความมั่นคง เศรษฐศาสตร์การเมือง
และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สาขาวิชาการ ประกอบด้วย #3
3.9 สาขาเศรษฐศาสตร์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชา เศรษฐศาสตร์ พาณิชยศาสตร์ บริหารธุรกิจ
การบัญชี และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.10 สาขาสังคมวิทยา ประกอบด้วยกลุ่มวิชา สังคมวิทยา ประชากรศาสตร์ มานุษยวิทยา
จิตวิทยาสังคม ปัญหาสังคม สังคมศาสตร์ อาชญาวิทยา กระบวนการยุติธรรม มนุษย์นิเวศวิทยาและ
นิเวศวิทยาสังคม พัฒนาสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิศาสตร์สังคม การศึกษาความเสมอภาคระหว่าง
เพศ คติชนวิทยา และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.11 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์
โทรคมนาคม การสื่อสารด้วยดาวเทียม การสื่อสารเครือข่าย การสารวจและรับรู้จากระยะไกล ระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ นิเทศศาสตร์ บรรณารักษ์ศาสตร์ เทคนิคพิพิธภัณฑ์และ
ภัณฑาคาร และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.12 สาขาการศึกษา ประกอบด้วยกลุ่มวิชา พื้นฐานการศึกษา หลักสูตรและการสอน การวัด
และประเมินผลการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา บริหารการศึกษา จิตวิทยาและการแนะแนวการศึกษา
การศึกษานอกโรงเรียน การศึกษาพิเศษ พลศึกษา และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. มาตรฐานการวิจัย (ถ้ามี)
ระบุว่าการวิจัยมีการดาเนินการตามมาตรฐานการวิจัย เช่น การใช้สัตว์ทดลอง
การวิจัยในคน มาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพด้านพันธุวิศวกรรม หรือ
การใช้ห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี พร้อมเอกสารประกอบตาม
รายละเอียดข้อ 22
5. คาสาคัญ (Keyword) ของการวิจัย
ระบุคาสาคัญที่มีความสาคัญต่อชื่อเรื่องหรือเนื้อหาของเรื่องที่ทา
การวิจัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ครบถ้วน ทั้งนี้เพื่อ
ประโยชน์ในการนาไปใช้ในการเลือกหรือค้นหาเอกสารที่มีชื่อเรื่อง
ประเภทเดียวกันกับเรื่องที่ทาการวิจัยได้
- คาสาคัญ ควรสอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ
- คาสาคัญ 3-6 คา และสาคัญจริง ๆ
- คาสาคัญคือ ตัวแปรที่ศึกษา และเป็นคาที่เป็นสากล ใหม่
ใหญ่ ยาก ลึก .... โดนใจกรรมการ
6. ความสาคัญและที่มาของปัญหา
แสดงให้เห็นถึงความสาคัญที่จาเป็นต้องทาการวิจัยเรื่องนี้
รวมถึงความสอดคล้องหรือการตอบสนองยุทธศาสตร์การ
พัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ
7. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ระบุวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยอย่างชัดเจนและเรียง
ตามลาดับความสาคัญเป็นข้อ ๆ โดยมีความเชื่อมโยงกับ
ความสาคัญและที่มาของปัญหา
- วัตถุประสงค์ ไม่ใช่อานิสงฆ์ (ไม่ใช่ประโยชน์)
- วัตถุประสงค์ จะส่งผลโดยตรงต่อขั้นตอนการวิจัย
- วัตถุประสงค์ สามารถแสดงการแก้ไขปัญหาได้
- วัตถุประสงค์ ควรแสดงนวัตกรรมและผลนาไปใช้งานได้
8. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (Information)
ที่เกี่ยวข้อง
ให้ระบุเนื้อหาโดยสรุปของเอกสารที่เกี่ยวข้อง พร้อมข้อมูลสถิติและ
เหตุผลที่เป็นไปได้จากทฤษฎี/สมมติฐานในสาขาวิชาการที่เกี่ยวข้อง
โดยบรรยายให้เชื่อมโยงกับประเด็นที่จะทาการวิจัย
- เฉพาะเอกสารสาคัญ งานวิจัยที่สาคัญ ความเป็นไปได้
- ทฤษฎีและหลักการ เหตุผลเชิงนโยบาย
- ไม่ใช่นาบทที่ 2 มาใส่ทั้งหมด
- ไม่ต้องเยอะ ไม่ต้องหนา ไม่ต้องกลัวเขาว่าไม่เก่ง
- อ้างอิงทันสมัย ใหม่
9. ขอบเขตของการวิจัย
ระบุขอบเขตของการวิจัยในเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพที่เชื่อมโยงกับ
ปัญหาที่ทาการวิจัย แต่ไม่สามารถกาหนดโดยตรงในชื่อโครงการวิจัย
และวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยได้
- ขอบเขตการศึกษา / ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- ขอบเขตพื้นที่
- ขอบเขตระยะเวลา
- ขอบเขตการวิจัยและพัฒนา
- *** ไม่ควรใส่ข้อจากัดการวิจัย เพราะทาให้ด้อยค่า ***
10. ทฤษฎี สมมติฐาน และ/หรือกรอบแนวความคิดของการวิจัย
แสดงทฤษฎี สมมติฐานและ/หรือกรอบแนวความคิดที่เกี่ยวข้อง โดย
แสวงหาเหตุผลที่น่าจะเป็นไปได้จากทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทา
การวิจัยแล้วนามาสังเคราะห์เป็นสมมติฐาน (ถ้ามี) และกรอบ
แนวความคิดของโครงการวิจัย
- กรอบแนวคิดวิจัย (Conceptual Framework)
- กรอบแนวคิดทฤษฎี (Theoretical Framework)
- กรอบการสังเคราะห์องค์ความรู้ใหม่ (Synthesis)
11. เอกสารอ้างอิงของการวิจัย
ระบุเอกสารที่ใช้อ้างอิง (Reference) ของการวิจัยตามระบบสากล
- Mandalay
- End Note
12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
แสดงความคาดหมายศักยภาพและวิธีการหรือแนวทางที่จะนา
ผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ระบุได้มากกว่า 1 ข้อ พร้อมระบุ
กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับประโยชน์และผลกระทบจากผลงานวิจัยที่
คาดว่าจะเกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน หากมีผู้ประสงค์จะนา
ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เช่น ภาคเอกชน ชุมชน เป็นต้น ให้ทา
หนังสือรับรอง ดังแบบ คอบช. 4 แนบข้อเสนอการวิจัยด้วย
- ประโยชน์เป็นรูปธรรม แก้ปัญหา และเป็นนวัตกรรม
- ประโยชน์ต้องไม่ขึ้นหิ้ง ต้องจับต้องได้ ต้องมีผู้ได้รับประโยชน์
12.1 หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์
13. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย
เมื่อสิ้นสุดการวิจัย
ให้แสดงแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่
กลุ่มเป้าหมายหรือส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาขั้น
ต่อไปที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการวิจัย โดยระบุ
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการถ่ายทอด ระยะเวลา สถานที่ ฯลฯ ให้
ชัดเจน
- ขั้นตอนการวิจัยจึงควรมีการนาผลการวิจัยไปใช้งานด้วย
- กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้ที่จะได้รับประโยชน์จากการวิจัยนั่นเอง
14. วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง/เก็บข้อมูล
อธิบายขั้นตอนวิธีการทาการวิจัย อาทิ การเก็บข้อมูล การกาหนดพื้นที่
ประชากรตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนและวิธีการในการวิเคราะห์ข้อมูล
ฯลฯ รวมทั้งระบุสถานที่ที่จะใช้เป็นที่ทาการวิจัย/เก็บข้อมูลให้ครบถ้วนและ
ชัดเจนเพื่อประโยชน์ในการเสนอของบประมาณ
- อย่าเขียนเหมือนบทที่ 3 วิทยานิพนธ์ เพราะแสดงความเป็นมือสมัครเล่น
- เขียนเป็นระยะตามวัตถุประสงค์การวิจัย ถ้ามีวัตถุประสงค์ 4 ข้อ ก็เขียน
เป็น 4 ระยะ แบ่งช่วงเวลา ให้เสร็จใน 6-9 เดือน
- ต้องเหลือเวลาสาหรับเขียนสรุป 5 บท และตีพิมพ์บทความวิจัย
- ระบุงบประมาณในแต่ละระยะการวิจัย
- ทาให้ได้ตามระยะเวลาที่กาหนด
15. ระยะเวลาทาการวิจัย และแผนการดาเนินงานตลอด
โครงการวิจัย
กิจกรรม
เดือน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
ระยะที่ 1
ระยะที่ 2
ระยะที่ 3
ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการทาการวิจัยไม่ควรเกิน 1 ปี รวมทั้งระบุขั้นตอนและระยะเวลา
ของแผนการดาเนินงาน (Gantt Chart) โดยละเอียด ทั้งนี้กรณีของบประมาณเป็น
โครงการต่อเนื่อง ระยะเวลาดาเนินการมากกว่า 1 ปี ให้จัดทาแยกเป็นรายปี และ คอบช.
จะให้การสนับสนุนงบประมาณเป็นรายปีโดยไม่มีความผูกพันกับปีถัดไป
16. เป้าหมายของผลผลิต (Output) และตัวชี้วัด
ระบุผลผลิตของงานวิจัยอย่างเป็นรูปธรรมที่สามารถประยุกต์เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ได้ ทั้งนี้ต้องระบุตัวชี้วัดที่แสดงถึงการบรรลุเป้าหมายในระดับผลผลิตที่
เกิดขึ้นในด้านความประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ เวลา และต้นทุน โดยให้จัดทาข้อมูลในรูปแบบดังตารางที่ 1 กรณีมี
ระยะเวลาดาเนินการวิจัยเกิน 1 ปี ให้ระบุแยกเป็นรายปี
- ทุนวิจัยให้ความสาคัญกับผลผลิตที่เป็นรูปธรรม นวัตกรรมและตอบโจทย์
ยุทธศาสตร์ชาติ ต้องการผลวิจัยขึ้นห้าง ขายได้ ต่อยอดธุรกิจ
- ทุนวิจัยไม่ต้องการเป้าหมายที่เป็น แนวทาง, แนวคิด , หลักการ, ผลการ
สารวจ, ความคิดเห็น ความพึงพอใจ ฯลฯ นั่นคือผลวิจัยขึ้นหิ้ง
16. เป้าหมายของผลผลิต (Output) และตัวชี้วัด # 2
ผลผลิต
ตัวชี้วัด
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เวลา ต้นทุน
สิ่งที่ได้
ตารางที่ 1 แสดงผลผลิตและตัวชี้วัดของโครงการวิจัย *****
17. เป้าหมายของผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัด
ระบุปริมาณของผลที่เกิดขึ้นหรือผลต่อเนื่องจากผลผลิตที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ/หรือ
ผู้ใช้ อาทิ ชุมชน องค์กร ประเทศ สภาพแวดล้อม ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ทั้งนี้ควร
จัดทาแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมายดังกล่าว และต้องระบุ
ตัวชี้วัดที่แสดงถึงการบรรลุเป้าหมายในระดับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในด้านความประหยัด
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา และต้นทุน โดยให้จัดทาข้อมูลใน
รูปแบบดังตารางที่ 2 กรณีมีระยะเวลาดาเนินการวิจัยเกิน 1 ปี ให้ระบุแยกเป็นรายปี
- ทุนวิจัยไม่ต้องการให้ทาเพื่อคนบางคน บางกลุ่ม บางพวก แต่ต้องการให้ทาให้คนทั้ง
ประเทศได้ประโยชน์ ควรระบุเชิงปริมาณของผลลัพธ์ในเชิงจานวนผู้รับประโยชน์
จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้ใช้ประโยชน์ผลการวิจัย
- ทุนวิจัยต้องการผลลัพธ์เชิงคุณภาพที่วัดได้ ไม่ต้องการผลลัพธ์ที่มองไม่เห็น ไม่ควร
ระบุ ผลลัพธ์ที่เป็นนามธรรม
17. เป้าหมายของผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัด # 2
ผลลัพธ์
ตัวชี้วัด
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เวลา ต้นทุน
กลุ่มเป้าหมาย
ตารางที่ 2 แสดงผลลัพธ์และตัวชี้วัดของโครงการวิจัย *****
18. ปัจจัยที่เอื้อต่อการวิจัยที่มีอยู่
- ได้รับทุนวิจัยต่อเนื่อง
- ทุนวิจัยต่อยอดผลการวิจัยเดิม
- แก้ปัญหาสาเร็จต้องการทุนต่อเนื่อง
- เครื่องมือและครุภัณฑ์มีอยู่แล้ว
- หน่วยงานอื่น ๆ ที่สนับสนุน
- MOU กับเอกชนเพื่อผลิตทางการค้า
- ฯลฯ
19.งบประมาณของโครงการวิจัย
19.1 แสดงรายละเอียดงบประมาณของโครงการวิจัยย่อย หรือโครงการวิจัย
เดี่ยว เฉพาะปีที่เสนอขอ โดยแยกตามงบประเภทต่าง ๆ ให้ชัดเจน เป็นหมวด
ดังนี งบบุคลากร งบดาเนินการ (ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าธรรมเนียม
อุดหนุนสถาบัน ฯลฯ) งบลงทุน (ครุภัณฑ์ต้องชี้แจงเหตุผลความจาเป็นพร้อมใบ
เสนอราคา)
( )
1.
1.1
1.2 ....
2.
2.1
2.2
2.3 ...
3.
3.1
3.2 ...
4. ( )
19.งบประมาณของโครงการวิจัย #2
19.2 แสดงรายละเอียดภาพรวมของงบประมาณที่เสนอขอในแต่ละปีตลอดโครงการ
ระยะ
ดาเนินการ
งบประมาณที่เสนอขอ (บาท)
งบบุคลากร ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ
ค่าธรรมเนียม
อุดหนุนสถาบัน
ครุภัณฑ์ รวม
ระยะที่1
ระยะที่2
ระยะที่3
20. ระดับความสาเร็จของงาน ผลสาเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยตาม
แผนการบริหารงาน และแผนการดาเนินงานตลอดแผนงานวิจัย
แสดงข้อมูลหรืออธิบายถึงผลผลิต (Output) ที่ได้จากงานวิจัยในแต่ละปี
ตลอดการวิจัย โดยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของแผนงานวิจัยและ
นาไปสู่การประยุกต์ใช้ความคุ้มค่าของงบประมาณที่จะใช้ทาการวิจัย ซึ่ง
จะนาไปสู่ผลสาเร็จที่เป็นผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact)
ที่คาดว่าจะได้รับ โดยสอดคล้องตามแผนการดาเนินงานตลอดแผน
งานวิจัย/โครงการวิจัย พร้อมทั้งระบุประเภทผลสาเร็จของงานวิจัยเป็น
อักษรย่อ ซึ่งจาแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ (กรณีเป็นโครงการวิจัยย่อย
ภายใต้แผนงานวิจัยจะต้องอธิบายผลกระทบที่มีต่อแผนงานวิจัยนั้น เช่น
ผลสาเร็จที่มีผลกระทบต่อแผนงาน/ผลกระทบที่มีต่อประเทศ)
20. ระดับความสาเร็จของงาน ผลสาเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยตาม
แผนการบริหารงาน และแผนการดาเนินงานตลอดแผนงานวิจัย #2
1. P (Preliminary Results)
1.1
1.2
1.3
2. I (Intermediate Results)
1.1
1.2
1.3
3. G (Goal Results)
1.1
1.2
1.3
20. ระดับความสาเร็จของงาน ตัวอย่าง : P-I-G
1. (Gene)
- ( Gene)
(P)
2. ( Gene)
- ( Gene)
(I)
3.
-
(G)
21. ข้อเสนอการวิจัยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของข้อเสนอการวิจัยนี้
(เลือกได้เพียง 1 ข้อ)

 ( )
( )
( . . )
22. คาชี้แจงอื่นๆ
22.1 คารับรองเพื่อชี้แจงรายละเอียดแหล่งทุนของโครงการวิจัยที่
เสนอขอ หากมีมากกว่า 1 แหล่ง โปรดระบุสัดส่วน
22.2 แสดงเอกสารหลักฐานคารับรองคายินยอม อาทิ โครงการ
พระราชดาริ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ การ
เข้าถึงทรัพยากรชีวภาพ ฯลฯ หรือรายละเอียดอื่น ๆ ในอันที่จะเป็น
ประโยชน์และชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของโครงการวิจัยมากยิ่งขึ้น
22.3 การดาเนินการเกี่ยวกับบัญชีรายรับ-รายจ่ายให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ที่ ป.ป.ช. กาหนด
นักวิจัยต้องมีหน่วยงานสังกัด
23.ลงลายมือชื่อหัวหน้าโครงการและนักวิจัยร่วมเพื่อให้คารับรองในการจัดทา
ข้อเสนอการวิจัยและดาเนินการวิจัยตามประกาศสานักงานคณะกรรมการ
วิจัยแห่งชาติ เรื่องการรับข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุน
ทุนอุดหนุนการวิจัย
24.คาอนุมัติของผู้บังคับบัญชาระดับอธิบดี หรือเทียบเท่าของภาครัฐรวมทั้ง
ให้ใช้สถานที่ อุปกรณ์ และสาธารณูปโภคในการดาเนินการวิจัย
ผู้บังคับบัญชาต้องลงนามเพื่อแสดงการยินยอมและอนุญาต ให้ดาเนินการ
วิจัย กรณีการมอบอานาจต้องมีหนังสือมอบอานาจแสดงต่อ คอบช. และ
ผู้รับมอบอานาจ ไม่สามารถมอบอานาจช่วงต่อให้ผู้อื่นได้ ยกเว้นแต่
ผู้บังคับบัญชาที่เป็นผู้มีอานาจ แสดงความยินยอมให้มอบอานาจช่วงต่อได้
องค์ประกอบการเขียนแผนงานวิจัย
ประสบการณ์การขอทุนวิจัย
สมัครฐานข้อมูลนักวิจัยของประเทศไทยเอาไว้
- ทุนวิจัยเล็กหรือยัง ระยะเวลาเท่ากัน เหนื่อยเหมือนกัน
- ทุนวิจัยมีมากมาย หน่วยงานให้ทุนก็มีมากมาย หาให้เจอ
- เหนื่อยที่สุดไม่ใช่ทาวิจัย แต่เหนื่อยกับเอกสารมากมาย !!!!!
- เบื่อที่สุดไม่ใช่ทาวิจัย เบื่อที่ต้องปะทะกับคน ซึ่งไม่เข้าใจ
ความสาคัญของการวิจัย
- สาคัญที่สุดคือ องค์ความรู้ใหม่ของงานวิจัย ผลการวิจัยเผยแพร่
และการตีพิมพ์เผยแพร่ อย่าติดกับดัก 5 บท
บทสรุป
การขอทุนสนับสนุนการวิจัยของภาครัฐมีหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องด้วยอยู่หลายภาคส่วน แต่มีกระบวนการและ
วิธีการไปในทิศทางเดียวกัน มีขั้นตอนและกระบวนการ
เป็นระบบระเบียบ เพื่อให้การวิจัยไปในทิศทางเดียวกัน
การจัดทาข้อเสนอโครงการเริ่มจากความเข้าใจ
ยุทธศาสตร์ชาติและเป้าหมายของผลการวิจัย เพื่อให้
ผลการวิจัยตอบโจทย์ของประเทศและได้ผลงานที่เป็น
ประโยชน์จริง
คาถาม
วิทยากร
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
prachyanun@hotmail.com
http://www.prachyanun.com 081-7037515

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
Organization design
Organization designOrganization design
Organization designKan Yuenyong
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.Prachyanun Nilsook
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 somdetpittayakom school
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 

Was ist angesagt? (20)

ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
123
123123
123
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
Organization design
Organization designOrganization design
Organization design
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 

Ähnlich wie การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1

Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Gritiga Soonthorn
 
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัยแนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัยPrachyanun Nilsook
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
27มค
27มค27มค
27มคohmchit
 
27มค
27มค27มค
27มคohmchit
 
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...Prachyanun Nilsook
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptKanpirom Trangern
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1sinarack
 
563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1sinarack
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนKlangpanya
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyNikma Hj
 

Ähnlich wie การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1 (20)

Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654
 
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัยแนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
27มค
27มค27มค
27มค
 
27มค
27มค27มค
27มค
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
Drl033782
Drl033782Drl033782
Drl033782
 
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1
 
563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
Book st chapter1
Book st chapter1Book st chapter1
Book st chapter1
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
 

Mehr von Prachyanun Nilsook

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationPrachyanun Nilsook
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfPrachyanun Nilsook
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตPrachyanun Nilsook
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationPrachyanun Nilsook
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์Prachyanun Nilsook
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 

Mehr von Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 

การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1