SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 50
โรคหลอดเลือดสมอง
(STROKE)
Dr. Prachaya Sriswang
สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองทั่วโลก
 โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับ 2 ของประชากรอายุ
> 60 ปีทั่วโลก
 ในแต่ละปีมีคนทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง ประมาณ 6
ล้านคน
 องค์การโรคหลอดเลือดสมองโลกคาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ.2015 หรือ
พ.ศ. 2558 คนทั่วโลก จะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองถึง 6.5
ล้านคน
 โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับ 3 ของประชากรไทย
 ประชากรไทยจะมีภาวะสมองขาดเลือด 1 คน ในทุก ๆ 3 นาที
หรือในประชากร 100,000 คน จะมีผู้ป่ วยหลอดเลือดสมอง 206 คน
 มีอัตราการตาย ร้อยละ 10 และพิการร้อยละ 50
 เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ในเพศหญิง และอันดับ 3 ในเพศชาย
จานวนการตายและการป่ วยจากโรคหลอดเลือดสมอง
คานิยามของ WHO…
“…เป็นภาวะที่มีความผิดปกติของระบบหลอดเลือด
สมอง ซึ่งเป็นสาเหตุทาให้สมองบางส่วนหรือทั้งหมด
ทางานผิดปกติ ผู้ป่ วยเกิดอาการและอาการแสดงเกิน
24 ชั่วโมงหรือทาให้เสียชีวิต…”
คานิยามของ NINDS…
“…เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นเมื่อเนื้อสมองขาด
เลือดมาเลี้ยงหรือมีเลือดออก ไม่ว่าจะมีพยาธิสภาพที่
หลอดเลือดเส้นเดียวหรือมากกว่า โดยอาจเป็น
เพียงชั่วคราวหรือเป็นอย่างถาวรก็ได้…”
“เป็นภาวะสมองได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพออย่าง
เฉียบพลัน เนื่องจากหลอดเลือดอุดตันหรือแตก ทาให้
เซลล์สมองขาดเลือดไปเลี้ยง (Ischemia) หรือ
เซลล์สมองตาย (Infarction)”
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยเสี่ยง STROKE
เสียชีวิต
ความผิดปกติ
muscle weakness, ataxia,
loss of sensation
ความพิการ
Inability to walk, feed
เกิดโรคซ้า
(สมองเสื่อม vascular dementia)
• สมองขาดเลือด (Ischemic stroke)
สาเหตุหลัก คือ เส้นเลือดอุดตัน หรือตีบ
• ร่างกายไม่สามารถลาเลียงเลือดไปเลี้ยงสมองได้
• เกิดการอุดตันของเส้นเลือด ส่งผลให้ออกซิเจนและสารอาหารอื่นไม่
สามารถขึ้นไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ
• เซลล์สมองจะตายในเวลาเพียงสั้น ๆ
• ความรุนแรงขึ้นอยู่กับตาแหน่งของเนื้อเยื่อสมองที่ถูกทาลาย
–สมองด้านซ้ายจะควบคุมการทางานของอวัยวะ
–สมองด้านขวาจะควบคุมการทางานของการพูด และร่างกายซีกซ้าย
1. มีความผิดปกติของหลอดเลือด หรือหลอดเลือดแข็ง ที่เรียกว่า
“Atherosclerosis”
• มีไขมันและหินปูน มาสะสมที่ผนังด้านในของหลอดเลือด
• พบได้ในหลอดเลือดสมองเอง และหลอดเลือดใหญ่ที่คอ
2. มีลิ่มเลือดหลุดจากที่อื่นมาอุดตันหลอดเลือดสมอง โดยเฉพาะ
ในผู้ที่มีโรคหัวใจบางชนิด ได้แก่
–โรคลิ้นหัวใจพิการ
–โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
–หัวใจเต้นผิดจังหวะบางชนิด
สมองขาดเลือดชั่วคราวคืออะไร
• สมองขาดเลือดชั่วคราว (TIA: Transient ischemic
attack)
 การที่ปริมาณเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยลง และสามารถกลับคืนสภาพ
เดิมได้ในเวลาอันรวดเร็ว
 ไม่ทาให้เกิดภาวะสมองตายจากการขาดเลือด
 หายได้ภายใน 24 ชั่วโมง เกิดในระยะเวลาสั้นๆ 5-10 นาที
 1 ใน 3 ของผู้ป่ วยสมองขาดเลือดชั่วคราวมักจะกลายเป็น
โรคหลอดเลือดสมองภายใน 7 วัน
• โรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke)
–สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากภาวะความดันโลหิตสูงที่เป็นมานาน
–ส่วนน้อยอาจเกิดจากหลอดเลือดสมองผิดปกติ
• หลอดเลือดสมองแตกในเนื้อสมอง
(Intracerebral hemorrhage)
–ทาให้ผู้ป่ วยมีอาการผิดปกติทางระบบประสาทขึ้นมาทันที เนื่องจาก
เลือดที่ออกจะไปกดเบียดเนื้อสมองทาให้สมองทางานผิดปกติ
• หลอดเลือดแตกในชั้นเยื่อหุ้มสมอง
(subarachnoid hemorrhage)
–เกิดจากการโป่ งพองของหลอดเลือดสมอง(aneurysm)
บริเวณฐานกะโหลกศีรษะ
Aneurysm
AVM
สมองขาดเลือด เลือดออกในสมอง
ปวดศีรษะ อาเจียน พบน้อย พบบ่อย
ลักษณะการดาเนินของโรค
อาการเกิดอย่างรวดเร็ว มี
ลาดับความรุนแรงเริ่มจาก
น้อยไปหามาก
อาการรุนแรง เกิดทันที
ความดันโลหิตสูง พบบ่อย พบบ่อยกว่า
ระดับน้าตาลในเลือดสูง พบบ่อย พบน้อย
พูดไม่ได้ ฟังไม่รู้เรื่อง
(Aphasia)
พบได้ พบน้อยมาก
คอแข็ง พบน้อยมาก พบบ่อยกว่า
อาการที่น่าสงสัยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
• ปากเบี้ยวหรือชาบริเวณใบหน้า
• ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
• แขนขาอ่อนแรงหรือชาครึ่งซีก
• วิงเวียนศีรษะประกอบเดินเซ
• พูดไม่ชัด นึกคาพูดไม่ออก ฟังไม่รู้เรื่อง
ใคร ?
ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
?
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
• ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขได้
 อายุ
 เพศชาย
 มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
 เคยมีประวัติเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบหรือแตกมาก่อน
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
• ปัจจัยเสี่ยงที่สามารแก้ไขได้
 โรคความดันโลหิตสูง
 โรคเบาหวาน
 ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
 ไขมันในเลือดสมอง
 การสูบบุหรี่
 การดื่มเหล้า
 การใช้สารเสพติด
 ความเครียด
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
• 15-20% เสียชีวิต
• 20-30% มีความพิการขั้นรุนแรง
• 50% มีความพิการเล็กน้อยหรือหายเป็นปกติ
• อ่อนแรง ชาของร่างกายครึ่งซีก
• ตามัว หรือ มองเห็นภาพซ้อน
• พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง
• ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
• เวียนศีรษะ ร่วมกับเดินเซ
การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง
• ประวัติ
• ตรวจร่างกาย
• การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
 X-ray ปอด
 EKG
 CT-Scan
 MRI scan
 Cerebral angiography
 Carotid duplex
• การรักษาด้วยยา
– ยาต้านเกร็ดเลือด เช่น แอสไพริน, Clopidogrel
– ยาละลายลิ่มเลือด เช่น heparin, low molecular weight
heparin, warfarin
– ยาลดไขมัน เช่น statin
– ยาลดความดันโลหิต
• การรักษาด้วยการผ่าตัด
• การกายภาพบาบัด
การรักษาหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
• เป้ าหมายของการรักษาคือ
 ทาให้เลือดไหลเวียนได้อย่างปกติ
 ในบางกรณีแพทย์อาจให้ยาละลายลิ่มเลือด จะได้ผลดีกับผู้ที่มีอาการ
และอาการแสดงของโรคหลอดเลือดสมอง และรีบมาโรงพยาบาล
ภายในระยะเวลาไม่เกิน 3-4.5 ชั่วโมง
การรักษาหลอดเลือดสมองสมองแตกหรือฉีกขาด
• เป้ าหมายของการรักษาคือ
 การควบคุมปริมาณเลือดที่ออกด้วยการรักษาระดับความดันโลหิต
 ในกรณีที่เลือดออกมาก แพทย์อาจพิจารณาทาการผ่าตัด
เพื่อป้ องกันความเสียหายต่อสมองที่อาจเกิดขึ้น
หากมีการเปลี่ยนแปลงความดันโลหิต
• โรคหลอดเลือดสมองสามารถรักษาให้หายเป็นปกติ โดยที่ผู้ป่ วยไม่มี
ความพิการหลงเหลืออยู่
• ผู้ป่ วยจะต้องมาพบแพทย์หลังมีอาการภายใน 3-4.5 ชม.
• แพทย์จะให้ยาละลายลิ่มเลือดเข้าทางหลอดเลือดดา
• หลังจากการให้ยาผู้ป่ วยจะได้รับการรักษาอยู่ในห้องผู้ป่ วยหนัก
• หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ยาละลายลิ่มเลือด
–ผู้ป่ วยต้องได้รับยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดาภายใน 3 ชม.
–ผู้ป่ วยมีอายุ > 18 ปี
–ความดันโลหิต ≤ 185/110 มม.ปรอท
–ไม่มีอาการชัก
–การแข็งตัวของเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
(PTT ≤ 15 วินาที, INR ≤ 1.7)
–ค่าเกล็ดเลือด ≥ 100,000 ต่อลบ.มม.
• หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ยาละลายลิ่มเลือด (ต่อ)
–ไม่มีประวัติได้รับยาละลายลิ่มเลือดชนิดอื่น เช่น warfarin
–ไม่มีประวัติเส้นเลือดสมองโป่ งพอง
–ไม่ได้รับการผ่าตัดใหญ่ภายใน 14 วันก่อนรับยา
–ไม่มีประวัติโรคหลอดเลือดสมอง/ การได้รับบาดเจ็บศีรษะ/ การ
ผ่าตัดสมองภายใน 3 เดือนก่อนรับยา
–ไม่มีประวัติเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร/ ทางเดินปัสสาวะ
ภายใน 21วันก่อนรับยา
ข้อห้ามใช้ยาละลายลิ่มเลือด
 มีเลือดออกในภาพถ่ายสมอง (CT brain)
 มีการเจาะเส้นเลือดแดง หรือเจาะกรวดน้าไขสันหลังภายใน 7 วัน
 ความดันโลหิต > 185/ 110 มม.ปรอท
 มีอาการชักหลังเกิดอาการทางสมอง
 มีภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจากการมีหลอดเลือดหัวใจอุดตัน
 ได้รับยาป้ องกันการแข็งตัวของเลือด หรือ INR > 1.7
 ค่าน้าตาลในเลือด > 50 มก./ดล. หรือ < 400 มก./ดล.
 เป็นเพศหญิงและตั้งครรภ์อยู่
• งดหวานจัด มัน เค็มจัด เพิ่มผักผลไม้
• การออกกาลังกายสม่าเสมออย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน อย่างน้อย 5 วันต่อ
สัปดาห์
• ควบคุมน้าหนักให้เหมาะสม
• หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์และงดสูบบุหรี่
• รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างสม่าเสมอ
• ลดความเครียด และพักผ่อนเพียงพอ
• ตรวจร่างกายประจาปีอย่างสม่าเสมอ
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
เมื่อสงสัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมอง…
• โทรศัพท์แจ้งรพ.ที่ใกล้ที่สุด
แจ้งอาการที่ผู้ป่ วยเป็น…เวลาที่ผู้ป่ วยมีอาการ…..
• นาผู้ป่ วยส่งโรงพยาบาลทันที ไม่ควรรอหรือให้ผู้ป่ วยนอนพัก
• หากมีโรคประจาตัว ควรนายามาโรงพยาบาล และไม่ควรให้ผู้ป่ วย
รับประทานยาก่อนมารพ.
• หากมีอาการดีขึ้นเองก่อนมาถึงรพ. ยังจาเป็นที่จะต้องนาผู้ป่ วยมาพบ
แพทย์ให้เร็วที่สุด
“อุดมการณ์นั้นกินได้
แต่ต้องกินด้วยใจ
คือ ความอิ่มอก อิ่มใจ
ความปิติยินดีต่อ
การหายของผู้ป่ วย”
Ppt. stroke1

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองNana Sabaidee
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 

Was ist angesagt? (20)

คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 

Andere mochten auch

Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Utai Sukviwatsirikul
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาตการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาตUtai Sukviwatsirikul
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
Stroke Presentation Ms
Stroke Presentation MsStroke Presentation Ms
Stroke Presentation Mskathrnrt
 
STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...
STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...
STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...Arlyn Valencia, M.D.
 
Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์Piroj Poolsuk
 
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดายสร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดายTeemtaro Chaiwongkhot
 
น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610Supichaya Tamaneewan
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 

Andere mochten auch (20)

Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
Stroke (1)
Stroke (1)Stroke (1)
Stroke (1)
 
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาตการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Stroke Presentation Ms
Stroke Presentation MsStroke Presentation Ms
Stroke Presentation Ms
 
STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...
STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...
STROKE LECTURE By Arlyn M. Valencia, M.D. Associate Professo University Of Ne...
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดายสร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
 
น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 

Ähnlich wie Ppt. stroke1

CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555Thorsang Chayovan
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบWan Ngamwongwan
 
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร  ชินโพธิ์คลังสุภาพร  ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร ชินโพธิ์คลังsupaporn90
 
โรคหัวใจ
โรคหัวใจโรคหัวใจ
โรคหัวใจtaetong
 
หลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันหลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันWan Ngamwongwan
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thorsang Chayovan
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาdragon2477
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenThira Woratanarat
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Angkana Chongjarearn
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic StrokeKanyanat Taew
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)Wan Ngamwongwan
 
Cvst 2
Cvst 2Cvst 2
Cvst 2med
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
ภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdf
ภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdfภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdf
ภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdfLoveloveDoonung
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 

Ähnlich wie Ppt. stroke1 (20)

CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบ
 
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร  ชินโพธิ์คลังสุภาพร  ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
 
โรคหัวใจ
โรคหัวใจโรคหัวใจ
โรคหัวใจ
 
หลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันหลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตัน
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Cpg anemia
Cpg anemiaCpg anemia
Cpg anemia
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
 
Cvst 2
Cvst 2Cvst 2
Cvst 2
 
Moyamoya Disease
Moyamoya DiseaseMoyamoya Disease
Moyamoya Disease
 
Dementia in Thai
Dementia in ThaiDementia in Thai
Dementia in Thai
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
ภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdf
ภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdfภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdf
ภาพถ่ายหน้าจอ 2564-01-19 เวลา 14.45.33.pdf
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Ihd
IhdIhd
Ihd
 

Mehr von Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 

Ppt. stroke1

Hinweis der Redaktion

  1. National Institute of Neurology and Stroke