SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
     “....ควรสร้างฝายต้นน้้าล้าธารตามร่องน้้าเพื่อช่วยชะลอกระแสน้้าและเก็บกักน้้าส้าหรับ สร้างความชุ่ม
    ชื้นให้กับบริเวณต้นน้้า....”
    พระราชดารัสเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2532 ณ ดอยอ่างขาง อาเภอฝาง จังหวัด
    เชียงใหม่
   “ให้พิจารณาด้าเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายในท้องถิ่น เช่น แบบหินทิ้ง
    คลุมด้วยตาข่ายปิดกั้นร่องน้้ากับล้าธารขนาดเล็กเป็นระยะๆ เพื่อใช้เก็บกักน้้าและตะกอนดินไว้บางส่วน โดย
    น้้าที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไปในดินท้าให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้
    ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็วและพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบ เพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้้าล้าธารให้มีสภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นล้าดับ
   “ส้าหรับต้นน้้า ไม้ที่ขึ้นอยู่ในบริเวณสองข้างล้าห้วย จ้าเป็นต้องรักษาไว้ให้ดี เพราะจะช่วยเก็บรักษาความ
    ชุ่มชื้นไว้ ส่วนตามร่องน้้าและบริเวณที่น้าซับก็ควรสร้างฝายขนาดเล็กกั้นน้้าไว้ในลักษณะฝายชุ่มชื้น แม้จะ
    มีจ้านวนน้อยก็ตามส้าหรับแหล่งน้้าที่มีปริมาณน้้ามาก จึงสร้างฝายเพื่อผันน้้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก
    ......”
    พระราชดารัสเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2521 ณ อาเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
   แนวพระราชด้าริ ทฤษฎีการพัฒนาและฟื้นฟูป่าไม้ โดยการใช้ทรัพยากรที่เอื้ออ้านวยสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
    ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นต้นก้าเนิดของการสร้างฝายชะลอน้้าซึ่งก้าลังฮิตเป็นกระแส ทั้งการน้าไปท้า
    CSR (Corporate Social Responsibility) การจัดกิจกรรมอนุรักษ์
    สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
   ผู้เขียนเพิ่งได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมแบบนี้เป็นครั้งแรก แม้ว่าจะท้าข่าวสิ่งแวดล้อมมานาน และท้าข่าว
    ฝายมาก็หลายแห่ง ก็เลยสัมผัสได้ว่าคนจ้านวนมาก (อย่างน้อยก็ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมคราวเดียวกัน
    กับผู้เขียน) ไม่ค่อยรู้เรื่องหลักการของฝายชะลอน้้า จ้านวนไม่น้อยเข้าใจว่าต้องสร้างในล้าธารน้้า ซึ่ง
    น่าจะเป็นเพราะเวลาเราเห็นโฆษณาก็จะเห็นฝายและน้้าอยู่ด้วยกันเท่านั้น ไม่ได้เล่าเรื่องราวก่อนที่จะมีฝายและ
    ก่อนจะมีน้า แต่ถือว่าโชคดีที่ยังมีการท้าความเข้าใจให้อย่างละเอียด ซึ่งอันนี้คงต้องยกความดีให้
    SCG ซึ่งจับเรื่องฝายมาท้าเป็นเรื่องเป็นราวจนเข้าใจว่าควรสร้างที่ไหน อย่างไร
   ที่จริงแล้วคิดง่าย ๆ ก็คือฝายมีหน้าที่สร้างความชุ่มชื้น ต้องไปสร้างในที่แห้งแล้ง ส่วนฝายเพื่อชะลอ
    น้้าก็ต้องสร้างในพื้นที่ที่น้าจะไหลผ่านหรือร่องน้้า นั่นคือสร้างฝายในพื้นที่ต้นน้้าซึ่งแห้งแล้งและเสื่อม
    โทรม โดยเลือกสร้างตรงร่องที่น้าจะไหลผ่านเมื่อฝนตก ท้าให้น้าไม่ไหลผ่านเร็วจนเกินไป เมื่อน้้าถูก
    ชะลอ ดินก็ดูดน้้าไว้ได้ ต้นไม้ก็งอกงาม ต้นน้้าก็ชุ่มชื้น และสามารถอ้านวยน้้าลงมาปลายน้้าได้ใน
    ที่สุด นี่แค่น้าอย่างเดียว ยังไม่รวมระบบนิเวศอื่นๆ ที่จะฟื้นคืนกลับมาตามล้าดับ
 ทั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานค้าสอนเรื่องฝายมาแล้วตั้ง 20 กว่าปี แต่เรา
  ก็ยังไม่รู้อะไรมากนัก รู้แต่ว่าฝายดีเพราะพระองค์ตรัสไว้ กรณีที่ฉายเรื่องความไม่รู้ (คิดว่าไม่
  รู้) ได้ชัดที่สุดก็คือ กรณีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในยุคหนึ่งที่ใช้งบประมาณ
  กว่า 700 ล้านบาทมาสร้างฝายในแหล่งน้้าในป่าสมบูรณ์ ซึ่งดร. สรณรัชฎ์ กาญจนะ
  วณิชย์ นักนิเวศวิทยาให้ข้อมูลว่าการสร้างฝายในที่ที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของ
  น้้า ท้าให้น้านิ่ง สัตว์น้าขนาดเล็กเช่นปลา เคลื่อนย้ายถิ่นขึ้นลงไม่ได้เพราะมีฝายขวางกั้น จนมี
  ผลกระทบต่อประชากรปลาในที่สุด
 เหมือนกับ 64 ปีที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานค้าสอนและความรู้ให้เรา
  ตั้งมากมาย ซึ่งคนไทยก็ชื่นชมในพระปรีชาสามารถและพระเมตตา แต่ในทางปฏิบัติเรามักจะไม่
  ค่อยศึกษาหาความรู้จากสิ่งที่พระราชทานมาให้อย่างถ่องแท้ ยิ่งการปฏิบัติตาม ยิ่งแล้วใหญ่ ดู
  เหมือนจะไม่ค่อยสอดคล้องกันเท่าไหร่นัก ไม่เช่นนั้น การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
  ของประเทศไทยก็คงไม่เป็นอย่างในทุกวันนี้ เหมือนกับที่งบประมาณและทรัพยากรธรรมชาติต้อง
  เสียหายเพราะเรื่องฝายมาแล้ว
 ฝายแม้ว หรือ เช็คแดม (อังกฤษ: check dam) เป็นเขื่อนหรือฝาย
  ขนาดเล็กชะลอน้้ากึ่งถาวรประเภทหนึ่ง ฝายแม้วเป็นชื่อเรียกโครงการตามแนว
  พระราชด้าริ เกี่ยวกับวิศวกรรมแบบพื้นบ้าน ฝายแม้วเป็นฝายชะลอน้้ากึ่งถาวรประเภท
  หนึ่ง ประเภทเดียวกับฝายคอกหมู โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่นกิ่งไม้ ก้อนหิน
  เพื่อกั้นชะลอน้้าในล้าธาร หรือทางน้้าเล็กๆ ให้ไหลช้าลง และขังอยู่ในพื้นที่นานพอที่จะ
  พื้นที่รอบๆจะได้ดูดซึมไปใช้ เป็นการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เกิดความชุ่มชื้นมาก
  พอที่จะพัฒนาการเป็นป่าสมบูรณ์ขึ้นได้ ฝายแม้วยังอาจใช้เพื่อการทดน้้า ให้มีระดับสูง
  พอที่จะดึงน้้าไปใช้ในคลองส่งน้้าได้ในฤดูแล้ง โครงการตามแนวพระราชด้ารินี้ได้มีการ
  ทดลองใช้ทโี่ ครงการห้วยฮ่องไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ และประสบผลส้าเร็จจนเป็นตัวอย่าง
  ให้กับโครงการอื่น ๆ ต่อมา
 ฝายแม้วยังถูกเรียกว่า ฝายชะลอน้้า อีกด้วย
ฝายชะลอน้าหรือฝายแม้ว
ประโยชน์ของฝายชะลอน้า



   หลายๆ คนคงเคยได้เคยรู้จักฝายชะลอน้้ากันมาบ้าง ตามโฆษณากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
    ขององค์กรใหญ่ๆ ตามข่าวสารประจ้าวัน หรือแม้กระทั่งสารคดีสิ่งแวดล้อม แต่คงมีคนจ้านวนไม่น้อย
    ที่ยังไม่รู้จักความหมายและคุณค่าของฝายชะลอน้้า ซึ่งมีความส้าคัญต่อระบบนิเวศ โดยเฉพาะอย่าง
    ยิ่งในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ขาดแคลนแหล่งน้้า ที่ก้าลังเป็นปัญหาส้าคัญของสิ่งแวดล้อมในยุคปัจจุบัน
   ฝายชะลอน้้า หรือ Check Dam คือสิ่งก่อสร้าง ที่ท้าขึ้นเพื่อขวางหรือกั้นทางน้า โดย         ้
    ปกติมักจะกั้นล้าห้วย ล้าธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้้า หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถ
    กักตะกอนอยู่ได้ และหากเป็นช่องที่น้าไหลแรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้้าให้ช้าลงด้วย
    เพื่อการกักเก็บตะกอนเอาไว้ไม่ให้ไปทับถมล้าน้้าตอนล่าง อันเป็นเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและแหล่งน้้า
   นอกจากนี้ยังนิยมสร้างฝายชะลอน้้าในพื้นที่ต้นน้้าที่แห้งและเสื่อมโทรม โดยมักจะสร้างในบริเวณร่องน้้า
    เมื่อฝนตกฝายจะท้าการชะลอน้้าไม่ให้ไหลเร็วจนเกินไป ท้าให้ในบริเวณดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์
    ดินเกิดการอุ้มน้้า ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดียิ่งขึ้น พื้นที่มีความชุ่มชื้น อันจะส่งผลดีต่อบริเวณโดยรอบ
    ซึ่งสอดคล้องกับแนวพระราชด้าริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟู
    ป่าไม้ ด้วยการใช้ทรัพยากรที่เอื้ออ้านวย เกิดการสัมพันธ์ซึ่งกันและกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด
   ฝายชะลอน้้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ฝายชะลอน้้าแบบท้องถิ่น (หรือฝายแม้ว ที่ท้า
    โดยวัสดุจากธรรมชาติ เช่น กิ่งไม้ ไม้ล้ม หรือก้อนหินชนิดต่างๆ มาวางเรียงซ้อนกัน) ฝายชะลอน้้า
    แบบเรียงด้วยหิน (ฝายกึ่งถาวร) และฝายชะน้้าแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (ฝายแบบถาวร) ซึ่งการ
    ก่อสร้างฝายชะลอน้้านั้นควรได้รับการศึกษาโดยละเอียด ให้มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และปัญหา
    เพราะไม่เช่นนั้นอาจเกิดผลเสียมากกว่าผลดีได้ เช่น ท้าให้น้านิ่ง ไม่เกิดการไหลเวียน ส่งผลให้น้าเน่า
    เสีย ระบบนิเวศเสื่อมโทรม หรือแม้กระทั่งการก่อสร้างฝาย อาจไปท้าลายทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ
    ที่มีอยู่โดยรอบได้

More Related Content

What's hot

โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกBeam_Kantaporn
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกbee-28078
 
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่tnnpm
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำmaytakul
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกmint123n
 
งานSh
งานShงานSh
งานShdekbao
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกpeeerapeepan
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นครู กัน
 

What's hot (10)

โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
 

ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส

  • 1.
  • 2. “....ควรสร้างฝายต้นน้้าล้าธารตามร่องน้้าเพื่อช่วยชะลอกระแสน้้าและเก็บกักน้้าส้าหรับ สร้างความชุ่ม ชื้นให้กับบริเวณต้นน้้า....” พระราชดารัสเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2532 ณ ดอยอ่างขาง อาเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม่  “ให้พิจารณาด้าเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายในท้องถิ่น เช่น แบบหินทิ้ง คลุมด้วยตาข่ายปิดกั้นร่องน้้ากับล้าธารขนาดเล็กเป็นระยะๆ เพื่อใช้เก็บกักน้้าและตะกอนดินไว้บางส่วน โดย น้้าที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไปในดินท้าให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็วและพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบ เพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้้าล้าธารให้มีสภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นล้าดับ  “ส้าหรับต้นน้้า ไม้ที่ขึ้นอยู่ในบริเวณสองข้างล้าห้วย จ้าเป็นต้องรักษาไว้ให้ดี เพราะจะช่วยเก็บรักษาความ ชุ่มชื้นไว้ ส่วนตามร่องน้้าและบริเวณที่น้าซับก็ควรสร้างฝายขนาดเล็กกั้นน้้าไว้ในลักษณะฝายชุ่มชื้น แม้จะ มีจ้านวนน้อยก็ตามส้าหรับแหล่งน้้าที่มีปริมาณน้้ามาก จึงสร้างฝายเพื่อผันน้้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก ......” พระราชดารัสเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2521 ณ อาเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • 3.
  • 4. แนวพระราชด้าริ ทฤษฎีการพัฒนาและฟื้นฟูป่าไม้ โดยการใช้ทรัพยากรที่เอื้ออ้านวยสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นต้นก้าเนิดของการสร้างฝายชะลอน้้าซึ่งก้าลังฮิตเป็นกระแส ทั้งการน้าไปท้า CSR (Corporate Social Responsibility) การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ  ผู้เขียนเพิ่งได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมแบบนี้เป็นครั้งแรก แม้ว่าจะท้าข่าวสิ่งแวดล้อมมานาน และท้าข่าว ฝายมาก็หลายแห่ง ก็เลยสัมผัสได้ว่าคนจ้านวนมาก (อย่างน้อยก็ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมคราวเดียวกัน กับผู้เขียน) ไม่ค่อยรู้เรื่องหลักการของฝายชะลอน้้า จ้านวนไม่น้อยเข้าใจว่าต้องสร้างในล้าธารน้้า ซึ่ง น่าจะเป็นเพราะเวลาเราเห็นโฆษณาก็จะเห็นฝายและน้้าอยู่ด้วยกันเท่านั้น ไม่ได้เล่าเรื่องราวก่อนที่จะมีฝายและ ก่อนจะมีน้า แต่ถือว่าโชคดีที่ยังมีการท้าความเข้าใจให้อย่างละเอียด ซึ่งอันนี้คงต้องยกความดีให้ SCG ซึ่งจับเรื่องฝายมาท้าเป็นเรื่องเป็นราวจนเข้าใจว่าควรสร้างที่ไหน อย่างไร  ที่จริงแล้วคิดง่าย ๆ ก็คือฝายมีหน้าที่สร้างความชุ่มชื้น ต้องไปสร้างในที่แห้งแล้ง ส่วนฝายเพื่อชะลอ น้้าก็ต้องสร้างในพื้นที่ที่น้าจะไหลผ่านหรือร่องน้้า นั่นคือสร้างฝายในพื้นที่ต้นน้้าซึ่งแห้งแล้งและเสื่อม โทรม โดยเลือกสร้างตรงร่องที่น้าจะไหลผ่านเมื่อฝนตก ท้าให้น้าไม่ไหลผ่านเร็วจนเกินไป เมื่อน้้าถูก ชะลอ ดินก็ดูดน้้าไว้ได้ ต้นไม้ก็งอกงาม ต้นน้้าก็ชุ่มชื้น และสามารถอ้านวยน้้าลงมาปลายน้้าได้ใน ที่สุด นี่แค่น้าอย่างเดียว ยังไม่รวมระบบนิเวศอื่นๆ ที่จะฟื้นคืนกลับมาตามล้าดับ
  • 5.  ทั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานค้าสอนเรื่องฝายมาแล้วตั้ง 20 กว่าปี แต่เรา ก็ยังไม่รู้อะไรมากนัก รู้แต่ว่าฝายดีเพราะพระองค์ตรัสไว้ กรณีที่ฉายเรื่องความไม่รู้ (คิดว่าไม่ รู้) ได้ชัดที่สุดก็คือ กรณีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในยุคหนึ่งที่ใช้งบประมาณ กว่า 700 ล้านบาทมาสร้างฝายในแหล่งน้้าในป่าสมบูรณ์ ซึ่งดร. สรณรัชฎ์ กาญจนะ วณิชย์ นักนิเวศวิทยาให้ข้อมูลว่าการสร้างฝายในที่ที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของ น้้า ท้าให้น้านิ่ง สัตว์น้าขนาดเล็กเช่นปลา เคลื่อนย้ายถิ่นขึ้นลงไม่ได้เพราะมีฝายขวางกั้น จนมี ผลกระทบต่อประชากรปลาในที่สุด  เหมือนกับ 64 ปีที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานค้าสอนและความรู้ให้เรา ตั้งมากมาย ซึ่งคนไทยก็ชื่นชมในพระปรีชาสามารถและพระเมตตา แต่ในทางปฏิบัติเรามักจะไม่ ค่อยศึกษาหาความรู้จากสิ่งที่พระราชทานมาให้อย่างถ่องแท้ ยิ่งการปฏิบัติตาม ยิ่งแล้วใหญ่ ดู เหมือนจะไม่ค่อยสอดคล้องกันเท่าไหร่นัก ไม่เช่นนั้น การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ของประเทศไทยก็คงไม่เป็นอย่างในทุกวันนี้ เหมือนกับที่งบประมาณและทรัพยากรธรรมชาติต้อง เสียหายเพราะเรื่องฝายมาแล้ว
  • 6.
  • 7.  ฝายแม้ว หรือ เช็คแดม (อังกฤษ: check dam) เป็นเขื่อนหรือฝาย ขนาดเล็กชะลอน้้ากึ่งถาวรประเภทหนึ่ง ฝายแม้วเป็นชื่อเรียกโครงการตามแนว พระราชด้าริ เกี่ยวกับวิศวกรรมแบบพื้นบ้าน ฝายแม้วเป็นฝายชะลอน้้ากึ่งถาวรประเภท หนึ่ง ประเภทเดียวกับฝายคอกหมู โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่นกิ่งไม้ ก้อนหิน เพื่อกั้นชะลอน้้าในล้าธาร หรือทางน้้าเล็กๆ ให้ไหลช้าลง และขังอยู่ในพื้นที่นานพอที่จะ พื้นที่รอบๆจะได้ดูดซึมไปใช้ เป็นการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เกิดความชุ่มชื้นมาก พอที่จะพัฒนาการเป็นป่าสมบูรณ์ขึ้นได้ ฝายแม้วยังอาจใช้เพื่อการทดน้้า ให้มีระดับสูง พอที่จะดึงน้้าไปใช้ในคลองส่งน้้าได้ในฤดูแล้ง โครงการตามแนวพระราชด้ารินี้ได้มีการ ทดลองใช้ทโี่ ครงการห้วยฮ่องไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ และประสบผลส้าเร็จจนเป็นตัวอย่าง ให้กับโครงการอื่น ๆ ต่อมา  ฝายแม้วยังถูกเรียกว่า ฝายชะลอน้้า อีกด้วย
  • 9. ประโยชน์ของฝายชะลอน้า  หลายๆ คนคงเคยได้เคยรู้จักฝายชะลอน้้ากันมาบ้าง ตามโฆษณากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ขององค์กรใหญ่ๆ ตามข่าวสารประจ้าวัน หรือแม้กระทั่งสารคดีสิ่งแวดล้อม แต่คงมีคนจ้านวนไม่น้อย ที่ยังไม่รู้จักความหมายและคุณค่าของฝายชะลอน้้า ซึ่งมีความส้าคัญต่อระบบนิเวศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ขาดแคลนแหล่งน้้า ที่ก้าลังเป็นปัญหาส้าคัญของสิ่งแวดล้อมในยุคปัจจุบัน  ฝายชะลอน้้า หรือ Check Dam คือสิ่งก่อสร้าง ที่ท้าขึ้นเพื่อขวางหรือกั้นทางน้า โดย ้ ปกติมักจะกั้นล้าห้วย ล้าธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้้า หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถ กักตะกอนอยู่ได้ และหากเป็นช่องที่น้าไหลแรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้้าให้ช้าลงด้วย เพื่อการกักเก็บตะกอนเอาไว้ไม่ให้ไปทับถมล้าน้้าตอนล่าง อันเป็นเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและแหล่งน้้า
  • 10. นอกจากนี้ยังนิยมสร้างฝายชะลอน้้าในพื้นที่ต้นน้้าที่แห้งและเสื่อมโทรม โดยมักจะสร้างในบริเวณร่องน้้า เมื่อฝนตกฝายจะท้าการชะลอน้้าไม่ให้ไหลเร็วจนเกินไป ท้าให้ในบริเวณดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ ดินเกิดการอุ้มน้้า ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดียิ่งขึ้น พื้นที่มีความชุ่มชื้น อันจะส่งผลดีต่อบริเวณโดยรอบ ซึ่งสอดคล้องกับแนวพระราชด้าริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟู ป่าไม้ ด้วยการใช้ทรัพยากรที่เอื้ออ้านวย เกิดการสัมพันธ์ซึ่งกันและกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด  ฝายชะลอน้้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ฝายชะลอน้้าแบบท้องถิ่น (หรือฝายแม้ว ที่ท้า โดยวัสดุจากธรรมชาติ เช่น กิ่งไม้ ไม้ล้ม หรือก้อนหินชนิดต่างๆ มาวางเรียงซ้อนกัน) ฝายชะลอน้้า แบบเรียงด้วยหิน (ฝายกึ่งถาวร) และฝายชะน้้าแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (ฝายแบบถาวร) ซึ่งการ ก่อสร้างฝายชะลอน้้านั้นควรได้รับการศึกษาโดยละเอียด ให้มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และปัญหา เพราะไม่เช่นนั้นอาจเกิดผลเสียมากกว่าผลดีได้ เช่น ท้าให้น้านิ่ง ไม่เกิดการไหลเวียน ส่งผลให้น้าเน่า เสีย ระบบนิเวศเสื่อมโทรม หรือแม้กระทั่งการก่อสร้างฝาย อาจไปท้าลายทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ที่มีอยู่โดยรอบได้