SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
                                          แผนการสอน
                                        คณะนิเทศศาสตร์
รหัส/ชื่อวิชา (ภาษาไทย)             วส.๑๐๐            การออกแบบเพื่องานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
              (ภาษาอังกฤษ)          JM.๑๐๐            DESIGN FOR JOURNALISM AND NEW MEDIA

จํานวน 3 (2-2-6) หน่วยกิต           ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554

อาจารย์ผู้สอน     อ.พิเศศ ตันติมาลา
Section 011       วันพุธ / 12:30-14:30 น.             ห้อง R2826
                  วันพุธ / 14:30-16:30 น.             ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์วารสารศาสตร์และสื่อใหม่

1. คําอธิบายรายวิชา
          งานออกแบบเพื่องานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ การจัดวางองค์ประกอบ การใช้สี การร่างแบบ การวาดเส้น การใช้
ที่ว่างในการออกแบบ ทฤษฏีการออกแบบอื่นๆ และ ทิศทางการออกแบบในปัจจุบันและอนาคต เพื่อเป็นต้นแบบในการผลิต
งานวารสารและสื่อใหม่

2. วัตถุประสงค์
        1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถร่างภาพเพื่อใช้ในการออกแบบวารสารและสื่อใหม่ได้
        2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถคิดงานออกแบบได้อย่างสร้างสรรค์ได้
        3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถผลิตวารสารและหนังสือ ได้อย่างสร้างสรรค์ และมีจริยธรรม
        4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนภาพประกอบได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหา
        5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดงานนิทรรศการเพื่อแสดงผลงานของนักศึกษาได้
3. รายชื่อหนังสือ/บทความวิชาการ/เอกสารประกอบการสอน
        ตําราหลัก
        1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วส.๑๐๐ การออกแบบเพื่องานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ โดย พิเศศ ตันติมาลา

         หนังสือ/บทความวิชาการ/เอกสารประกอบการสอน
         1. เกียรติพงษ์ บุญจิตร,คู่มือ Photoshop CS5 Professional Guide ฉบับสมบูรณ์,กรุงเทพฯ : บ.ไอดีซี พรีเมียร์
             จํากัด ,2554
         2. กนิษฐ์ ฉินสิน,การวาดการ์ตูนตามแผน, กรุงเทพ: ดี.เค. บุ๊ค ดิสทริบิวเตอร์, บจก. ,2551
         3. คู่มือการรายงานข่าว ICT . พิมพ์ครั้งที่ 2 โดยชมรมนักข่าวสายเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2552.
         4. ทัศยาภรณ์ เกื้อหนุน ,เทคนิคแต่งภาพวิวสวยด้วย PHOTOSHOP, กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น ,2552
-2-

        5. บัณฑิต ประดิษฐานุวงษ์, การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์, กรุงเทพ:ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) สมาคม
            ,2542
        6. ป่าน นิตตา ,วาดเล่น ,กรุงเทพ : ลายจุด,2552
        7. รุ่งเรือง เพชรมุณี ,เทคนิค Sketch ภาพด้วยปากกา, กรุงเทพฯ : 1. รุ่งเรือง เพชรมุณี,2553
        8. วัชรี วัชรสินธุ์, เทคนิคการเขียนภาพลายเส้นในงานสถาปัตยกรรม ,กรุงเทพ:สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
            มหาวิทยาลัย,2553
        9. วิษณุ สุวรรณเพิ่ม. นิตยสาร. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2540.
        10. ศิวะภาค เจียรวนาลี. The Secret of Pocket Book. กรุงเทพฯ : เดย์ โพเอทส์, 2552
        11. สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 8.
            นนทบุรี : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536.
        12. สุรยุทธ พันธ์เผือก,ฝึกระบายด้วยสีน้ํา,กรุงเทพ : วาดศิลป์,2552
        13. สุรวงศ์ หาทรัพย์, เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล ,การเขียนทัศนียภาพ : Perspective Training, กรุงเทพฯ :
            เศรษฐศิลป์ ,2553
        14. Alisa Golden,Making Handmade Books: 100+ Bindings, Structures & Forms,USA:Lark
            Crafts,2011
        15. David Neat,Model-Making: Materials and Methods,English:Crowood Press,2008
        16. Doug Sahlin, How to Do Everything with Adobe Acrobat 8, USA : McGraw-Hill Osborne
            Media,2549
        17. Gwen Diehn,Live & Learn: Real Life Journals: Designing & Using Handmade Books,English:Lark
            Books,2010

1. วิธการเรียนการสอน
      ี
        1. การบรรยาย                                                       20%
        2. การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ                                 40%
        3. การฝึกปฏิบติในชั้นเรียน กิจกรรม/รายงาน
                     ั                                                     40%

2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
      1. คะแนนภาคปฏิบติ / งานกลุ่มกิจกรรม
                        ั                                                  70%
      2. คะแนนความตรงต่อเวลา / ความสนใจ                                    10%
      3. คะแนนสอบปลายภาค                                                   20%

                           รวมคะแนนตลอดภาค                                100%
-3-

4. รายละเอียดเนื้อหาวิชา

 สัปดาห์ที่             หัวข้อการสอนและเนื้อหาวิชาโดยสังเขป                     กิจกรรมการเรียนการสอน
     1        พื้นฐานภาพร่างและศิลปะ                                     -   แนะนําเนื้อหาวิชา
                   - หลักสุนทรียศาสตร์                                   -   อธิบายแผนการสอนและการ
                   - อุปกรณ์ การใช้งาน วิธีใช้ ในงาน การร่างภาพรูปทรง        ประเมิน
                   - เรขาคณิต ลงแสงเงา ความเข้าใจเรื่องของมิติ           -   บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ
                   - การฝึกการมอง การสังเกต ฝึกประสาทสัมผัส                  อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                   - การนําพื้นฐานของการวาดรูปทรงเรขาคณิตมาประยุกต์      -   ให้ผู้เรียนวาดรูปทรงตามที่
                      ในการวาดรูปทรงพื้นฐานใกล้ตัว                           กําหนดให้
     2        การวาดภาพทัศนียภาพ                                         -   บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ
                   - เทคนิคการวาดภาพทิวทัศน์ สิ่งก่อสร้าง perspective        สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ
                   - ความเข้าใจเรื่องระยะ ใกล้ กลาง ไกล                      อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                   - การใส่เงาวัตถุและตกกระทบ                            -   ให้ผ้เรียนวาดภาพสถานที่
                                                                                   ู
                                                                             สิ่งก่อสร้างพร้อมใส่องค์ประกอบ
     3        การวาดรูปคน                                                -   บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ
                  - โครงสร้างการวาดรูปคน                                     สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ
                  - โครงการการวาดรูปสัตว์ รถ และวัตถุต่าง ๆ                  อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                  - เทคนิคการลงสีภาพ                                     -   แบ่งกลุ่ม ให้ผ้เรียนวาดรูปการ
                                                                                            ู
                                                                             เคลื่อนไหว ของคนในท่าต่าง ๆ
                                                                             ตามที่กําหนดให้
     4        การออกแบบอัตลักษณ์                                         -   บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ
                  - ทฤษฏีออกแบบ Logo                                         สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ
                  - การตีความเชิงสัญลักษณ์                                   อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                                                                         -   ออกแบบ logo ประจําตัวที่สื่อถึง
                                                                             ตัวตนของนักศึกษาหน้าชั้นเรียน
                                                                             และให้เพื่อนเสนอความคิดเห็น
     5        การออกแบบปกนิตยสารและนิตยสาร                               -   บรรยายโดยสไลด์นําเสนอ
                  - ทฤษฏีสี                                                  สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ
                  - ความหมายของสี                                            อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                  - อิทธิพลของสีที่มีต่อการออกแบบ                        -   ค้นคว้ารูปตามองค์ประกอบสี
                  - การจัดกลุ่มคู่สีและการเลือกใช้สี                     -   เตรียมกิจกรรม “ GURU
                                                                             Printing “

     6         หลักการและการฝึกปฏิบัติลงสี                              -   บรรยายโดยสไลด์นําเสนอ
                - การเลือกวัสดุสีให้เหมาะกับการลงสีแต่ละประเภท               สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ
                - ฝึกปฏิบัติใช้สีหมึก                                        อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                - ฝึกปฏิบัติใช้สีน้ํา                                    -   กิจกรรม “ GURU Printing “
                - ฝึกปฏิบัติใช้สีไม้                                     -   วิทยากรภายนอกมาให้คําแนะนํา
                - ฝึกปฏิบัติใช้สีโปสเตอร์                                    ด้านการลงสี


                                ช่วงสอบกลางภาค ( วิชานี้ไม่มีสอบกลางภาคในตาราง)
-4-

สัปดาห์ที่           หัวข้อการสอนและเนื้อหาวิชาโดยสังเขป                กิจกรรมการเรียนการสอน
    7        ภาพประกอบในงานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่                -   บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ
                - ภาพประกอบในงานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่               สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ
                - การวาดภาพประกอบ                                     อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                - การลงสีภาพประกอบ                                -   ให้ผู้เรียนวาดภาพประกอบโดย
                - ตัวอย่างภาพประกอบในงานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่       ตีความจากเนื้อหาที่ผู้สอนกําหนด
                                                                  -   ให้ผู้เรียนให้ข้อคิดเห็นในผลงาน
                                                                      ของผู้อ่น ื

    8        หนังสือทางเลือก                                      -   บรรยายโดยสไลด์นาเสนอ   ํ
                 - วิวัฒนาการหนังสือทางเลือก                          สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ
                 - ประเภทของหนังสือทางเลือก                           อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
                 - การผลิตหนังสือทางเลือก                         -   แบ่งกลุ่มปฏิบัติการผลิตหนังสือ
                                                                      ทางเลือก โดยนําข้อมูลเนื้อหาจาก
                                                                      ที่ผู้สอนกําหนด นํามาออกแบบ
                                                                      และเข้าเล่ม
                                                                  -   ให้ผู้เรียนรวบรวมเนื้อหาจากการ
                                                                      ลงพื้นที่และเก็บข้อมูลมาทําเป็น
                                                                      วารสาร
    9        วารสารทางเลือก 1                                     -   แบ่งกลุ่มปฏิบัติการผลิตวารสาร
                 - หลักการผลิตวารสารทางเลือก                          ทางเลือก โดยนําข้อมูลที่ผู้เรียนได้
                 - การทําdummyหน้าวารสาร                              ไปรวมรวมมา วิเคราะห์เขียน
                 - ปฏิบัติการผลิตวารสารทางเลือก                       ภาพประกอบ ออกแบบ โดยใช้
                                                                      เทคนิคการตัดแปะ
   10        วารสารทางเลือก 2                                     -   แบ่งกลุ่มปฏิบัตการผลิตวารสาร
                                                                                           ิ
                 - วารสารทางเลือกกับความเป็นไปได้ในทางธุรกิจ          ทางเลือก โดยนําวารสารที่ได้ทํา
                 - ปฏิบติการผลิตวารสารทางเลือก
                         ั                                            เมื่อครั้งที่แล้วพัฒนาต่อ โดยเน้น
                                                                      การลงสี และตรวจสอบคุณภาพ
   11        การสร้างภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์                     -   แบ่งกลุ่มปฏิบติการใช้โปรแกรม
                                                                                       ั
                 - การลอกภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์                     กราฟิกลอกภาพประกอบ จาก
                 - การใช้โปรแกรม จัดการภาพ                            ภาพประกอบที่นักศึกษาได้เคยวาด
                                                                      ไว้
   12        การใช้คอมพิวเตอร์ผลิตงานวารสาร                       -   แบ่งกลุ่มปฏิบติการใช้โปรแกรม
                                                                                         ั
                 - การใช้โปรแกรม MS Word ผลิตงานวารสาร                MS Word นําเนื้อหาที่จดเตรียม
                                                                                                 ั
                 - การติดตั้ง Font                                    ไว้มาผสมกับภาพประกอบจัดทํา
                 - การแปลงไฟล์เพื่อนําไปใช้ในสื่ออื่น                 วารสาร
                 - ออกแบบปกด้วยโปรแกรม Photoshop                  -   ให้นักศึกษาแปลงไฟล์วารสารให้
                                                                      อยู่ในรูปแบบ PDF เพื่อนําไป
                                                                      นําเสนอบนอินเทอร์เน็ต
   13        เตรียมจัดนิทรรศการแสดงผลงาน                          -   ให้นักศึกษาแบ่งหน้าที่ในการจัด
                  - ทฤษฏีการจัดนิทรรศการ                              นิทรรศการแสดงผลงานของ
                  - ตัวอย่างการจัดนิทรรศการแบบสร้างสรรค์              นักศึกษา ตามจํานวนหัววารสาร ๔
                  - การออกแบบนิทรรศการด้วยคอมพิวเตอร์                 เรื่อง
                                                                  -   ผู้สอนให้ความรู้ด้านการออกแบบ
-5-

  สัปดาห์ที่             หัวข้อการสอนและเนื้อหาวิชาโดยสังเขป        กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                                   นิทรรศการกับกลุ่มที่รับผิดชอบ
                                                                   เรื่องสถานที่
     14        จัดนิทรรศการแสดงผลงาน                           -   ผู้สอนสังเกต การทํางานของ
                    - นําเสนอนิทรรศการสู่สาธารณะ                   ผู้เรียน
                                                               -   ประเมินความรับผิดชอบและการมี
                                                                   ส่วนร่วมของผู้เรียน
     15        ทบทวนเนื้อหา                                    -   อภิปรายและซักถามในชั้น
                                                                   เรียน
                                                               -   สรุปผลการจัดนิทรรศการ
                                              สอบปลายภาค

7. แหล่งวิทยาการ (ศึกษา ค้นคว้า อ้างอิง)
- ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
- Internet
- ห้องสมุด TK-Park

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1Junya Punngam
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4krunuy5
 
แผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mxแผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mxJunya Punngam
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashprawit trakoonvidthayanan
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อSuwichaPanyakhai
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาJirathorn Buenglee
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54
หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54
หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54Pawat Logessathien
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยmoohmed
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้Kobwit Piriyawat
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...Kruple Ratchanon
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 

Was ist angesagt? (17)

เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mxแผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mx
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54
หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54
หัวข้อสอนการศึกษาอิสระ54
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
2
22
2
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 

Andere mochten auch

resume罗璐简历
resume罗璐简历resume罗璐简历
resume罗璐简历Lu Lu
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวParith Promwaranon
 
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resumeเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ResumeNuntapong Ponngam
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวsingha_koy
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 

Andere mochten auch (9)

resume罗璐简历
resume罗璐简历resume罗璐简历
resume罗璐简历
 
Portfolio2013
Portfolio2013Portfolio2013
Portfolio2013
 
Data
DataData
Data
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resumeเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 
Resume2
Resume2Resume2
Resume2
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 

Ähnlich wie แผนการสอนJm100

แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308Pises Tantimala
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 

Ähnlich wie แผนการสอนJm100 (20)

Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308 Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Mehr von Pises Tantimala

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonPises Tantimala
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ Pises Tantimala
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalartPises Tantimala
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomercePises Tantimala
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยPises Tantimala
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Pises Tantimala
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์Pises Tantimala
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอPises Tantimala
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork Pises Tantimala
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internetPises Tantimala
 
บทที่2newmedia
บทที่2newmediaบทที่2newmedia
บทที่2newmediaPises Tantimala
 
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์Pises Tantimala
 

Mehr von Pises Tantimala (20)

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoon
 
Symboldesign
SymboldesignSymboldesign
Symboldesign
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
Port
PortPort
Port
 
Resume Pises Tantimala
Resume Pises TantimalaResume Pises Tantimala
Resume Pises Tantimala
 
Seo_pdf
Seo_pdfSeo_pdf
Seo_pdf
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalart
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomerce
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
Googleplus thailand
Googleplus thailandGoogleplus thailand
Googleplus thailand
 
Social4pr
Social4pr Social4pr
Social4pr
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอ
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internet
 
บทที่2newmedia
บทที่2newmediaบทที่2newmedia
บทที่2newmedia
 
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
 
test present
test presenttest present
test present
 

แผนการสอนJm100

  • 1. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต แผนการสอน คณะนิเทศศาสตร์ รหัส/ชื่อวิชา (ภาษาไทย) วส.๑๐๐ การออกแบบเพื่องานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ (ภาษาอังกฤษ) JM.๑๐๐ DESIGN FOR JOURNALISM AND NEW MEDIA จํานวน 3 (2-2-6) หน่วยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 อาจารย์ผู้สอน อ.พิเศศ ตันติมาลา Section 011 วันพุธ / 12:30-14:30 น. ห้อง R2826 วันพุธ / 14:30-16:30 น. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์วารสารศาสตร์และสื่อใหม่ 1. คําอธิบายรายวิชา งานออกแบบเพื่องานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ การจัดวางองค์ประกอบ การใช้สี การร่างแบบ การวาดเส้น การใช้ ที่ว่างในการออกแบบ ทฤษฏีการออกแบบอื่นๆ และ ทิศทางการออกแบบในปัจจุบันและอนาคต เพื่อเป็นต้นแบบในการผลิต งานวารสารและสื่อใหม่ 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถร่างภาพเพื่อใช้ในการออกแบบวารสารและสื่อใหม่ได้ 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถคิดงานออกแบบได้อย่างสร้างสรรค์ได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถผลิตวารสารและหนังสือ ได้อย่างสร้างสรรค์ และมีจริยธรรม 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนภาพประกอบได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหา 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดงานนิทรรศการเพื่อแสดงผลงานของนักศึกษาได้ 3. รายชื่อหนังสือ/บทความวิชาการ/เอกสารประกอบการสอน ตําราหลัก 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วส.๑๐๐ การออกแบบเพื่องานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ โดย พิเศศ ตันติมาลา หนังสือ/บทความวิชาการ/เอกสารประกอบการสอน 1. เกียรติพงษ์ บุญจิตร,คู่มือ Photoshop CS5 Professional Guide ฉบับสมบูรณ์,กรุงเทพฯ : บ.ไอดีซี พรีเมียร์ จํากัด ,2554 2. กนิษฐ์ ฉินสิน,การวาดการ์ตูนตามแผน, กรุงเทพ: ดี.เค. บุ๊ค ดิสทริบิวเตอร์, บจก. ,2551 3. คู่มือการรายงานข่าว ICT . พิมพ์ครั้งที่ 2 โดยชมรมนักข่าวสายเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2552. 4. ทัศยาภรณ์ เกื้อหนุน ,เทคนิคแต่งภาพวิวสวยด้วย PHOTOSHOP, กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น ,2552
  • 2. -2- 5. บัณฑิต ประดิษฐานุวงษ์, การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์, กรุงเทพ:ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) สมาคม ,2542 6. ป่าน นิตตา ,วาดเล่น ,กรุงเทพ : ลายจุด,2552 7. รุ่งเรือง เพชรมุณี ,เทคนิค Sketch ภาพด้วยปากกา, กรุงเทพฯ : 1. รุ่งเรือง เพชรมุณี,2553 8. วัชรี วัชรสินธุ์, เทคนิคการเขียนภาพลายเส้นในงานสถาปัตยกรรม ,กรุงเทพ:สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,2553 9. วิษณุ สุวรรณเพิ่ม. นิตยสาร. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2540. 10. ศิวะภาค เจียรวนาลี. The Secret of Pocket Book. กรุงเทพฯ : เดย์ โพเอทส์, 2552 11. สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 8. นนทบุรี : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536. 12. สุรยุทธ พันธ์เผือก,ฝึกระบายด้วยสีน้ํา,กรุงเทพ : วาดศิลป์,2552 13. สุรวงศ์ หาทรัพย์, เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล ,การเขียนทัศนียภาพ : Perspective Training, กรุงเทพฯ : เศรษฐศิลป์ ,2553 14. Alisa Golden,Making Handmade Books: 100+ Bindings, Structures & Forms,USA:Lark Crafts,2011 15. David Neat,Model-Making: Materials and Methods,English:Crowood Press,2008 16. Doug Sahlin, How to Do Everything with Adobe Acrobat 8, USA : McGraw-Hill Osborne Media,2549 17. Gwen Diehn,Live & Learn: Real Life Journals: Designing & Using Handmade Books,English:Lark Books,2010 1. วิธการเรียนการสอน ี 1. การบรรยาย 20% 2. การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 40% 3. การฝึกปฏิบติในชั้นเรียน กิจกรรม/รายงาน ั 40% 2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 1. คะแนนภาคปฏิบติ / งานกลุ่มกิจกรรม ั 70% 2. คะแนนความตรงต่อเวลา / ความสนใจ 10% 3. คะแนนสอบปลายภาค 20% รวมคะแนนตลอดภาค 100%
  • 3. -3- 4. รายละเอียดเนื้อหาวิชา สัปดาห์ที่ หัวข้อการสอนและเนื้อหาวิชาโดยสังเขป กิจกรรมการเรียนการสอน 1 พื้นฐานภาพร่างและศิลปะ - แนะนําเนื้อหาวิชา - หลักสุนทรียศาสตร์ - อธิบายแผนการสอนและการ - อุปกรณ์ การใช้งาน วิธีใช้ ในงาน การร่างภาพรูปทรง ประเมิน - เรขาคณิต ลงแสงเงา ความเข้าใจเรื่องของมิติ - บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ - การฝึกการมอง การสังเกต ฝึกประสาทสัมผัส อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - การนําพื้นฐานของการวาดรูปทรงเรขาคณิตมาประยุกต์ - ให้ผู้เรียนวาดรูปทรงตามที่ ในการวาดรูปทรงพื้นฐานใกล้ตัว กําหนดให้ 2 การวาดภาพทัศนียภาพ - บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ - เทคนิคการวาดภาพทิวทัศน์ สิ่งก่อสร้าง perspective สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ - ความเข้าใจเรื่องระยะ ใกล้ กลาง ไกล อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - การใส่เงาวัตถุและตกกระทบ - ให้ผ้เรียนวาดภาพสถานที่ ู สิ่งก่อสร้างพร้อมใส่องค์ประกอบ 3 การวาดรูปคน - บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ - โครงสร้างการวาดรูปคน สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ - โครงการการวาดรูปสัตว์ รถ และวัตถุต่าง ๆ อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - เทคนิคการลงสีภาพ - แบ่งกลุ่ม ให้ผ้เรียนวาดรูปการ ู เคลื่อนไหว ของคนในท่าต่าง ๆ ตามที่กําหนดให้ 4 การออกแบบอัตลักษณ์ - บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ - ทฤษฏีออกแบบ Logo สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ - การตีความเชิงสัญลักษณ์ อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - ออกแบบ logo ประจําตัวที่สื่อถึง ตัวตนของนักศึกษาหน้าชั้นเรียน และให้เพื่อนเสนอความคิดเห็น 5 การออกแบบปกนิตยสารและนิตยสาร - บรรยายโดยสไลด์นําเสนอ - ทฤษฏีสี สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ - ความหมายของสี อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - อิทธิพลของสีที่มีต่อการออกแบบ - ค้นคว้ารูปตามองค์ประกอบสี - การจัดกลุ่มคู่สีและการเลือกใช้สี - เตรียมกิจกรรม “ GURU Printing “ 6  หลักการและการฝึกปฏิบัติลงสี - บรรยายโดยสไลด์นําเสนอ - การเลือกวัสดุสีให้เหมาะกับการลงสีแต่ละประเภท สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ - ฝึกปฏิบัติใช้สีหมึก อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - ฝึกปฏิบัติใช้สีน้ํา - กิจกรรม “ GURU Printing “ - ฝึกปฏิบัติใช้สีไม้ - วิทยากรภายนอกมาให้คําแนะนํา - ฝึกปฏิบัติใช้สีโปสเตอร์ ด้านการลงสี ช่วงสอบกลางภาค ( วิชานี้ไม่มีสอบกลางภาคในตาราง)
  • 4. -4- สัปดาห์ที่ หัวข้อการสอนและเนื้อหาวิชาโดยสังเขป กิจกรรมการเรียนการสอน 7 ภาพประกอบในงานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ - บรรยายโดยโดยสไลด์นําเสนอ - ภาพประกอบในงานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ - การวาดภาพประกอบ อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - การลงสีภาพประกอบ - ให้ผู้เรียนวาดภาพประกอบโดย - ตัวอย่างภาพประกอบในงานวารสารศาสตร์และสื่อใหม่ ตีความจากเนื้อหาที่ผู้สอนกําหนด - ให้ผู้เรียนให้ข้อคิดเห็นในผลงาน ของผู้อ่น ื 8 หนังสือทางเลือก - บรรยายโดยสไลด์นาเสนอ ํ - วิวัฒนาการหนังสือทางเลือก สอดแทรกกรณีตัวอย่าง และ - ประเภทของหนังสือทางเลือก อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - การผลิตหนังสือทางเลือก - แบ่งกลุ่มปฏิบัติการผลิตหนังสือ ทางเลือก โดยนําข้อมูลเนื้อหาจาก ที่ผู้สอนกําหนด นํามาออกแบบ และเข้าเล่ม - ให้ผู้เรียนรวบรวมเนื้อหาจากการ ลงพื้นที่และเก็บข้อมูลมาทําเป็น วารสาร 9 วารสารทางเลือก 1 - แบ่งกลุ่มปฏิบัติการผลิตวารสาร - หลักการผลิตวารสารทางเลือก ทางเลือก โดยนําข้อมูลที่ผู้เรียนได้ - การทําdummyหน้าวารสาร ไปรวมรวมมา วิเคราะห์เขียน - ปฏิบัติการผลิตวารสารทางเลือก ภาพประกอบ ออกแบบ โดยใช้ เทคนิคการตัดแปะ 10 วารสารทางเลือก 2 - แบ่งกลุ่มปฏิบัตการผลิตวารสาร ิ - วารสารทางเลือกกับความเป็นไปได้ในทางธุรกิจ ทางเลือก โดยนําวารสารที่ได้ทํา - ปฏิบติการผลิตวารสารทางเลือก ั เมื่อครั้งที่แล้วพัฒนาต่อ โดยเน้น การลงสี และตรวจสอบคุณภาพ 11 การสร้างภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ - แบ่งกลุ่มปฏิบติการใช้โปรแกรม ั - การลอกภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ กราฟิกลอกภาพประกอบ จาก - การใช้โปรแกรม จัดการภาพ ภาพประกอบที่นักศึกษาได้เคยวาด ไว้ 12 การใช้คอมพิวเตอร์ผลิตงานวารสาร - แบ่งกลุ่มปฏิบติการใช้โปรแกรม ั - การใช้โปรแกรม MS Word ผลิตงานวารสาร MS Word นําเนื้อหาที่จดเตรียม ั - การติดตั้ง Font ไว้มาผสมกับภาพประกอบจัดทํา - การแปลงไฟล์เพื่อนําไปใช้ในสื่ออื่น วารสาร - ออกแบบปกด้วยโปรแกรม Photoshop - ให้นักศึกษาแปลงไฟล์วารสารให้ อยู่ในรูปแบบ PDF เพื่อนําไป นําเสนอบนอินเทอร์เน็ต 13 เตรียมจัดนิทรรศการแสดงผลงาน - ให้นักศึกษาแบ่งหน้าที่ในการจัด - ทฤษฏีการจัดนิทรรศการ นิทรรศการแสดงผลงานของ - ตัวอย่างการจัดนิทรรศการแบบสร้างสรรค์ นักศึกษา ตามจํานวนหัววารสาร ๔ - การออกแบบนิทรรศการด้วยคอมพิวเตอร์ เรื่อง - ผู้สอนให้ความรู้ด้านการออกแบบ
  • 5. -5- สัปดาห์ที่ หัวข้อการสอนและเนื้อหาวิชาโดยสังเขป กิจกรรมการเรียนการสอน นิทรรศการกับกลุ่มที่รับผิดชอบ เรื่องสถานที่ 14 จัดนิทรรศการแสดงผลงาน - ผู้สอนสังเกต การทํางานของ - นําเสนอนิทรรศการสู่สาธารณะ ผู้เรียน - ประเมินความรับผิดชอบและการมี ส่วนร่วมของผู้เรียน 15 ทบทวนเนื้อหา - อภิปรายและซักถามในชั้น เรียน - สรุปผลการจัดนิทรรศการ สอบปลายภาค 7. แหล่งวิทยาการ (ศึกษา ค้นคว้า อ้างอิง) - ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา - Internet - ห้องสมุด TK-Park