SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 222
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 
ผู้สอนนายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ 
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเทพลีลา
บทที่ 1 โครงสร้างโลก
การศึกษาโครงสร้างโลก 
•นักวิทยาศาสตร์ใช้หลักฐานที่ค้นพบได้ รวมถึงทฤษฎี หลักการ เทคโนโลยี ทั้งทางตรงและทางอ้อม 
•ทางตรง เช่น ศึกษาโครงสร้างโลกจากหินภูเขาไฟ วัดอุณหภูมิใน บริเวณเหมืองลึกและภายในหลุมเจาะ (อุณหภูมิสูงขึ้นตามความลึก จากผิวโลก) ศึกษาชุดหินโอฟิโอไลต์ (เป็นกลุ่มหินในอดีต ของ เปลือกโลกใต้มหาสมุทร แต่ปัจจุบันพบบนแผ่นดิน) ศึกษา ส่วนประกอบทางเคมีของอุกาบาตร และหินจากดวงจันทร์ 
•ทางอ้อม ศึกษาจากคลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหว คลื่นที่ มนุษย์สร้างขึ้น (ระเบิดนิวเคลียร์) การวัดค่าแรงโน้มถ่วง
คลื่นในตัวกลาง (Body wave) 
•คลื่นในตัวกลางเดินทางผ่านเข้าไปภายในของโลกผ่านไปยังพื้นผิวโลกที่ อยู่ซีกตรงข้าม มี 2 ลักษณะ คือ 
1. คลื่นปฐมภูมิ (P wave) 
2. คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
คลื่นปฐมภูมิ (P wave) 
•เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาค ของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่น ส่งผ่านไป 
•เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ 
•วัดแรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น 
•มีความเร็วประมาณ 6 – 8 km/s 
•ทาให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S wave) 
•เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความ ไหวสะเทือนในตัวกลางโดย อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้ง ฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้ง แนวตั้งและแนวนอน 
•คลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลาง ที่เป็นของแข็งเท่านั้น 
•ความเร็วประมาณ 3 –4 km/s 
•ทาให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
การแบ่งโครงสร้างโลกตามลักษณะกายภาพ 
นักธรณีวิทยาแบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น 5 ส่วน โดย พิจารณาจากความเร็วของคลื่น P และ S 
1.ธรณีภาค (Lithosphere) 
2.ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) 
3.เมโซสเฟียร์ (Mesosphere) 
4.แก่นชั้นโลกนอก (Outer core) 
5.แก่นโลกชั้นใน (Inner core)
1. ธรณีภาค คือ ประกอบด้วยเปลือกโลกทวีป และ เปลือกโลกมหาสมุทร คลื่น P และ S เคลื่อนที่ช้าลงจนถึงแนวแบ่งเขตโมโฮวิซึ่งอยู่ที่ระดับลึกประมาณ 100 km 
2. ฐานธรณีภาค อยู่ใต้แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิกลงไปจนถึงระดับ 700 km เป็น บริเวณที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วเพิ่มขึ้นตามระดับลึก แบ่งเป็น 2 เขต –เขตที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วต่า ที่ระดับลึก 100 - 400 กิโลเมตร P และ S มีความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างไม่คงที่ เนื่องจากบริเวณนี้เป็น ของแข็งเนื้ออ่อน อุณหภูมิที่สูงมากทาให้แร่บางชนิดเกิดการหลอมตัว เป็นหินหนืด –เขตที่มีการเปลี่ยนแปลง อยู่บริเวณเนื้อโลกตอนบน ระดับลึก 400 - 700 กิโลเมตร P และ S มีความเร็วเพิ่มขึ้นมาก ในอัตราไม่ สม่าเสมอ เนื่องจากบริเวณนี้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแร่
3. เมโซสเฟียร์ อยู่บริเวณเนื้อโลกชั้นล่าง ที่ความลึก 700 - 2,900 กิโลเมตร เป็นบริเวณที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็ว สม่าเสมอ เนื่องจากเป็นของแข็ง 
4. แก่นชั้นโลกนอก ที่ระดับลึก 2,900 - 5,150 กิโลเมตร คลื่น P ลด ความเร็วลงฉับพลัน ขณะที่ S ไม่ปรากฏ ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณนี้ เป็นเหล็กหลอมละลาย 
5. แก่นโลกชั้นใน ที่ระดับลึก 5,150 กิโลเมตร จนถึงความลึก 6,371 กิโลเมตร ที่จุดศูนย์กลางของโลก คลื่น P ทวีความเร็วขึ้น เนื่องจากความกดดันแรงกดดันภายในทาให้เหล็กเปลี่ยนสถานะ เป็นของแข็ง
•ข้อใดเป็นการศึกษาโครงสร้างโลกทางตรง 
1. การศึกษาจากคลื่นไหวสะเทือน 
2. การวัดค่าสนามโน้มถ่วงบริเวณผิวโลก 
3. การวัดอุณหภูมิบริเวณเหมืองลึก 
4. ถูกมากกว่า 1 ข้อ 
•ข้อใดไม่ใช่สมบัติของคลื่นแผ่นดินไหวชนิด P 
1. แผ่กระจายเป็นวงรอบศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 
2. เคลื่อนที่เหมือนคลื่นเสียง 
3. สามารถเคลื่อนที่ผ่านของแข็ง ของเหลว 
4. สามารถเคลื่อนที่ผ่านของแข็งเท่านั้น
• แก่นโลกประกอบด้วยธาตุใดมากที่สุด 1. ธาตุเหล็ก และนิกเกิล 2. ธาตุเหล็ก และซิลิคอน 3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม 4. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม 
• แก่นโลกชั้นใน (Inner core) ของโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร 
1. โลหะของแข็ง 
2. โลหะที่หลอมละลายเป็นของเหลว 
3. หินที่เป็นของแข็ง 
4. หินที่หลอมละลายเป็นของเหลว
• ที่ระดับความลึก ประมาณ 2,900 กิโลเมตรจากผิวโลก ความเร็วของ คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิลดลงอย่างมาก และคลื่นทุติยภูมิไม่ สามารถเคลื่อนที่ต่อไปได้ ณ ระดับความลึกดังกล่าว เพราะเป็น รอยต่อระหว่างชั้น...(ก)... ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็ง และแก่นโลก ชั้นนอกซึ่งมีสถานะเป็น... (ข).... 
จากโจทย์ (ก) และ (ข) คืออะไรตามลาดับ 
1. ฐานธรณีภาค ของแข็ง 
2. ฐานธรณีภาค ของเหลว 
3. มีโซสเฟียร์ ของแข็ง 
4. มีโซสเฟียร์ ของเหลว
การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบเคมี 
•โลกมีอายุมาแล้วประมาณ 4600 ล้านปี 
•โครงสร้างโลกแบ่งออกได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่ 
–เปลือกโลก (Crust) 
–เนื้อโลก (Mantle) 
–แก่นโลก (Core)
• เปลือกโลกประกอบด้วย เปลือกโลกทวีปและเปลือก โลกมหาสมุทร มีความลึก เฉลี่ย 35-40 km บางบริเวณ มากกว่า 70 กิโลเมตร •เปลือกโลกทวีป มี Si และ Al เป็นส่วนใหญ่ •เปลือกโลกมหาสมุทร มี Si และ Mg เป็นส่วนใหญ่
•เนื้อโลกมีความลึกประมาณ 2900 กิโลเมตร องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น ของแข็ง •ส่วนบนของชั้นเนื้อโลกกับชั้นเปลือกโลกรวมเรียกว่า “ธรณีภาค” (lithosphere) มีความหนาประมาณ 100 กิโลเมตร •ชั้นเนื้อโลกที่มีความลึก 100-350 กิโลเมตร เรียกว่า ชั้นฐานธรณีภาค (asthenosphere) เป็นชั้นของหินหลอมละลาย เรียกว่า แมกมา •แก่นโลก แบ่งออกเป็นแก่นโลกชั้นนอก มีความหนา 2900-5100 กิโลเมตร ประกอบด้วยเหล็กและนิกเกิลที่หลอมละลายเป็นของเหลว ส่วนแก่นโลกชั้นในก็ประกอบด้วยเหล็กและนิกเกิลแต่เป็นของแข็ง เพราะมีความดันอุณหภูมิสูง โดยมีอุณหภูมิสูงประมาณ 6000 องศา เซลเซียส
•ในการแบ่งชั้นของโลกตามลักษณะมวลสาร ชั้นเนื้อโลกส่วนใหญ่มี สถานะในข้อใด (O-NET54) 
1.ของแข็ง 2. ของเหลว 
3. ของไหล 4. แก๊ส 
•หินหลอมละลายที่เรียกว่าแมกมาอยู่ตรงบริเวณใด 
1. ธรณีภาค 2. ฐานธรณีภาค 
3. แก่นโลก 4. ด้านล่างสุดของเปลือกโลก 
•ส่วนที่เป็นธรณีภาค (Lithosphere) ได้แก่ บริเวณใด 
1. เปลือกโลก (Crust) 2. เปลือกโลกและเนื้อโลกทั้งหมด 
3. เนื้อโลก (Mentle) 4. เปลือกโลกและส่วนบนของเนื้อโลก
•คากล่าวใดผิด 1.โลกกาเนิดมาได้ประมาณ 4600 ล้านปี 2. แก่นโลกชั้นนอกเป็นของเหลว 3. แก่นโลกชั้นในเป็นของแข็ง 4. ทั้งแก่นโลกชั้นนอกและชั้นในต่างเป็นของเหลว 
•เปลือกโลกทวีป ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง 1. ธาตุซิลิคอน และซิลิกา 2. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม 3. ธาตุเหล็ก และทองแดง 4. ธาตุซิลิคอน และเหล็ก
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonic) 
•เสนอโดย ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Dr.Alfred Wegener) ชาวเยอรมัน •ทฤษฎี : แต่เดิมแผ่นดินบนโลกเป็นแผ่นดินผืนเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย (Pangaea) Pangaea แปลว่า “แผ่นดินทั้งหมด”
•200 ล้านปีก่อนพันเจียแยกออกเป็น 2 ทวีปใหญ่ ได้แก่ ลอเรเซีย อยู่ทางเหนือ ซึ่งมียุโรปติดอยู่กับอเมริกาเหนือ และทวีปกอนด์วา นาอยู่ทางใต้
•ต่อมากอนด์วานาแตกออกเป็น อินเดีย อเมริกาใต้และแอฟริกา ส่วนออสเตรเลียยังคงเป็นส่วนหนึ่งของกอนด์วานา
•65 ล้านปีก่อนมหาสมุทรแอตแลนติกแยกตัวกว้างขึ้น ทาให้ แอฟริกาเคลื่อนตัวห่างออกจากอเมริกาใต้
• ต่อมายุโรปและอเมริกาเหนือแยกออกจากกัน โดยอเมริกาเหนือโค้งเข้า 
เชื่อมกับอเมริกาใต้ และออสเตรเลียแยกออกจากแอนตาร์กติกา 
•อินเดียเคลื่อนเข้า 
กับเอเซียเกิดเป็น 
ภูเขาหิมาลัย
•ทวีปขนาดใหญ่ในยุค Cambrian มีชื่อว่า 
1. พันเจีย (Pangaea) 2. อะฟราเซีย (Afrasia) 
3. แผ่นดินกอนด์วานา 4. ยูโรเปีย (Europia) 
•นักธรณีวิทยาสันนิษฐานว่าเมื่อ 200-135 ล้านปีที่แล้ว โลก มีทวีปตามข้อใด 1.พันเจีย และลอเรเซีย 2.พันเจีย และ กอนด์วานา 
3.ลอเรเซีย และกอนด์วานา 4.พันเจีย ลอเรเซีย และกอนด์วานา
• ตามทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonics) ข้อใดไม่ได้รวมอยู่ในทวีป “กอนด์วานา 
1. ทวีปแอฟริกา 2. ทวีปอินเดีย 
3. ทวีปอเมริกาเหนือ 4. ทวีปออสเตรเลีย 
•ประเทศใดไม่ได้อยู่บนแผ่นธรณีภาคเดียวกัน 
1. ไทย 2. จีน 
3. ฝรั่งเศส 4. อินเดีย
หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีของเวเกเนอร์ 
•รอยต่อของแผ่นธรณีภาค รูปร่างของทวีปบางทวีปเชื่อมต่อกันได้ พอดี เช่น ด้านตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ เชื่อมต่อด้านตะวันตก ของทวีปแอฟริกาได้ดี •ความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหิน และแนวภูเขา กลุ่มหินในอเมริกาใต้ แอนตาร์กติกา แอฟริกา ออสเตรเลีย และอินเดีย เป็นหินที่เกิดในยุคคาร์บอ นิเฟอรัสถึงยุคจูแรสซิกเหมือนกัน 
สาเหตุที่ต่อกันไม่สมบูรณ์ มา จากการกัดเซาะชายฝั่ง และ การสะสมของตะกอน
•หินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้าแข็ง •ซากสัตว์ดึกดาบรรพ์ มีการพบซากดึกดาบรรพ์ 4 ประเภท คือ มี โซซอรัส ลีสโทรซอรัส ไซโนกาทัส และกลอสโซพเทรีส ใน ทวีปต่าง ๆ ที่เคยเป็นกอนด์วานา
หลักฐานอื่นๆ ที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป 
•สันเขาใต้สมุทร และร่องลึกใต้สมุทร 
สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก 
ร่องลึกใต้มหาสมุทรมาเรียนา
•อายุหินบริเวณพื้นมหาสมุทร จากการสารวจมหาสมุทรแปซิฟิก แอตแลนติก และอินเดีย พบหินบะซอลต์ที่บริเวณหุบเขาทรุดและ รอยแยกบริเวณสันเขาใต้สมุทร •ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาล (ร่องรอยสนามแม่เหล็กโลกในอดีต) ศึกษาจากหินบะซอลต์ที่มีแร่แมกนีไทต์ 
ไกลรอยแยกอายุจะมาก ใกล้รอยแยกอายุจะน้อย
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี 
•วงจรการพาความร้อน คือ กระบวนการที่สารร้อนภายในโลก ไหลเวียนเป็นวงจร ทาให้เปลือกโลกกลางมหาสมุทรยกตัวขึ้น 
•เมื่อสารร้อนไหลเวียนขึ้นมาจะมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น และมุด ลงบริเวณร่องลึกใต้สมุทร
แผ่นธรณีของโลก
• กลไกที่ทาให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจาก 
1. การหมุนของโลกและแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวง จันทร์ชักจูงให้เกิดกระบวนการของทวีปเลื่อน 
2. เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง 
3. การพาความร้อนในแมนเทิล 
4. การแยกของแผ่นทวีป
• หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนว่าทวีปต่างๆ ในปัจจุบันแต่เดิมเป็น ผืนแผ่นเดียวกัน ได้มาจากการศึกษาตามข้อใด 1.รอยต่อของชั้นเนื้อโลก 2.รอยต่อของชั้นแก่นโลก 
3.รอยต่อของแผ่นธรณีภาค 4.รอยต่อของชั้นเปลือกโลก 
• ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหว อันเนื่องมาจากการ กระทบกันของแผ่นธรณีภาคคู่ใดมากที่สุด 
1) แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก 
2) แผ่นยูเรเซียกับแผ่นอินเดีย 
3) แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา 
4) แผ่นแอนตาร์กติกากับแผ่นออสเตรเลีย-อินเดีย
•การเกิดสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 เกิดจากการชนของ แผ่นทวีปใด 
1.ออสเตรเลีย-อินเดีย กับแผ่นยูเรเซีย 
2.แผ่นอินโดนีเซีย กับ แผ่นแปซิฟิก 
3.แผ่นยูเรเซีย กับ แผ่นแปซิฟิก 
4.แผ่นอินโดนีเซีย กับ แผ่นฟิลิปปินส์
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค 
1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน 
2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน 
3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน 
เนื่องจากการดันตัวของแมกมาในชั้นธรณีภาค ทาให้เกิด รอยแตกในชั้นหินแข็ง เปลือกโลกตอนบนทรุดตัว กลายเป็นหุบเขาทรุด เมื่อแมกมาเคลื่อนตัวแทรกขึ้นมาตาม รอยแยก ทาให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนตัวแยก ออกไปทั้งสองข้าง กระบวนการนี้เรียกว่า การขยายตัวของ พื้นทะเลและปรากฏเป็นเทือกเขากลางสมุทร เช่น บริเวณ ทะเลแดง, อ่าวแคลิฟอร์เนีย, กลางมหาสมุทรแอตแลนติก
2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน มี 3 แบบ • แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร เกิดเป็นแนวภูเขา ไฟกลางมหาสมุทร เช่น หมู่เกาะมาริอานาส์ อาทูเทียน มีลักษณะเป็นร่องใต้ทะเล ลึก มีแนวการเกิดแผ่นดินไหว •แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป ทาให้แผ่นธรณี ภาคใต้มหาสมุทรมุดลงใต้แผ่นธรณีภาค ภาคพื้นทวีป เกิดรอยคดโค้งเป็น เทือกเขาบนแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป เช่นที่อเมริกาใต้แถบตะวันตก แนว ชายฝั่งโอเรกอนเป็นร่องใต้ทะเลลึก มีภูเขาไฟปะทุในส่วนที่เป็นแผ่นดิน เกิด เป็นแนวภูเขาไฟชายฝั่งเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง •แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป ส่วนหนึ่งมุดลง อีกส่วนหนึ่งเกยกันอยู่เกิดเป็นเทือกเขาสูง เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย และเทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป
3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน 
เพราะแต่ละแผ่นธรณีภาคมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากันทาให้ไถล เลื่อนผ่านมีลักษณะเป็นแนวรอยแตกแคบยาวมีทิศทางตั้งฉากกับเทือกเขา กลางสมุทรและร่องใต้ทะเลลึก เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในระดับตื้นๆ ใน บริเวณภาคพื้นทวีป หรือมหาสมุทร เช่น รอยเลื่อนซานแอนเดรียสอยู่ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา รอยเลื่อนอัลไพน์อยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ 
รอยเลื่อนซานแอนเดรีย
•ข้อใดไม่ใช่การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก 
1. ขอบแผ่นธรณีแยกออกจากกัน 2. ขอบธรณีซ้อนทับกัน 
3. ขอบแผ่นธรณีเคลื่อนเข้าหากัน 4. ขอบแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกัน 
•บริเวณหุบเขาทรุดตัวตามแนวสันเขากลางมหาสมุทรมีการเคลื่อนตัว ของขอบแผ่นธรณีภาคในลักษณะใดที่สาคัญ 
1. เคลื่อนตัวหนีห่างออกจากกัน 2. เคลื่อนตัวเข้าหากัน 
3. เคลื่อนตัวมุดลงไปใต้อีกแผ่น 4. เคลื่อนตัวเฉือนกัน
• เทือกเขาหิมาลัย เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรณีภาคแบบใด 
1. การเกิดแผ่นดินไหว 2. การแยกตัวของแผ่นเปลือกโลก 
3. การระเบิดของภูเขาไฟ 4. การชนกันของแผ่นเปลือกโลก 
• บริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟมากที่สุดคือบริเวณใด 1.แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก 2.บริเวณที่มีการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก 3.บริเวณที่มีการชนกันของแผ่นเปลือกโลก 4.บริเวณที่มีการแยกห่างจากกันของแผ่นเปลือกโลก
•ข้อใด ไม่ใช่ ผลที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคใต้ มหาสมุทรที่มุดเข้าไปใต้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรอีกแผ่น หนึ่งในระดับลึก 
1.ภูเขาไฟที่มีพลัง 
2.แนวเทือกเขากลางมหาสมุทร 
3.แนวเกิดแผ่นดินไหวตามขอบแผ่นธรณีภาคลึกลงไป 
4.ปลายส่วนที่มุดเข้าไปกลายเป็นแมกมา ปะทุขึ้นมาบนแผ่น ธรณีภาคใต้มหาสมุทร
•ข้อใดคือความสาคัญของการศึกษาค้นคว้าทางธรณีวิทยา 
1.เพื่อหาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง 
2.เพื่อหาวิธีการปรับปรุงแก้ไขผลกระทบที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงนั้นๆ 
3.เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง 
4.ถูกทุกข้อ
•หลักฐานทุกข้อต่อไปนี้สนับสนุนว่าแผ่นธรณีภาคมีการ เคลื่อนที่ยกเว้นข้อใด 
1.ลักษณะการเกิดเทือกเขาหิมาลัย 
2.ปรากฏการณ์น้าพุร้อน 
3.รอยโค้งเว้าของแผนอเมริกาใต้และแผ่นแอฟริกาเชื่อมกันได้พอดี 
4.สิ่งมีชีวิตริมชายฝั่งแผ่นธรณีภาคด้านเดียวกันมีความคล้ายคลึงกัน
•แผ่นเปลือกโลกมีหลายแผ่น ปัจจุบันทวีปอเมริกาและแผ่นแอฟริกา ห่างกันมากเพราะเหตุใด 1. ภูเขาไฟระเบิดในมหาสมุทร 2. หินหนืดแทรกตัวตามแผ่นเปลือกโลก 3. เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมาก 4. เกิดการโค้งตัวของแผ่นเปลือกโลก •ถ้าแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นเคลื่อนที่แยกจากกันที่เทือกสันเขากลาง มหาสมุทร จะเกิดผลตามข้อใด 1.การขยายตัวของทวีป 2.เกิดภูเขาไฟใต้มหาสมุทร 3.เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร 4.เกิดการขยายตัวของมหาสมุทร
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก 
1.ชั้นหินคดโค้ง 
คดโค้งรูปประทุน (anticline) และคดโค้งรูปประทุนหงาย (syncline)
2. รอยเลื่อน คือ ระนาบรอยแตกตัดผ่านหินซึ่งมีการเคลื่อนที่ผ่านกัน และ หินจะเคลื่อนที่ตามระนาบรอยแตกนั้น แบ่งเป็น 3 ประเภท 
1.รอยเลื่อนปกติ 
2.รอยเลื่อนย้อน 
3.รอยเลื่อนตามแนวระดับ
•คากล่าวในข้อใดถูกต้อง เมื่อแผ่นโลกด้านหนึ่งของรอยแตกเลื่อน ไปทับอีกข้างหนึ่ง เรียกว่าอะไร 1.รอยเลื่อนย้อนกลับ 2.รอยเลื่อนปกติ 3.รอยเลื่อนแนวราบ 4.รอยเลื่อนโมโฮ •”ระนาบรอยแตกผ่านหินซึ่งมีการเคลื่อนผ่านกันและหินจะเคลื่อนที่ ตามระนาบรอยแตกนั้น” หมายถึงอะไร 
ก.ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน ข.ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย ค.แผ่นดินทรุด ง.รอยเลื่อน
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
แผ่นดินไหว 
•สาเหตุและกลไกในการเกิดแผ่นเดินไหว 
–การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกตามแนวระหว่างรอยต่อของแผ่นธรณี ภาค 
–ทาให้เกิดแรงพยายามกระทาต่อชั้นหินขนาดใหญ่ เพื่อจะทาให้ชั้น หินนั้นแตกหัก 
–ขณะชั้นหินยังไม่แตกหัก เกิดเป็นพลังงานศักย์ขึ้นที่ชั้นหินนั้น 
–เมื่อแรงมีขนาดมากจนทาให้แผ่นหินแตกหัก จะเกิดการถ่ายโอน พลังงานนั้นไปยังชั้นหินที่อยู่ติดกัน
• สาเหตุและกลไกในการเกิดแผ่นเดินไหว (ต่อ) 
– การถ่ายโอนพลังงานเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในรูปของคลื่น แผ่ 
ออกไปทุกทิศทาง 
– คลื่นที่แผ่จากจุดกาเนิดการสั่นสะเทือนขึ้นมายังเปลือกโลกได้ 
เรียกคลื่นนี้ว่า “คลื่นในตัวกลาง”
•สาเหตุและกลไกในการเกิดแผ่นเดินไหว (ต่อ) 
–อัตราเร็วในการแผ่ของคลื่นแผ่นดินไหวขึ้นกับความยืดหยุ่นและความหนาแน่น ของตัวกลาง 
–เรียกจุดกาเนิดการสั่นสะเทือนว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (focus) –ตาแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิด แผ่นดินไหว (epicenter) ซึ่งจะมี “คลื่นพื้นผิว” กระจายออกไปตามแนวผิวโลก 
–การระเบิดของภูเขาไฟอาจเป็นสาเหตุของแผ่นดินไหวได้ 
–การเคลื่อนตัวของแมกมาตามเส้นทางมายังปากปล่องภูเขาไฟ อาจทาให้เกิด แผ่นดินไหวก่อนที่แมกมานั้นจะระเบิดออกมาเป็นลาวา 
–การกระทาของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดปรมาณูใต้ดินก็อาจจะเป็นสาเหตุของ แผ่นดินไหว
คลื่นไหวสะเทือน 
•คลื่นไหวสะเทือนมี 2 แบบ 
1. คลื่นในตัวกลาง 
2. คลื่นพื้นผิว
คลื่นในตัวกลาง 
คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และคลื่นทุติยภูมิ (S wave)
คลื่นพื้นผิว 
1. คลื่นเลิฟ (L wave) เป็นคลื่นที่ทาให้ อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวราบ โดยมี ทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น สามารถทาให้ถนนขาดหรือแม่น้าเปลี่ยน ทิศทางการไหล 
2. คลื่นเรย์ลี (R wave) เป็นคลื่นที่ทาให้ อนุภาคตัวกลางสั่น ม้วนตัวขึ้นลงเป็นรูป วงรี ในแนวดิ่ง โดยมีทิศทางเดียวกับการ เคลื่อนที่ของคลื่น สามารถทาให้พื้นผิว แตกร้าว และเกิดเนินเขา ทาให้อาคารที่ ปลูกอยู่ด้านบนเกิดความเสียหาย
• จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) คืออะไร 
1. จุดที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวแต่อยู่ในชั้นเนื้อโลก 
2. จุดบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว 
3. จุดในอากาศที่อยู่เหนือการเกิดแผ่นดินไหว 
4. จุดล่างสุดของชั้นเปลือกโลกที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
•อัตราเร็วในการแผ่ของคลื่นแผ่นดินไหวขึ้นกับ 
1. ความยืดหยุ่นและความหนาแน่นของตัวกลาง 
2. ความหนาและความหนืดของตัวกลาง 
3. อุณหภูมิและความลึกของตัวกลาง 
4. มวลและอุณหภูมิของตัวกลาง 
•แผ่นดินไหวเกิดจากอะไร 1.การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก 2.การระเบิดของภูเขาไฟ 3.การทดลองระเบิดปรมาณูใต้ดิน 4.ถูกทุกข้อ
• ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแผ่นดินไหว 
1. เกิดจากเปลือกโลกขยายตัวไม่สม่าเสมอ เพราะความร้อนจากแก่นโลก 
2. เปลือกโลกเกิดการทรุดตัวหรือยุบตัว 
3. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกเคลื่อนที่ชนหรือแยกตัวออกจาก กันได้ 
4. แผ่นเปลือกโลกส่วนบนขยายตัวได้มากกว่าแผ่นเปลือกโลกส่วนล่าง 
•การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกตามแนวระหว่างรอยต่อของแผ่นธรณี ภาคมีการถ่ายโอนพลังงานศักย์ให้กับชั้นหินในรูปของคลื่นอะไร 1. คลื่นเสียง 2. คลื่นสั่นสะเทือน 3. คลื่นไหวสะเทือน 4. คลื่นแผ่นดินไหว
ไซโมกราฟ (seismo-graph) เป็นเครื่องมือบันทึกข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวมีเป็นเครือข่ายทั่ว โลก
ไซโมกราฟเป็นเครื่องมือที่ใช้ทาสิ่งใด 
1. เครื่องตรวจจับการระเบิดของภูเขาไฟ 
2. เครื่องบันทึกข้อมูลการเคลื่อนตัวของแมกมา 
3. เครื่องตรวจจับการเกิดคลื่นสึนามิ 
4. เครื่องบันทึกข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหว 
เครื่องมือในข้อใดที่ใช้ตรวจวัดความไหวสะเทือนของแผ่นดินไหว 
1. ริกเตอร์สเกล 2. เมอร์คัลลีกราฟ 
3. ไซสโมกราฟ 4. เครื่องวัดจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
•บริเวณที่มักเกิดแผ่นดินไหว 
–ตาแหน่งของศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมีความสัมพันธ์กับแนวรอยต่อของ แผ่นธรณีภาค
•บริเวณที่มักเกิดแผ่นดินไหว (ต่อ) –แนวรอยต่อสาคัญที่มักทาให้เกิดแผ่นดินไหวมี 3 แนว ได้แก่ 
1. แนวรอยต่อที่ล้อมรอบ มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นสาเหตุ ของแผ่นดินไหว 80% ซึ่งมักจะ รุนแรง เรียกบริเวณนี้ว่า “วง แหวนแห่งไฟ” (ring of fire) ได้แก่ ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ตะวันตกของเม็กซิโก ตะวันตก เฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา
2. แนวรอยต่อภูเขาแอลป์และ ภูเขาหิมาลัย เป็นแหล่งกาเนิด แผ่นดินไหว 15% ได้แก่ พม่า อัฟกานิสถาน อิหร่าน ตุรกี แถบ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรป 
3. แนวรอยต่อที่เหลือเป็นสาเหตุของอีก 5% ของแผ่นดินไหว ได้แก่ บริเวณ สันกลางมหาสมุทรต่างๆ ได้แก่ บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก แนวสันเขาในมหาสมุทรอินเดีย และแนวสันเขาในมหาสมุทรอาร์กติก
•บริเวณที่มักจะเกิดแผ่นดินไหวคือข้อใด 
1. ใจกลางแผ่นธรณีภาค 
2. รอยต่อระหว่างแผ่นธรณีภาค 
3. บริเวณที่ห่างจากใจกลางแผ่นธรณีภาคเป็นระยะ 1 ใน 4 ของ ขนาดของแผ่นธรณีภาค 
4. บริเวณที่ลึกเข้ามาจากขอบธรณีภาคเป็นระยะ 1 ใน 4 ของขนาด ของแผ่นธรณีภาค
•ข้อใดถือว่าสาคัญเป็นอันดับแรกในการบอกว่าบริเวณใดเป็น บริเวณที่เรียกว่าวงแหวนแห่งไฟ 
1.มีแนวรอยต่อของแผ่นธรณีภาค 
2.มีการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคตลอดเวลา 
3.มีภูเขาไฟระเบิดมากที่สุดในโลก ทั้งในแผ่นดินและใต้ มหาสมุทร 
4.มีแผ่นดินไหวรุนแรงและมากที่สุดในโลกถึงร้อยละ 80 ของ การเกิดแผ่นดินไหวในโลก
•บริเวณบนผิวโลกที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมากที่สุดได้แก่ 1. แนวรอยต่อภูเขาแอลป์กับภูเขาหิมาลัย 
2. บริเวณวงแหวนแห่งไฟ 3. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก 
4. บริเวณใจกลางแผ่นยูเรเซียน 
•ข้อใดไม่อยู่ในบริเวณที่เรียกว่า “วงแหวนแห่งไฟ” 
1. บริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด 
2. บริเวณรอยต่อของภูเขาแอลป์และภูเขาหิมาลัย 
3. ประเทศญี่ปุ่นทั้งหมด 
4. บริเวณด้านตะวันตกของประเทศเม็กซิโก
ความรุนแรงของการเกิดแผ่นดินไหว 
•ความรุนแรงของแผ่นดินไหว ขึ้นกับปริมาณพลังงานที่ ปลดปล่อยออกมาจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 
•ความรุนแรงของแผ่นดินไหว กาหนดจากผลกระทบหรือความ เสียหายที่เกิดบนผิวโลก ณ จุดสังเกต •หน่วยวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว คือ ริกเตอร์ (richter) ตามชื่อของ (Charles F. Richter) 
•น้อยกว่า 2.0 ริกเตอร์ เป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก 
•6.0 ริกเตอร์ขึ้นไป จัดเป็นแผ่นดินไหวรุนแรง
มาตราเมอร์คัลลี 
คือ มาตราวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว แบ่งเป็น 12 ระดับ 
1. คนไม่รู้สึกสั่นไหว แต่เครื่องมือตรวจจับได้ 
2. คนในอาคารสูงรู้สึกได้ 
3. คนในอาคารแม้ไม่สูงรู้สึกได้ 
4. คนในอาคารและคนนอกอาคารบางส่วนรู้สึกได้ ของในอาคารสั่นไหว 
5. รู้สึกได้ทุกคน ของขนาดเล็กมีการเคลื่อนที่ 
6. วัตถุขนาดใหญ่ในอาคารมีการเคลื่อนที่
มาตราเมอร์คัลลี (ต่อ) 
7. อาคารมาตรฐานปานกลางเสียหายเล็กน้อย 
8. อาคารที่ออกแบบพิเศษเสียหายเล็กน้อย อาคารมาตรฐานต่า เสียหายมาก 
9. อาคารที่ออกแบบพิเศษเสียหายชัดเจน แผ่นดินแยก 
10. แผ่นดินแยกถล่ม โคลนทรายพุ่งขึ้นจากรอยแยก 
11. ดินถล่มและเลื่อนไหล 
12. ทุกสิ่งโดนทาลาย พื้นดินเป็นลอนคลื่น
•ริกเตอร์ (Richter) เป็นหน่วยวัดปริมาณใด 
1. ความรุนแรงของการชนกันของแผ่นธรณีภาค 
2. ความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ 
3. ความรุนแรงของการเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ 
4. ความรุนแรงของแผ่นดินไหว 
•มาตราที่ใช้บอกความเสียหายเนื่องจากแผ่นดินไหวคือข้อใด 
1. ริกเตอร์ 2. เมอร์คัลลลี 
3. โมห์ 4. เวนส์เวอร์ด
•เหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 มีจุด เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในประเทศอินโดนีเซีย และประชาชน ในประเทศไทยรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนดังกล่าว ระดับความ รุนแรงของการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนี้ สามารถ บันทึกได้โดยอาศัยมาตราวัดระดับในข้อใด 
1. มาตราริกเตอร์ 2. มาตรานิวตัน 
3. มาตราเมอร์คัลลี 4. มาตราโมเมนต์
แผ่นดินไหวในประเทศไทย 
•พ.ศ. 1003 ที่เวียงโยนกทาให้เวียงโยนกยุบจมลงกลายเป็นหนอง น้าใหญ่ 
•พ.ศ. 1077 ยอดเจดีย์หักลงสี่แห่ง 
•พ.ศ. 2088 ที่นครเชียงใหม่ ยอดเจดีย์หลวงหักลงมา •พ.ศ. 2506 มีแผ่นดินไหวรู้สึกได้ที่กรุงเทพมหานคร •พ.ศ. 2518 ศูนย์กลางอยู่ที่อาเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มี แผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริกเตอร์ ที่อาเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัด กาญจนบุรี 
•พ.ศ. 2526 รู้สึกได้ในภาคกลางและเหนือ
รอยเลื่อนมีพลัง (active fault) คือ แนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่ เคลื่อนที่ได้ ในประเทศไทยมีรอย เลื่อนที่อยู่บริเวณภาคเหนือ และ ด้านตะวันตกของประเทศ คาบอุบัติซ้า คือ ระยะเวลา ครบรอบของแผ่นดินไหวที่เคย เกิดขึ้น ณ ที่นั้นมาก่อน อาจมีระยะ เป็นพันปีหรือร้อยปี หรือน้อยกว่า 
แผ่นดินไหวในประเทศไทย
• รอยเลื่อนมีพลังหมายถึงอะไร 1. แผ่นดินไหวใกล้จุดศูนย์ 
2. การระเบิดของภูเขาไฟ 3. แผ่นดินไหวระดับลึก 
4. แนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่ยังเคลื่อนที่ 
• จังหวัดใดไม่ได้ตั้งอยู่บนรอยเลื่อนมีพลัง 1. ขอนแก่น 2. เชียงใหม่ 3. เพชรบุรี 4. ชลบุรี
การปฏิบัติขณะเกิดแผ่นดินไหว 
1.คุมสติอย่าตื่นตระหนกเกินเหตุ หยุดการใช้ไฟฟ้า และไฟจากเตาแก๊ส และควรมีไฟฉายประจาตัวอยู่ภายในบ้าน 
2.ถ้าอยู่ภายในบ้าน ควรอยู่ห่างจากประตู หน้าต่าง กระจก และระเบียง บ้าน ระวังอย่าให้ของใช้ในบ้านหล่นทับ โดยอาจมุดอยู่ใต้โต๊ะ 
3.ถ้าอยู่ในตึกสูง ให้มุดลงไปใต้โต๊ะที่แข็งแรงเพื่อป้องกันสิ่งของร่วง หล่นใส่ อย่าวิ่งออกไปภายนอก เพราะบันไดอาจพังลงได้ และห้ามใช้ ลิฟท์โดยเด็ดขาด 
4.ถ้าท่านกาลังขับรถให้หยุดรถและอยู่ภายในรถ จนกระทั่งการ สั่นสะเทือนจะหยุด 
5.หากอยู่ชายหาดให้อยู่ห่างจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นขนาดใหญ่ซัด เข้าหาฝั่ง
6.เรียนรู้และติดตามสถานการณ์แผ่นดินไหวจากสื่อต่างๆ เพื่อ เตรียมพร้อมและวางแผนเตรียมรับภัยจากแผ่นดินไหวได้อย่างมีสติ และปลอดภัย 
•ถ้าหากเกิดแผ่นดินไหวในขณะที่นักเรียนอยู่บนอาคารสูง ควร ปฏิบัติตนอย่างไร 1. รีบวิ่งลงบันได 2. รีบลงชั้นล่างโดยใช้ลิฟต์ 3. มุดเข้าใต้โต๊ะภายในอาคาร 4. ไปที่หน้าต่าง เพื่อขอความช่วยเหลือ
•ข้อใดไม่ถูกต้อง 
1. แนวรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยมีจานวนหลายแนว 
2. แผ่นดินไหวในประเทศไทย มักเกิดในบริเวณแนวรอยเลื่อนมี พลัง 
3. ประเทศไทยมีแผ่นดินไหวขนาดที่รู้สึกได้โดยเฉลี่ยแล้ว 1 ครั้ง ทุกๆ 5 ปี 
4. แนวรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในภาค ตะวันตกและภาคเหนือ
ภูเขาไฟ
•ภูเขาไฟที่ดับแล้วได้เกิดขึ้นมานานมากแล้วนับได้เป็นแสนล้านปี วัตถุที่ พ่นออกมาแข็งตัวกลายเป็นหินภูเขาไฟ •ปัจจุบันทั่วโลกมีภูเขาไฟมีพลังอยู่ประมาณ 1,500 ลูก และกระจายอยู่ใน บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีภาคโดยเฉพาะบริเวณวงแหวนแห่งไฟ 
•การระเบิดของภูเขาไฟเกิดจากการประทุของแมกมา แก๊ส เถ้าจากใต้พื้น โลก 
•ขณะระเบิดแมกมาจะขึ้นมาตามปล่องภูเขาไฟ •เมื่อหลุดออกมานอกภูเขาไฟจะเรียกแมกมานั้นว่า ลาวา (Lava) มี อุณหภูมิ 1200°C
การระเบิดของภูเขาไฟ 
เกิดจากหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกถูกแรงดันอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่ผิวโลก 
โดยมีแรงปะทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น สิ่งที่พุ่งออกมาจากภูเขาไฟเมื่อภูเขาไฟ 
ระเบิดก็คือ หินหนืด ไอน้า ฝุ่นละออง เศษหินและแก๊สต่างๆ โดยจะพุ่งออกมา 
จากปล่องภูเขาไฟ
•ข้อใดถูกต้องที่สุด 
1. ภูเขาไฟส่วนใหญ่พบบนเกาะที่อยู่ตรงขอบของแผ่นธรณีภาค แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ส่วนใหญ่เกิดในแผ่นดินที่อยู่ตรงกลางของแผ่น ธรณีภาค 
2. ภูเขาไฟและแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มักเกิดตามแนวขอบของแผ่นธรณี ภาค 
3. ภูเขาไฟส่วนใหญ่เกิดตรงใจกลางของแผ่นธรณีภาคและแผ่นดินไหว ขนาดใหญ่มักเกิดตามแนวขอบของแผ่นธรณีภาค 
4. ถูกทุกข้อ
• บริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟมากที่สุดคือบริเวณใด 1.แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก 
2.บริเวณที่มีการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก 3.บริเวณที่มีการชนกันของแผ่นเปลือกโลก 
4.บริเวณที่มีการแยกห่างจากกันของแผ่นเปลือกโลก 
•ภูเขาไฟมีพลังมีความหมายตรงกับข้อใด 
1.ภูเขาไฟขณะที่มีการระเบิดอย่างรุนแรง 
2.ภูเขาไฟที่กาลังก่อตัวแต่ยังไม่มีการระเบิด 
3.ภูเขาไฟที่เกิดขึ้นมานานมาก 
4.ภูเขาไฟที่มียังคงมีการระเบิด
•การเกิดภูเขาไฟในประเทศใดต่อไปนี้ ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ ที่แตกต่างจากข้ออื่นมากที่สุด 1. ญี่ปุ่น 2. นิวซีแลนด์ 
3. อินโดนีเซีย 4. ไอซ์แลนด์ 
•เมื่อภูเขาไฟระเบิดจะมีก๊าซพ่นออกมา ก๊าซชนิดใดที่ไม่ได้เกิด จากภูเขาไฟระเบิด 
1. บิวเทน 2.คาร์บอนมอนอกไซด์ 
3. คาร์บอนไดออกไซด์ 4.ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
หินอัคนี แบ่งเป็น 2 ลักษณะ 
เย็นตัวบนผิวโลก 
เย็นตัวเร็ว 
เนื้อละเอียด 
เย็นตัวใต้พื้นโลก 
เย็นตัวช้า 
เนื้อหยาบ 
หินแกรนิต เป็นหินอัคนีที่เกิดขึ้นในชั้นหินอื่น ดังนั้นอัตราการเย็นตัวลงจึง ช้า เกิดการตกผลึกของแร่ได้มากสังเกตเห็นผลึกแร่ต่างๆ ได้อย่างชัดเจน
หินภูเขาไฟ 
•ความพรุนของหิน ขึ้นอยู่กับ อัตราการเย็นตัวของลาวา •ตัวอย่างของหินจากภูเขาไฟ เช่น หินบะซอลต์ หินพัมมิซ หินแก้ว หินทัฟฟ์ หินออบซีเดียน 
หินบะซอลต์ 
•เป็นหินที่เกิดจากการเย็นตัวของลาวาที่ผิวโลก ดังนั้นจึงกระทบกับ อากาศหรือน้าส่งผลให้มีการเย็นตัวเร็วลักษณะของหินจะมีเม็ด ละเอียดกว่าหินแกรนิต และมีรูพรุนเล็กน้อย 
• เป็นต้นกาเนิดอัญมณีที่สาคัญ 
• ถ้ามีปริมาณของ Si จะเป็นหินแอนดีไซด์
หินพัมมิซ 
•เป็นหินที่เกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็วของลาวา ทาให้มีความ พรุนสูง บางชิ้นลอยน้าได้ 
• นามาใช้เป็นหินขัดตัว 
•ข้อใด ไม่ได้ เกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็วของวัตถุที่พ่น ออกมาจากการระเบิดของภูเขาไฟ 1.หินปูน 2.หินแก้ว 
3.หินทัฟฟ์ 4.หินพัมมิซ
•ข้อใดไม่ใช่หินภูเขาไฟ 1. หินพัมมิช 2. หินบะซอลต์ 
3. หินแกรนิต 4. หินออบซีเดียน 
• ความพรุนของหินที่เกิดภายหลังภูเขาไฟระเบิดขึ้นอยู่กับปัจจัยใด 
1.รูปร่างและความสูงของภูเขาไฟ 
2.ตาแหน่งของรอยแยกบนพื้น 
3.อัตราการเย็นตัวของลาวา 
4.องค์ประกอบทางเคมีของแมกมา
ภูมิลักษณ์ของภูเขาไฟ 
1. ที่ราบสูงบะซอลต์ เกิดจากลาวาแผ่เป็นบริเวณกว้าง ทับถมกันหลายชั้น กลายเป็นที่ราบและเนินเขา 
2. ภูเขาไฟรูปโล่ เกิดจากลาวาของหินบะซอลต์ระเบิดออกมาแบบมีท่อ ปล่องภูเขาไฟเล็กๆ บนยอดจะจมลงไป เช่น ภูเขาไฟมัวนาลัว ในหมู่ เกาะฮาวาย 
3. ภูเขาไฟรูปกรวย เป็นรูปแบบภูเขาไฟที่สวยงามที่สุด เกิดจากการทับถม สลับกันระหว่างการไหลของลาวา กับชิ้นส่วนภูเขาไฟ เช่น ภูเขาไฟฟูจิ ยามาอยู่ในประเทศญี่ปุ่น ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์อยู่ในประเทศ สหรัฐอเมริกาและภูเขาไฟมายอนอยู่ในประเทศฟิลิปปินส์
ภูเขาไฟในประเทศไทย 
•ประเทศไทยอยู่นอกเขตการมุดตัวของแผ่นธรณีภาค แต่เคยมีการ ระเบิดของภูเขาไฟมาก่อน บริเวณที่พบหินภูเขาไฟ ได้แก่ จังหวัดลพบุรี กาญจนบุรี ตราด สระบุรี ลาปาง สุรินทร์ และศรี สะเกษ ภูเขาไฟที่สารวจพบส่วนใหญ่มีรูปร่างไม่ชัดเจน ที่มี รูปร่างชัดเจนมากที่สุด ได้แก่ ภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จังหวัด ลาปาง ภูเขาพระอังคารและ ภูเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ จะมี ปากปล่องเหลือให้เห็นเป็นร่องรอย
•หินของภูเขาใดต่อไปนี้ไม่ใช่หินภูเขาไฟ 
1.ภูพระอังคาร จังหวัดบุรีรัมย์ 
2.ดอยผาคอกหินฟู จังหวัดลาปาง 
3.ภูเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ 
4.ภูชี้ฟ้า จังหวัดเชียงราย 
•ภูเขาไฟพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ จัดเป็นภูเขาไฟแบบใด 
1. ภูเขาไฟสลับชั้น 2. โดมภูเขาไฟ 
3. ภูเขาไฟรูปโล่ 4. ภูเขาไฟรูปกรวยกรวดภูเขาไฟ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
ข้อมูลทางธรณีวิทยาอธิบายความเป็นมาของพื้นที่ในอดีต ที่นิยมใช้ มี 3 อย่าง ดังนี้ 
•อายุทางธรณีวิทยา 
•ซากดึกดาบรรพ์ 
•ลาดับชั้นหิน 
อายุทางธรณีวิทยา 
1. อายุเทียบสัมพันธ์ คือ อายุเปรียบเทียบ หาได้โดยอาศัยข้อมูล จากซากดึกดาบรรพ์ที่ทราบอายุแล้วนามาเปรียบเทียบกับ ช่วงเวลาทางธรณีวิทยาที่เรียกว่า ธรณีกาล จะบอกได้ว่าเป็นหิน ในยุคไหนหรือมีช่วงอายุเป็นเท่าใด
2. อายุสัมบูรณ์ เป็นอายุของหินหรือซากดึกดาบรรพ์ที่สามารถบอก เป็นจานวนปีที่ค่อนข้างแน่นอน คานวณจากครึ่งชีวิตของธาตุ กัมมันตรังสีที่มีอยู่ในหิน เช่น C-14, K-40, Rb-87, U-238 เป็นต้น 
หินที่มีอายุมากเป็นแสนเป็นล้านปี เช่น หินแกรนิตบริเวณฝั่ง ตะวันตกของเกาะภูเก็ต ซึ่งเป็นหินต้นกาเนิดแร่ดีบุก จะใช้ Rb-87 
ตะกอนหรือซากดึกดาบรรพ์ที่มีอายุน้อยกว่า 70,000 ปี จะใช้วิธี กัมมันตภาพรังสี C-14 เช่น ซากหอย-นางรมที่วัดเจดีย์หอย จังหวัด ปทุมธานี
การหาอายุสัมบูรณ์ของหินหรือซากดึกดาบรรพ์ทาง ธรณีวิทยาใช้วิธีการใด 
1. วิธีการหาอายุทางกัมมันตรังสี 
2. ตรวจสอบเปรียบเทียบกับฟอสซิลอื่นๆ 
3. ตรวจสอบจากลาดับชั้นหินและความสัมพันธ์ของโครงสร้างทาง ธรณีวิทยา 
4. วิธีการทางรังสีเอกซ์
•ธาตุกัมมันตรังสีชนิดใด ที่นักวิทยาศาสตร์นิยมนามากาหนดอายุ ของซากดึกดาบรรพ์ พวกไม้ โครงกระดูก และเปลือกหอยที่ก่อ รูปในระยะเวลาไม่เกิน 50,000 ปี 
1. รูบิเดียม-87 
2. คาร์บอน-14 
3. ทอเรียม-232 
4. ยูเรเนียม-238
ซากดึกดาบรรพ์ (fossil) 
•ซากดึกดาบรรพ์เป็นซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมอยู่ในชั้นหิน ตะกอนแล้วเปลี่ยนเป็นหิน 
•ซากดึกดาบรรพ์บางชนิดปรากฏให้เห็นเป็นช่วงสั้นๆ ดังนั้น สามารถใช้บอกอายุของหินที่มีซากนั้นอยู่ได้ ซากดึกดาบรรพ์ ประเภทนี้เรียก ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี •ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี คือ ซากดึกดาบรรพ์ที่บอกช่วงอายุได้ แน่นอน และปรากฏให้เห็นเพียงช่วงอายุหนึ่งแล้วก็สูญพันธุ์ นัก ธรณีวิทยาจะนิยมใช้วิธีนี้หาอายุของหินตะกอน
•ประเทศไทยพบซากดาบรรพ์ดัชนี ไทรโลไบต์ บริเวณ เกาะตะรุเตา แกรปโตไลต์ อาเภอฝาง เชียงใหม่ เป็นต้น 
•นักธรณีวิทยาใช้วิธีใดในการหาอายุหินตะกอน 
1.โดยใช้วิธีกัมมันตรังสีหาอายุของหิน 
2.โดยการค้นหาซากดึกดาบรรพ์ เช่นไทรโลไบต์ 3.ใช้วิธีกัมมันตภาพรังสี C-14 หาอายุซากดึกดาบรรพ์ 
4.ใช้ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของหิน
•ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่จะพบอยู่ในหินชนิดใด 
1. หินแปร 2. หินอัคนี 
3. หินชีสต์ 4. หินตะกอน 
•ทดลองหยดกรดเกลือเจือจางลงบนหินชนิดหนึ่งแล้วจะ เกิดฟองขึ้น แสดงว่าเป็นหินชนิดใด 
1. หินทราย 2. หินดินดาน 
3. หินปูน 4. หินแกรนิต
ซากดึกดาบรรพ์ในประเทศไทย 
•มีการค้นพบซากไดโนเสาร์ บริเวณ อ.ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็นไดโนเสาร์กินพืช บริเวณภูกุ้มข้าว อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ 
•ซากดังกล่าวจะพบในหินทราย หินทรายแป้ง ซึ่งเป็นหินชนิด หนึ่งในหินตะกอน 
•ซากดึกดาบรรพ์พืชที่พบในไทย ได้แก่ ใบไม้ ละอองเรณู สปอร์ สาหร่ายทะเล และไม้กลายเป็นหิน 
•ความเปลี่ยนแปลงของชนิดซากดึกดาบรรพ์สามารถนามาจัดอายุ ทางธรณีวิทยาได้ เรียกว่า “ธรณีกาล”(Geologic Time)
•ซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์ของประเทศไทยในภาคตะวันออก เฉียงเหนอพบในหินชนิดใด 
1. หินทราย 2. หินปูน 
3. หินบะซอลต์ 4. หินดินดาน 
•ข้อใดไม่ใช่ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นพืชที่เคยพบในประเทศ ไทย 
1. ใบไม้ 2. รากต้นไม้ 
3. ละอองเรณู 4. ไม้กลายเป็นหิน
•ถ้านักเรียนต้องการไปชมซากไดโนเสาร์นักเรียนจะเดินทางไป ภาคใดของประเทศไทยจึงจะมีโอกาสพบได้มากที่สุด 1. ภาคเหนือ 2. ภาคตะวันตก 3. ภาคกลาง 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
• ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี จะต้องมีความเด่นชัดในข้อใดมากที่สุด 1. ขนาด 2. สี 3. รูปร่าง 4.ช่วงอายุ
บรมยุค (Eon) 
มหายุค (Era) 
ยุค (Period) 
เวลา (ล้านปีก่อน) 
เหตุการณ์ 
อาร์คีโอโซอิก 
- 
- 
พรีแคมเบรียน 
4,600 
กาเนิดโลก 
โพรเทอโรโซอิก 
2,500 
พืชและสัตว์ชั้นต่า กาเนิดออกซิเจน 
ฟาเนอโรโซอิก 
- 
พาลีโอ โซอิก 
แคมเบรียน 
545 
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอยู่ในทะเล 
ออร์โดวิเชียน 
490 
หอยและปู ปลาไม่มีขากรรไกร 
ไซลูเรียน 
443 
พืชบกใช้สปอร์ ปลามีขากรรไกร 
ดีโวเนียน 
417 
แมลง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า พืชมีท่อ 
คาร์บอนิเฟอรัส 
354 
ป่าผืนใหญ่ เกิดสัตว์เลื้อยคลาน 
เพอร์เมียน 
295 
เฟิร์นและสน การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ ที่สุด 
เมโสโซอิก 
ไทรแอสสิก 
248 
สัตว์เลื้อยคลานเลี้ยงลูกด้วยนม 
จูแรสสิก 
205 
ไดโนเสาร์เฟื่องฟู นกพวกแรก 
เครเทเชียส 
144 
พืชดอก ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ในปลายยุค 
เซโนโซอิก 
เทอเชียรี 
พาลีโอจีน 
65 
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแพร่พันธุ์ 
นีโอจีน 
24 
ลิงยืนสองขา โฮโมอีเรกตัส 
ควอเทอนารี 
ไพลสโตซีน 
1.8 
เสือเขี้ยวโค้ง ช้างแมมมอท และหมีถ้า 
โฮโลซีน 
0.01 
มนุษย์โฮโมเซเปียนส์
•สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเริ่มเพิ่มจานวนแฟมิลี่อย่างรวดเร็วในยุคใด 
1.พรีแคมเบรียน 2. เทอร์เชียรี 
3.ไซลูเรียน 4. คาร์บอนิเฟอรัส 
•ซากดึกดาบรรพ์ในข้อใดต่อไปนี้ มีช่วงอายุเก่าแก่ที่สุด 1. ไดโนเสาร์ 2. ไครนอยด์ 3. ไทรโลไบต์ 4. แอมโมไนต์ 
•ยุคใดที่ถูกเรียกว่ายุคที่ไดโนเสาร์ครองโลก 
•1. ไทรแอสซิก 2. จูแรสซิก 3. ครีเตเซียส 4. เพอร์เมียน
การลาดับชั้นหิน 
เนื่องจากชั้นหินเกิดจากการ ทับถมกันของตะกอน ดังนั้น หินตะกอนที่อยู่ด้านล่างจะ เกิดก่อน และหินที่อายุน้อย กว่าจะซ้อนอยู่ด้านบนเป็น ชั้นๆ ตามลาดับ
• การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี แผ่นดินไหว หรือ ภูเขาไฟระเบิด ทาให้ ชั้นหินที่อยู่ในแนวราบเกิดการเอียงเท 
• โครงสร้างทางธรณีวิทยาในชั้นหิน เช่น รอยเลื่อน รอยคดโค้ง สามารถอธิบายประวัติความเป็นมาของพื้นที่นั้นได้
หินชั้นชิ้นหนึ่งมีการสะสมตัวเป็นชั้นๆ ของหินทราย หินกรวดมน หินปูน และหินดินดาน ดังรูปหินชนิดใด มีอายุมากที่สุด 
1. หินทราย 2. หินกรวดมน 
3. หินปูน 4. หินดินดาน
พิจาณาชั้นหินที่วางซ้อนกันดังข้างล่าง แล้วตอบคาถาม 
ฟอสซิลที่พบในตัวอย่างนี้ ในข้อใดที่สามารถใช้เป็นฟอสซิลดัชนี ได้ 1. หอยแครง 2. แอมโมไนต์ 
3. แมงดาทะเล 4. ช้าง 
ชั้น ก กระดูกช้าง ซากต้นพืช (บนสุดมีต้นหญ้า) 
ชั้น ข กระดูกช้าง ซากต้นพืช หอยแครง 
ชั้น ค หอยแครง 
ชั้น ง แมงดาทะเล แอมโมไนต์ 
ชั้น จ แอมโมไนต์
พิจาณาชั้นหินที่วางซ้อนกันดังข้างล่าง แล้วตอบคาถาม 
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสภาพของสถานที่แห่งนี้ 1. เคยเป็นทะเลมาก่อน ปัจจุบันเป็นบก 
2. เคยเป็นบกมาก่อน แล้วเป็นทะเลในภายหลัง 
3. ไม่เคยเป็นทะเลเลย 
4. เป็นทะเลทั้งอดีตและปัจจุบัน 
ชั้น ก กระดูกช้าง ซากต้นพืช (บนสุดมีต้นหญ้า) 
ชั้น ข กระดูกช้าง ซากต้นพืช หอยแครง 
ชั้น ค หอยแครง 
ชั้น ง แมงดาทะเล แอมโมไนต์ 
ชั้น จ แอมโมไนต์
•จากข้อความต่อไปนี้ “รพินทร์เดินสารวจพบหินบะซอลต์ตัด แทรกเข้าไปในชั้นหินดินดานซึ่งมีซากดึกดาบรรพ์ของหอยกาบ คู่ ยุคครีเทเซียส และยังพบอีกว่ามีรอยเลื่อนขนาดยักใหญ่ตัดผ่าน ชั้นหินดินดานและหินบะซอลต์ดังกล่าว” ข้อใดเรียงลาดับอายุ ของหินหรือเหตุการณ์จากแก่ไปอ่อนได้อย่างถูกต้อง 
1. หินดินดาน รอยเลื่อน หินบะซอลต์ 
2. หินดินดาน หินบะซอลต์ หอยกาบคู่ 
3. รอยเลื่อน หินดินดาน หอยกาบคู่ 
4. หอยกาบคู่ หินบะซอลต์ รอยเลื่อน
•การวางตัวของชั้นหินโดยเอียงเทเป็นมุมกับแนวระดับของชั้น หินปกติเกิดจาก 
1. การเปลี่ยนแปลงทิศทางของกระแสน้า 
2. การเปลี่ยนแปลงกระแสลม 
3. การเกิดภูเขาไฟ 
4. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 2
•การที่มองเห็นชั้นหินทรายสลับหินดินดาน และหินปูน ที่มีมุม เทชันมาก และถูกบีบอัดเป็นรอยคดโค้งรูปประทุนเนื่องจาก หลายสาเหตุยกเว้นข้อใด 
1.ภูเขาไฟระเบิด 
2.แผ่นดินไหว 
3.การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี 
4.การยุบตัวของแผ่นดิน
บทที่ 5 เอกภพ
เอกภพวิทยาในอดีต 
1.เอกภพของชาวสุเมเรียนและบาบิโลน 
2.เอกภพของกรีก 
3.เอกภพของเคปเลอร์ 
4.เอกภพของกาลิเลโอ
1. เอกภพของชาวสุเมเรียนและบาบิโลน 
•อยู่บนดินแดนที่มีชื่อว่า เมโสโปเตเมีย (อิรัก) •บันทึกตาแหน่งของดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์โดยให้โลกเป็นศูนย์กลาง 
•บันทึกการตั้งชื่อกลุ่มดาวในท้องฟ้า 
•อธิบายการเคลื่อนที่ของดวงดาวตามความเชื่อที่ว่า เทพเจ้าปกครองโลก ท้องฟ้าและน้าเป็นสิ่งที่เทพเจ้าบันดาล •ให้ความหมายของเอกภพว่า “ท้องฟ้าที่ประกอบด้วยดวงดาวต่างๆ ที่ เคลื่อนที่ไปตามเวลา ตามความประสงค์ของเทพเจ้า”
ชาวบาบิโลน •วาดภาพดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ และกาหนดเส้นทางการขึ้น-ตก ของดาวเป็นประจาทุกวัน 
•ทานายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ ได้อย่างถูกต้อง 
•ทานายการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลได้อย่างถูกต้อง 
•ทาปฏิทินแสดงวันที่และฤดูกาลได้อย่างถูกต้อง 
•เอกภพเหมือนกับชาวสุเมเรียน
2. เอกภพของกรีก 
•อาศัยข้อมูลจากสุเมเรียน+บาบิโลน และให้คณิตศาสตร์พัฒนา แบบจาลองของเอกภพ •โซคราตีส (Socrates) ธาลีส (Thales) อเล็กซิมานเดอร์ (Aleximander) และ อเน็กซีมีนีส (Anaximenis) ให้ ความเห็นว่าโลกเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 
•อริสโตเติล พบว่า โลกมีลักษณะทรงกลม 
•อริสตาร์คัส โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
3. เอกภพของเคปเลอร์ 
•โคเปอร์นิคัส ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม •โยฮันเนส เคปเลอร์ (ผู้ช่วยไทโค บราห์) เสนอกฎเคปเลอร์ 3 ข้อ 
1. วงโคจรของดาวเคราะห์เป็นวงรี 
2. เส้นที่ลากจากระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์จะกวาดเป็นพื้นที่ได้ เท่ากันในเวลาที่เท่ากัน 
3. คาบ2 แปรผันตรงกับ ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 3
4. เอกภพของกาลิเลโอ 
•กาลิเลโอ กาลิเลอี ใช้กล้องโทรทรรศน์ ศึกษาดาราศาสตร์พบว่า 
–ผิวดวงจันทร์มีภูเขาและหลุมอุกาบาตร 
–ทางช้างเผือกที่มองเห็นเป็นผ้าขุ่น แท้จริงคือดาวฤกษ์ 
–ฯลฯ 
•นิวตัน อธิบายว่า การที่บริวารของดวงอาทิตย์สามารถโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ได้เพราะแรงโน้มถ่วง ขนาดของแรง ขึ้นกับมวล และ ระยะห่าง
•ข้อใดเป็นผลงานของชาวบาบิโลนที่ได้มีการจดบันทึกเอาไว้ 
1.จัดทาแค็ตตาล็อกของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ 
2.ระบุเส้นทางการขึ้นตกของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ 
3.ทาปฏิทินแสดงวันที่และฤดูกาล 
4.ถูกทุกข้อ 
•ผู้ที่กล่าวว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะคือใคร 
1. อริสโตเติล 2. กาลิเลโอ กาลิเลอี 
3. เคปเลอร์ 4. โคเพอร์นิคัส
•คาว่า cosmology ชนกลุ่มแรกที่นามาใช้เป็นชาวอะไร 
1. กรีก 2. โรมัน 
3. สุเมเรียน 4. บาบิโลน 
•เพราะเหตุใดดาวเคราะห์ต่างๆ จึงโคจรรอบดวงอาทิตย์ได้ ตาม แนวคิดของนิวตัน 
1. แรงโน้มถ่วง 2. กฎอนุรักษ์พลังงาน 
3. แรงสู่ศูนย์กลาง 4. แรงนิวเคลียร์
กาเนิดเอกภพ
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเอกภพ 
•เอกภพมีความกว้างใหญ่ไพศาล ประกอบด้วย กาแล็กซี (Galaxy) ประมาณแสนล้านกาแล็กซี •แต่ละกาแล็กซีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100000 ปีแสง •1 ปีแสง คือ ระยะทางที่แสงใช้เวลาในการเดินทาง 1 ปี มี ค่าประมาณ 9.5 ล้านล้านกิโลเมตร 
•ทฤษฎีที่ใช้ในการอธิบายการเกิดของเอกภพ ได้แก่ ทฤษฎีบิ กแบง (Big Bang Theory)
ทฤษฎีบิกแบง (Big Bang Theory) 
• เป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของพลังงานมาเป็นมวลสารของ เอกภพ • ขณะเกิดบิกแบง ได้ปรากฏมีอนุภาคพื้นฐาน ได้แก่ ควาร์ก (Quark) อิเล็กตรอน นิวทริโน (Neutrino) และโฟตอน 
- อนุภาคเหล่านี้มีปฏิอนุภาค (anti-particle) ของมันด้วย 
- หากอนุภาคใดพบกับปฏิอนุภาคของมันจะเกิดการหลอมรวมกันของ อนุภาคทั้งสอง ทาให้อนุภาคทั้งสองกลายเป็นพลังงาน 
- ในเอกภพมีจานวนอนุภาคมากกว่าจานวนปฏิอนุภาค จึงทาให้มี อนุภาคเหลืออยู่ในเอกภพ และก่อให้เกิดเป็นสสารต่างๆ ในเอกภพใน ปัจจุบัน
•หลังเกิดบิกแบง 1 ไมโครวินาที อุณหภูมิของเอกภพลดลงประมาณสิบ ล้านล้านเคลวินและควาร์กรวมตัวกันกลายเป็นโปรตอนและนิวตรอน •หลังบิกแบงได้ 3 นาที อุณหภูมิของเอกภพลดลงไปอีกเป็นร้อยล้านเคล วิน และเกิดการรวมตัวกันของโปรตอนกับนิวตรอนกลายเป็นฮีเลียม ในช่วงนี้เอกภพขยายตัวเร็วมาก •เมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 300000 ปี อุณหภูมิของเอกภพได้ลดลงเหลือ 10000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียมดึงอิเล็กตรอนเข้ามา เป็นวงโคจร เกิดเป็นอะตอมขึ้น •หลังบิกแบงอย่างน้อย 1000 ล้านปี ได้เกิดมีกาแล็กซี โดยภายใน กาแล็กซีมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นสารเบื้องต้นในการก่อกาเนิด ดาวฤกษ์รุ่นแรกๆ
history of universe
history of universe
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience
Earthscience

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 

Was ist angesagt? (20)

บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 

Ähnlich wie Earthscience

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 

Ähnlich wie Earthscience (20)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Solarsystem
SolarsystemSolarsystem
Solarsystem
 
ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)
 

Mehr von โรงเรียนเทพลีลา

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนเทพลีลา
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

Mehr von โรงเรียนเทพลีลา (10)

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 

Earthscience