SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 1 - ประชาคมอาเซียน 2558
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ อาเซียน ได้รบการจัดตังขึ้นในวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ณ
ั
้
กรุงเทพมหานคร อาเซียน(ASEAN)ปัจจุบนประกอบด้วยสมาชิก 10 ประเทศ มีประชากรรวมกันประมาณ 600 ล้าน
ั
คน มีขนาดเศรษฐกิจที่โตมาก ในช่วงกว่า 40 ปี ท่ผ่านมา อาเซียนได้ประสบความสาเร็จเป็ นที่ยอมรับในหลายด้าน
ี
ไม่ว่าจะเป็ นบทบาทการสร้างบรรยากาศของสันติภาพและการอยูร่วมกันโดยสันติของประเทศในภูมภาค การช่วยแก้ไข
่
ิ
ปัญหาความขัดแย้งในกัมพูชา การจัดตังเขตการค้าเสรีอาเซียน เป็ นต้น
้
ปัจจุบนนี้โลกเปลียนแปลงไปมากทังในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทาให้อาเซียนต้องเผชิญกับ
ั
่
้
ความท้าทายใหม่ๆ มากมาย เช่น โรคระบาด การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ พิบติภยธรรมชาติ เช่น คลืน
ั ั
่
ยักษ์สนามิ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน ความเสี่ยงที่อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศ
ึ
อื่นๆ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ซึ่งมีอตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด เป็ นต้น อาเซียนจึงต้อง
ั
ปรับตัวเพือให้รบมือกับสิ่งต่างๆ เหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นให้ได้
่ ั
เมือเดือนตุลาคม 2546 ผูนาอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน ที่เรียกว่า
่
้
ข ้อตกลงบาหลี 2 เห็นชอบให้จดตัง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การให้อาเซียนรวมตัวเป็ นชุมชน
ั ้
หรือประชาคมเดียวกันให้สาเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตังให้เสร็จในปี
้
พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) เนื่องจากการแข่งขันรุนแรง เช่น อัตราการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของจีนและอินเดียสูงมาก
ในช่วงที่ผ่านมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครังที่ 14 ที่ชะอา-หัวหิน เมือวันที่ 1 มีนาคม 2552 ผูนาอาเซียนได้ลง
้
่
้
นามรับรองปฏิญญาชะอา-หัวหิน ว่าด้วยแผนงานจัดตังประชาคมอาเซียน เพือจัดตังประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
้
่
้
ซึ่งประกอบไปด้วยเสาหลัก 3 เสา คือ
1) ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน มุงให้ประเทศในภูมภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไข
่
่
ิ
ความขัดแย้งระหว่างกันได้ดวยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความ
้
มันคงทังรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ๆ เพือให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมันคง
่ ้
่
่
2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุงให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอานวยความสะดวกในการ
่
ติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทาให้ภูมภาคมีความเจริญมังคังและสามารถแข่งขันกับภูมภาคอื่นๆ ได้ เพื่อความอยู่ดี
ิ
่ ่
ิ
กินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน
3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิด
สังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมันคงทางสังคม
่

PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
ประชาคมทังสามเมือเกิดขึ้นแล ้ว จะทาให้เกิดการเปลียนแปลงและผลที่ตามมาหลายประการ ประการแรก
้
่
่
จะทาให้เพิ่มอานาจการต่อรองระดับโลก เพราะมีประชากรมากถึง 600 ล ้านคน ประการที่สอง จะทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา โดยเฉพาะภาษาอังกฤษจะเป็ นภาษากลางของ ASEAN บุคลากรและนักศึกษา ต้องเพิ่ม
ทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ ให้สามารถสื่อสารได้ ประการที่สาม เกิดการเคลื่อนย้ายของประชากร โดยเฉพาะด้าน
แรงงาน แรงงานไร้ฝีมอจะถูกแย่งงานทามากขึ้น และประการสุดท้าย จะทาให้ความขัดแย้งในอาเซียนลดลง เพราะ
ื
สมาชิกมีความใกล ้ชิดกันมากขึ้น
อย่างไรก็ดี ก็ใช่วาการสร้างประชาคมทังสามจะมีความราบรื่น เพราะยังมีอปสรรคทีจะทาให้สาเร็จได้ยากขึ้น
่
้
ุ
่
หลายประการ เช่น ประเทศสมาชิกยังคงปกป้ องผลประโยชน์แห่งชาติของตนเป็ นหลัก ความแตกต่างกันทางการเมือง
และการปกครอง ความขัดแย้งระหว่างประเทศอาเซียน ความแตกต่างด้านสังคมและวัฒนธรรม เป็ นต้น
ประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 นี้คงจะทาให้คนไทยเกิดการเปลียนแปลงหลายประการ เราจึงควร
่
เตรียมตัวที่จะรับมือกับการเปลียนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพือให้เรายืนหยัดอยู่ในอาเซียนได้อย่างภาคภูมิ
่
่
เลขกากับ

ข้อความที่กาหนด

01

ความแตกต่างกันทางการเมืองและการปกครอง

02

ความแตกต่างด้านสังคมและวัฒนธรรม

03

เพิมอานาจการต่อรองในระดับโลก
่

04

การเปลียนแปลงด้านการศึกษา
่

05

การเคลือนย้ายของประชากร
่

06

ความขัดแย้งในอาเซียนลดลง

07

ประชาคมอาเซียน

08

ประชาคมการเมืองและความมันคง
่

09

ประชาคมเศรษฐกิจ

10

ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 2 - ปัญหาสิ นค้าราคาแพง สาเหตุ และทางแก้
ปัญหาสินค้าราคาแพงยังจะคงเป็ นประเด็นร้อนในสังคมปัจจุบน ไม่ว่าจะเป็ นราคาอาหาร ราคาสาธารณู ปโภค
ั
ที่สูงขึ้น เช่น ไฟฟ้ า ประปา รวมทังรายจ่ายด้านการคมนาคมที่พงสูง จนประชาชนต้องออกมาเรียกร้องให้รฐบาลเร่ง
้
ุ่
ั
ช่วยเหลือ

ปัจจัยอะไรช่วยให้ราคาสินค้าเหล่านี้เพิ่มสูงขึ้น และเราจะมีวธรบมือกับ ปัญหาสินค้าราคาแพงได้อย่างไร
ิีั

ยังคงเป็ นปัญหาทียงถกเถียงกันทังภาครัฐและเอกชน
่ ั
้
ทุกครังที่กล่าวถึงปัญหาสินค้าราคาแพง ทังรัฐบาลและภาคธุรกิจส่วนใหญ่จะโยนให้เป็ นปัญหาการปรับขึ้น
้
้
ค่าจ้าง 300 บาทต่อวันว่าทาให้ตนทุนการผลิตสูงขึ้น ทังทีเ่ ป็ นปัญหาระดับรองมาก มีผลกระทบต่อบริษทใหญ่เพียง
้
้
ั
แค่รอยละ 2-3 ของต้นทุนเท่านัน แต่อาจมีบริษทขนาดเล็กที่ได้รับผลกระทบ แต่ทงนี้ ภาพรวมค่าจ้างไม่ใช่ตนทุนหลัก
้
้
ั
ั้
้
หากแต่เป็ นเรื่องของราคาพลังงาน คือนา้ มัน ที่คิดเป็ นต้นทุน 2 เท่าของค่าจ้าง เฉพาะค่าขนส่ง คิดเป็ นร้อยละ 18
ของต้นทุน ฉะนันนา้ มันเป็ นเรื่องใหญ่มความสาคัญต่อกลไกตลาดที่พการอยู่ในขณะนี้ เพราะถูกผูกขาดโดยบริษท
้
ี
ิ
ั
ยักษ์ใหญ่ โดยที่รฐบาลไม่สามารถเข ้าไปบริหารจัดการได้
ั
หลายครังที่รฐบาลอ้างราคานา้ มันในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น แต่หากสารวจทัวโลกจะพบว่าราคานา้ มันเบนซิน
้ ั
่
ในสหรัฐอเมริกาอยูท่ประมาณ 31 บาทต่อลิตร จีนและไต้หวัน 35 บาทต่อลิตร อินโดนีเซียมี 2 ราคาคือ 33 บาทต่อ
่ี
ลิตร และ 15 บาทต่อลิตร สาหรับขายให้คนรายได้นอย มาเลเซีย 20 บาทต่อลิตร ไนจีเรีย 22 บาทต่อลิตร แต่
้
เหตุท่ราคานา้ มันบ้างเราแพงเพราะมีการผูกขาดตลาดพลังงานภายในประเทศ และเป็ นการผูกขาดทีรฐบาลและฝ่ ายค้าน
ี
่ั
ไม่กล ้าแตะหรือคิดจะแก้ไข
โดยสรุปก็คือ สถานการณ์ราคาสาธารณูปโภค การคมนาคม และราคาอาหารที่พงสูงในขณะนี้ เกิดจาก
ุ่
สาเหตุหลัก 3 ประการ คือ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น กลไกตลาดที่พการ และการทางานของรัฐบาล ที่ไม่สามารถ
ิ
จัดการกับการผูกขาดพลังงานได้นนเอง
ั่
สาหรับการปฏิบติตวอย่างไรในภาวะสินค้าราคาแพง ก็มข ้อแนะนาหลายประการ ประการแรก คือ รัฐเข้ามา
ั ั
ี
ทาการผลิตสินค้าบางประเภท ผ่านทางรัฐวิสาหกิจของรัฐ ซึ่งเป็นการเพิ่มผลผลิต (Supply) ในตลาด เมือ Supply
่
เพิ่ม ราคาก็จะลดลงในที่สุด ประการที่สองคือ การควบคุมราคา กาหนดราคาขันสูงไม่ให้สูงจนเกินไป แต่
้
ขณะเดียวกันก็ตองให้ผูผลิตอยู่ได้
้
้
นอกจากข ้อแนะนาดังกล่าวข ้างต้น ยังมีอกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหาราคาอาหาร สาธารณูปโภคและ
ี
รายจ่ายด้านการคมนาคมทีพุ่งสูง ก็คือ การบริโภคสินค้าเท่าที่จาเป็ น ไม่ซ้อสินค้ากักตุนไว้ แนวทางนี้น่าจะเป็ น
่
ื
ทางออกสาหรับประชาชนในฐานะผูบริโภคได้ดท่สุด เพราะเป็นการพึ่งพาตัวเอง โดยไม่ตองรอการช่วยเหลือจากรัฐ
้
ีี
้

PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
ซึ่งไม่รูจะมาถึงเมือไรและยังเป็ นการช่วยแก้ปญหากลไกตลาดที่พการได้ดวย เพราะถ้าผู ้บริ โภค ประหยัด ใช้เท่าที่
้
่
ั
ิ
้
จาเป็ นก็จะทาให้อุปสงค์สนค้าลดลง และในที่สุดแล ้วราคาสินค้าก็จะอ่อนตัวลงมาเอง ตัวอย่างที่ชดเจนก็คอ ตลาด
ิ
ั
ื
นา้ มันดิบ
เลขกากับ

ข้อความที่กาหนด

01

ปัญหาสินค้าราคาแพง

02

ราคาอาหารทีพ่งสูง
่ ุ

03

ราคาสาธารณู ปโภคทีสูงขึ้น
่

04

รายจ่ายด้านการคมนาคมทีพ่งสูงขึ้น
่ ุ

05

ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น

06

กลไกตลาดทีพการ
่ ิ

07

การทางานของรัฐบาล

08

รัฐเข้ามาทาการผลิตสินค้า

09

การควบคุมราคา

10

ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ

การบริโภคสินค้าเท่าทีจาเป็ น
่

PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 1 - ประชาคมอาเซียน 2558
เลขกากับ

ข้อความที่กาหนด

ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ

01

ความแตกต่างกันทางการเมืองและการปกครอง

08F

09F

10F

02

ความแตกต่างด้านสังคมและวัฒนธรรม

08F

09F

10F

03

เพิมอานาจการต่อรองในระดับโลก
่

99H

04

การเปลียนแปลงด้านการศึกษา
่

99H

05

การเคลือนย้ายของประชากร
่

99H

06

ความขัดแย้งในอาเซียนลดลง

99H

07

ประชาคมอาเซียน

08D

09D

10D

08

ประชาคมการเมืองและความมันคง
่

03A

04A

05A

06A

09

ประชาคมเศรษฐกิจ

03A

04A

05A

06A

10

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

03A

04A

05A

06A

PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 2 - ปัญหาสิ นค้าราคาแพง สาเหตุ และทางแก้
เลขกากับ

ข้อความที่กาหนด

ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ

01

ปัญหาสินค้าราคาแพง

02D

03D

04D

02

ราคาอาหารทีพ่งสูง
่ ุ

99H

03

ราคาสาธารณู ปโภคทีสูงขึ้น
่

99H

04

รายจ่ายด้านการคมนาคมทีพ่งสูงขึ้น
่ ุ

99H

05

ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น

02A

03A

04A

06

กลไกตลาดทีพการ
่ ิ

02A

03A

04A

07

การทางานของรัฐบาล

02A

03A

04A

08

รัฐเข้ามาทาการผลิตสินค้า

02F

03F

04F

09

การควบคุมราคา

02F

03F

04F

10

การบริโภคสินค้าเท่าทีจาเป็ น
่

02F

03F

04F

06F

PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว

More Related Content

More from Pim DukDui

แบบทดสอบโดยสถาบัน On demand
แบบทดสอบโดยสถาบัน On demandแบบทดสอบโดยสถาบัน On demand
แบบทดสอบโดยสถาบัน On demandPim DukDui
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอมPim DukDui
 
งานคอม9-17
งานคอม9-17งานคอม9-17
งานคอม9-17Pim DukDui
 
งานคอมจิบิ
งานคอมจิบิงานคอมจิบิ
งานคอมจิบิPim DukDui
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมPim DukDui
 
7 วิชาสามัญ ชีวะ 2555
7 วิชาสามัญ ชีวะ 25557 วิชาสามัญ ชีวะ 2555
7 วิชาสามัญ ชีวะ 2555Pim DukDui
 
7 วิชาสามัญ เคมี 2555
7 วิชาสามัญ เคมี 25557 วิชาสามัญ เคมี 2555
7 วิชาสามัญ เคมี 2555Pim DukDui
 
7 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 2555
7 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 25557 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 2555
7 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 2555Pim DukDui
 
7 วิชาสามัญ คณิต 2555
7 วิชาสามัญ คณิต 25557 วิชาสามัญ คณิต 2555
7 วิชาสามัญ คณิต 2555Pim DukDui
 
7 วิชาสามัญ อังกฤษ 2555
7 วิชาสามัญ อังกฤษ 25557 วิชาสามัญ อังกฤษ 2555
7 วิชาสามัญ อังกฤษ 2555Pim DukDui
 
7 วิชาสามัญ สังคม 2555
7 วิชาสามัญ สังคม 25557 วิชาสามัญ สังคม 2555
7 วิชาสามัญ สังคม 2555Pim DukDui
 
7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 2555
7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 25557 วิชาสามัญ ภาษาไทย 2555
7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 2555Pim DukDui
 

More from Pim DukDui (15)

แบบทดสอบโดยสถาบัน On demand
แบบทดสอบโดยสถาบัน On demandแบบทดสอบโดยสถาบัน On demand
แบบทดสอบโดยสถาบัน On demand
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
งานคอม9-17
งานคอม9-17งานคอม9-17
งานคอม9-17
 
9-17
9-179-17
9-17
 
งานคอมจิบิ
งานคอมจิบิงานคอมจิบิ
งานคอมจิบิ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Blogger
BloggerBlogger
Blogger
 
7 วิชาสามัญ ชีวะ 2555
7 วิชาสามัญ ชีวะ 25557 วิชาสามัญ ชีวะ 2555
7 วิชาสามัญ ชีวะ 2555
 
7 วิชาสามัญ เคมี 2555
7 วิชาสามัญ เคมี 25557 วิชาสามัญ เคมี 2555
7 วิชาสามัญ เคมี 2555
 
7 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 2555
7 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 25557 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 2555
7 วิชาสามัญ ฟิสิกส์ เฉลย 2555
 
7 วิชาสามัญ คณิต 2555
7 วิชาสามัญ คณิต 25557 วิชาสามัญ คณิต 2555
7 วิชาสามัญ คณิต 2555
 
7 วิชาสามัญ อังกฤษ 2555
7 วิชาสามัญ อังกฤษ 25557 วิชาสามัญ อังกฤษ 2555
7 วิชาสามัญ อังกฤษ 2555
 
7 วิชาสามัญ สังคม 2555
7 วิชาสามัญ สังคม 25557 วิชาสามัญ สังคม 2555
7 วิชาสามัญ สังคม 2555
 
7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 2555
7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 25557 วิชาสามัญ ภาษาไทย 2555
7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 2555
 

Gat pre admissions 2555 (with key)

  • 1. ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 1 - ประชาคมอาเซียน 2558 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ อาเซียน ได้รบการจัดตังขึ้นในวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ณ ั ้ กรุงเทพมหานคร อาเซียน(ASEAN)ปัจจุบนประกอบด้วยสมาชิก 10 ประเทศ มีประชากรรวมกันประมาณ 600 ล้าน ั คน มีขนาดเศรษฐกิจที่โตมาก ในช่วงกว่า 40 ปี ท่ผ่านมา อาเซียนได้ประสบความสาเร็จเป็ นที่ยอมรับในหลายด้าน ี ไม่ว่าจะเป็ นบทบาทการสร้างบรรยากาศของสันติภาพและการอยูร่วมกันโดยสันติของประเทศในภูมภาค การช่วยแก้ไข ่ ิ ปัญหาความขัดแย้งในกัมพูชา การจัดตังเขตการค้าเสรีอาเซียน เป็ นต้น ้ ปัจจุบนนี้โลกเปลียนแปลงไปมากทังในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทาให้อาเซียนต้องเผชิญกับ ั ่ ้ ความท้าทายใหม่ๆ มากมาย เช่น โรคระบาด การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ พิบติภยธรรมชาติ เช่น คลืน ั ั ่ ยักษ์สนามิ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน ความเสี่ยงที่อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศ ึ อื่นๆ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ซึ่งมีอตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด เป็ นต้น อาเซียนจึงต้อง ั ปรับตัวเพือให้รบมือกับสิ่งต่างๆ เหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นให้ได้ ่ ั เมือเดือนตุลาคม 2546 ผูนาอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน ที่เรียกว่า ่ ้ ข ้อตกลงบาหลี 2 เห็นชอบให้จดตัง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การให้อาเซียนรวมตัวเป็ นชุมชน ั ้ หรือประชาคมเดียวกันให้สาเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตังให้เสร็จในปี ้ พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) เนื่องจากการแข่งขันรุนแรง เช่น อัตราการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของจีนและอินเดียสูงมาก ในช่วงที่ผ่านมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครังที่ 14 ที่ชะอา-หัวหิน เมือวันที่ 1 มีนาคม 2552 ผูนาอาเซียนได้ลง ้ ่ ้ นามรับรองปฏิญญาชะอา-หัวหิน ว่าด้วยแผนงานจัดตังประชาคมอาเซียน เพือจัดตังประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ้ ่ ้ ซึ่งประกอบไปด้วยเสาหลัก 3 เสา คือ 1) ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน มุงให้ประเทศในภูมภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไข ่ ่ ิ ความขัดแย้งระหว่างกันได้ดวยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความ ้ มันคงทังรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ๆ เพือให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมันคง ่ ้ ่ ่ 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุงให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอานวยความสะดวกในการ ่ ติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทาให้ภูมภาคมีความเจริญมังคังและสามารถแข่งขันกับภูมภาคอื่นๆ ได้ เพื่อความอยู่ดี ิ ่ ่ ิ กินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิด สังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมันคงทางสังคม ่ PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
  • 2. ประชาคมทังสามเมือเกิดขึ้นแล ้ว จะทาให้เกิดการเปลียนแปลงและผลที่ตามมาหลายประการ ประการแรก ้ ่ ่ จะทาให้เพิ่มอานาจการต่อรองระดับโลก เพราะมีประชากรมากถึง 600 ล ้านคน ประการที่สอง จะทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา โดยเฉพาะภาษาอังกฤษจะเป็ นภาษากลางของ ASEAN บุคลากรและนักศึกษา ต้องเพิ่ม ทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ ให้สามารถสื่อสารได้ ประการที่สาม เกิดการเคลื่อนย้ายของประชากร โดยเฉพาะด้าน แรงงาน แรงงานไร้ฝีมอจะถูกแย่งงานทามากขึ้น และประการสุดท้าย จะทาให้ความขัดแย้งในอาเซียนลดลง เพราะ ื สมาชิกมีความใกล ้ชิดกันมากขึ้น อย่างไรก็ดี ก็ใช่วาการสร้างประชาคมทังสามจะมีความราบรื่น เพราะยังมีอปสรรคทีจะทาให้สาเร็จได้ยากขึ้น ่ ้ ุ ่ หลายประการ เช่น ประเทศสมาชิกยังคงปกป้ องผลประโยชน์แห่งชาติของตนเป็ นหลัก ความแตกต่างกันทางการเมือง และการปกครอง ความขัดแย้งระหว่างประเทศอาเซียน ความแตกต่างด้านสังคมและวัฒนธรรม เป็ นต้น ประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 นี้คงจะทาให้คนไทยเกิดการเปลียนแปลงหลายประการ เราจึงควร ่ เตรียมตัวที่จะรับมือกับการเปลียนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพือให้เรายืนหยัดอยู่ในอาเซียนได้อย่างภาคภูมิ ่ ่ เลขกากับ ข้อความที่กาหนด 01 ความแตกต่างกันทางการเมืองและการปกครอง 02 ความแตกต่างด้านสังคมและวัฒนธรรม 03 เพิมอานาจการต่อรองในระดับโลก ่ 04 การเปลียนแปลงด้านการศึกษา ่ 05 การเคลือนย้ายของประชากร ่ 06 ความขัดแย้งในอาเซียนลดลง 07 ประชาคมอาเซียน 08 ประชาคมการเมืองและความมันคง ่ 09 ประชาคมเศรษฐกิจ 10 ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
  • 3. ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 2 - ปัญหาสิ นค้าราคาแพง สาเหตุ และทางแก้ ปัญหาสินค้าราคาแพงยังจะคงเป็ นประเด็นร้อนในสังคมปัจจุบน ไม่ว่าจะเป็ นราคาอาหาร ราคาสาธารณู ปโภค ั ที่สูงขึ้น เช่น ไฟฟ้ า ประปา รวมทังรายจ่ายด้านการคมนาคมที่พงสูง จนประชาชนต้องออกมาเรียกร้องให้รฐบาลเร่ง ้ ุ่ ั ช่วยเหลือ ปัจจัยอะไรช่วยให้ราคาสินค้าเหล่านี้เพิ่มสูงขึ้น และเราจะมีวธรบมือกับ ปัญหาสินค้าราคาแพงได้อย่างไร ิีั ยังคงเป็ นปัญหาทียงถกเถียงกันทังภาครัฐและเอกชน ่ ั ้ ทุกครังที่กล่าวถึงปัญหาสินค้าราคาแพง ทังรัฐบาลและภาคธุรกิจส่วนใหญ่จะโยนให้เป็ นปัญหาการปรับขึ้น ้ ้ ค่าจ้าง 300 บาทต่อวันว่าทาให้ตนทุนการผลิตสูงขึ้น ทังทีเ่ ป็ นปัญหาระดับรองมาก มีผลกระทบต่อบริษทใหญ่เพียง ้ ้ ั แค่รอยละ 2-3 ของต้นทุนเท่านัน แต่อาจมีบริษทขนาดเล็กที่ได้รับผลกระทบ แต่ทงนี้ ภาพรวมค่าจ้างไม่ใช่ตนทุนหลัก ้ ้ ั ั้ ้ หากแต่เป็ นเรื่องของราคาพลังงาน คือนา้ มัน ที่คิดเป็ นต้นทุน 2 เท่าของค่าจ้าง เฉพาะค่าขนส่ง คิดเป็ นร้อยละ 18 ของต้นทุน ฉะนันนา้ มันเป็ นเรื่องใหญ่มความสาคัญต่อกลไกตลาดที่พการอยู่ในขณะนี้ เพราะถูกผูกขาดโดยบริษท ้ ี ิ ั ยักษ์ใหญ่ โดยที่รฐบาลไม่สามารถเข ้าไปบริหารจัดการได้ ั หลายครังที่รฐบาลอ้างราคานา้ มันในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น แต่หากสารวจทัวโลกจะพบว่าราคานา้ มันเบนซิน ้ ั ่ ในสหรัฐอเมริกาอยูท่ประมาณ 31 บาทต่อลิตร จีนและไต้หวัน 35 บาทต่อลิตร อินโดนีเซียมี 2 ราคาคือ 33 บาทต่อ ่ี ลิตร และ 15 บาทต่อลิตร สาหรับขายให้คนรายได้นอย มาเลเซีย 20 บาทต่อลิตร ไนจีเรีย 22 บาทต่อลิตร แต่ ้ เหตุท่ราคานา้ มันบ้างเราแพงเพราะมีการผูกขาดตลาดพลังงานภายในประเทศ และเป็ นการผูกขาดทีรฐบาลและฝ่ ายค้าน ี ่ั ไม่กล ้าแตะหรือคิดจะแก้ไข โดยสรุปก็คือ สถานการณ์ราคาสาธารณูปโภค การคมนาคม และราคาอาหารที่พงสูงในขณะนี้ เกิดจาก ุ่ สาเหตุหลัก 3 ประการ คือ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น กลไกตลาดที่พการ และการทางานของรัฐบาล ที่ไม่สามารถ ิ จัดการกับการผูกขาดพลังงานได้นนเอง ั่ สาหรับการปฏิบติตวอย่างไรในภาวะสินค้าราคาแพง ก็มข ้อแนะนาหลายประการ ประการแรก คือ รัฐเข้ามา ั ั ี ทาการผลิตสินค้าบางประเภท ผ่านทางรัฐวิสาหกิจของรัฐ ซึ่งเป็นการเพิ่มผลผลิต (Supply) ในตลาด เมือ Supply ่ เพิ่ม ราคาก็จะลดลงในที่สุด ประการที่สองคือ การควบคุมราคา กาหนดราคาขันสูงไม่ให้สูงจนเกินไป แต่ ้ ขณะเดียวกันก็ตองให้ผูผลิตอยู่ได้ ้ ้ นอกจากข ้อแนะนาดังกล่าวข ้างต้น ยังมีอกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหาราคาอาหาร สาธารณูปโภคและ ี รายจ่ายด้านการคมนาคมทีพุ่งสูง ก็คือ การบริโภคสินค้าเท่าที่จาเป็ น ไม่ซ้อสินค้ากักตุนไว้ แนวทางนี้น่าจะเป็ น ่ ื ทางออกสาหรับประชาชนในฐานะผูบริโภคได้ดท่สุด เพราะเป็นการพึ่งพาตัวเอง โดยไม่ตองรอการช่วยเหลือจากรัฐ ้ ีี ้ PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
  • 4. ซึ่งไม่รูจะมาถึงเมือไรและยังเป็ นการช่วยแก้ปญหากลไกตลาดที่พการได้ดวย เพราะถ้าผู ้บริ โภค ประหยัด ใช้เท่าที่ ้ ่ ั ิ ้ จาเป็ นก็จะทาให้อุปสงค์สนค้าลดลง และในที่สุดแล ้วราคาสินค้าก็จะอ่อนตัวลงมาเอง ตัวอย่างที่ชดเจนก็คอ ตลาด ิ ั ื นา้ มันดิบ เลขกากับ ข้อความที่กาหนด 01 ปัญหาสินค้าราคาแพง 02 ราคาอาหารทีพ่งสูง ่ ุ 03 ราคาสาธารณู ปโภคทีสูงขึ้น ่ 04 รายจ่ายด้านการคมนาคมทีพ่งสูงขึ้น ่ ุ 05 ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น 06 กลไกตลาดทีพการ ่ ิ 07 การทางานของรัฐบาล 08 รัฐเข้ามาทาการผลิตสินค้า 09 การควบคุมราคา 10 ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ การบริโภคสินค้าเท่าทีจาเป็ น ่ PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
  • 5. ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 1 - ประชาคมอาเซียน 2558 เลขกากับ ข้อความที่กาหนด ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ 01 ความแตกต่างกันทางการเมืองและการปกครอง 08F 09F 10F 02 ความแตกต่างด้านสังคมและวัฒนธรรม 08F 09F 10F 03 เพิมอานาจการต่อรองในระดับโลก ่ 99H 04 การเปลียนแปลงด้านการศึกษา ่ 99H 05 การเคลือนย้ายของประชากร ่ 99H 06 ความขัดแย้งในอาเซียนลดลง 99H 07 ประชาคมอาเซียน 08D 09D 10D 08 ประชาคมการเมืองและความมันคง ่ 03A 04A 05A 06A 09 ประชาคมเศรษฐกิจ 03A 04A 05A 06A 10 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม 03A 04A 05A 06A PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว
  • 6. ข้อสอบ PRE-ADMISSIONS ข้อที่ 2 - ปัญหาสิ นค้าราคาแพง สาเหตุ และทางแก้ เลขกากับ ข้อความที่กาหนด ที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ 01 ปัญหาสินค้าราคาแพง 02D 03D 04D 02 ราคาอาหารทีพ่งสูง ่ ุ 99H 03 ราคาสาธารณู ปโภคทีสูงขึ้น ่ 99H 04 รายจ่ายด้านการคมนาคมทีพ่งสูงขึ้น ่ ุ 99H 05 ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น 02A 03A 04A 06 กลไกตลาดทีพการ ่ ิ 02A 03A 04A 07 การทางานของรัฐบาล 02A 03A 04A 08 รัฐเข้ามาทาการผลิตสินค้า 02F 03F 04F 09 การควบคุมราคา 02F 03F 04F 10 การบริโภคสินค้าเท่าทีจาเป็ น ่ 02F 03F 04F 06F PRE-ADMISSIONS 2555 โดยสถาบันบัณฑิตแนะแนว