SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 74
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความสัมพันธ์ ระหว่างสิงมีชวิตในระบบนิเวศ
ี
โดย
นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร
ครูผสอน
ู้
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ปทุมธานี
ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชีวิตคนละชนิดทีอาศัยอยู่ร่วมกัน แบ่งเป็ น
+ =
- =
0 =

การได้ประโยชน์
การเสียประโยชน์
การไม่ได้และไม่เสียประโยชน์
1.ภาวะปรสิต(Parasitism) ใช้สญลักษณ์ + / ั
ปรสิต
(Parasite)

ผู้ให้ อาศัย
(Host)

ถ้ าอยู่ร่วมกัน

+

_

ถ้ าแยกกัน

_

0
อาศัยอยูกบ Host ได้ 2 ลักษณะ
่ ั

1. ปรสิตภายนอก(Ectoparasite) ได้แก่
กาฝาก ฝอยทอง เหา หมัด โลน
เป็ นต้น
2. ปรสิตภายใน(Endoparasite) ได้แก่
แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิตางๆ
่
ตัวอย่างภาวะปรสิ ต
1.พยาธิในท้องมนุษย์
2.กาฝากบนต้นมะม่วง
3.หมัดบนตัวสุนข
ั
4.ไวรัสเอดส์กบมนุษย์
ั
กาฝาก
กาฝาก
ฝอยทอง
พยาธิ
2.การล่าเหยือ (Predation) ใช้สัญลักษณ์ + / ผูลาหรือตัวหํา
้่
(Predator)

เหยือ
(Prey)

ถ้าอยู่ร่วมกัน

+

_

ถ้าแยกกัน

_

0
ตัวอย่างการล่าเหยือ
1. สัตว์กินสัตว์ เช่น เสือกินวัว นกกินแมลง
2. สัตว์กินพืช เช่น ตักแตนปาทังก้ากินต้นข้าวโพด
พะยูนกินหญ้าทะเล
3. พืชดักจับแมลง เช่น กาบหอยแครง
ต้นหยาดนําค้าง ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
ดักจับแมลงตัวเล็กๆ เป็ นอาหาร
ตักแตนปาทังก้า
หยาดนําค้าง
หม้อข้าวหม้อแกงลิง
กาบหอยแครง
3. ภาวะอิงกัน/ อิงอาศัยหรื อภาวะเกือกูลกัน (Commensalism)
ใช้สญลักษณ์ + / 0
ั
ผูอาศัย
้
(Commensal)

ผูใ้ ห้อาศัย
(Host)

ถ้าอยู่ร่วมกัน

+

0

ถ้าแยกกัน

_

0
ตัวอย่างภาวะเกือกูลกัน
1.พืชอาศัยบนพืชต้นอืน (Epiphyte) เช่น กล้วยไม้ ชายผ้าสี ดา พลูด่าง ทีอยู่
บนต้นไม้ใหญ่จะเป็ นฝ่ ายทีให้ทีอยู่ อาหาร ได้แสงสว่างและลม
2.เหาฉลามกับปลาฉลามหรื อปลาวาฬ : เหาฉลามอาศัยกับฉลามโดยกินเศษ
อาหารของฉลาม
3.นก ผึง ต่อ แตน ทีทํารังบนต้นไม้
4.แบคทีเรี ยบนผิวหนังคน
5.ลูกกุง ลูกปู ลูกปลา อาศัยอยูในโพนงลําตัวของฟองนํา
้
่
ตัวอย่างภาวะเกือกูลกัน(ต่อ)
6.ตักแตนใบไม้หรื อตักแตนกิ งไม้ทีเกาะอยูบนใบไม้และกิ งไม้
่
7.ด้วงขีควายกับควาย โดยด้วงขีควายกินมูลควาย
8.เสื อกับนกแร้ง โดยเสื อฆ่าเหยือทิ งเศษไว้เป็ นอาหารของนกแร้ง
9.ไลเคนทีเจริ ญเติบโตอยูบนเปลือกไม้ตนใหญ่
่
้
10.จักจันอาศัยบนต้นไม้
11.กบบนใบบัว
กบในดอกบัว
4. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)
ใช้สญลักษณ์ + / +
ั

ถ้าอยู่ร่วมกัน

+

+

ถ้าแยกกัน

0

0
ตัวอย่าง ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน
1.ดอกไม้กบแมลง
ั
2.นกเอียงกับควาย
3.มดดํากับเพลีย
4.ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล(sea anemone)
5.ปลาการ์ ตูนกับดอกไม้ทะเล (ซี แอนนีโมนี)
6.ม้าลายกับนกกระจอกเทศ: ม้าลายมีจมูกไว หูไว ส่ วนนกกระจอกเทศตาไว
จะช่วยเตือนภัยแก่กน
ั
ดอกไม้กบแมลง
ั
ดอกไม้กบแมลง
ั
นกเอียงกับควาย
มดดํากับเพลีย
ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล(sea anemone)

ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมนี)
ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล(sea anemone)

ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมนี)
5.ภาวะทีต้องพึงพา (Mutualism) ใช้สัญลักษณ์ + / +

ถ้าอยู่ร่วมกัน

+

+

ถ้าแยกกัน

_

_
ตัวอย่าง ภาวะทีต้องพึงพา
1.ปลวกกับโพรโตซัวในลําไส้ทีชือว่า Trichonympha
2.สัตว์เคียวเอืองกับแบคทีเรี ยในกระเพาะอาหาร
3.สาหร่ ายกับราทีอยูร่วมกันเป็ นไลเคน
่
4.ราไมคอร์ ไรซา กับพืชตระกูลสน
5.แบคทีเรี ยไรโซเบียมกับพืชตระกูลถัว
6.สาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงินชือ แอนาบีนา (Anabaena) กับแหนแดง(เฟิ ร์น
นํา) : ชาวนานิยมเลียงแหนแดงในนาข้าว เพือเพิ มปุ๋ ยไนโตรเจนให้แก่
ต้นข้าว
ตัวอย่าง ภาวะทีต้องพึงพา(ต่อ)
7.สาร่ ายสี เขียวคลอเรลลากับไฮดรา
8.แบคทีเรี ย E.coli ในลําไส้ใหญ่ของคน
ปลวกกับโพรโตซัวในลําไส้ทีชือว่า Trichonympha
สาหร่ายกับราทีอยูร่วมกันเป็ นไลเคน(Lichen)
่
ไลเคน(Lichen)
ราไมคอร์ไรซา(Mycorrhiza) กับพืชตระกูลสน
ราไมคอร์ไรซา(Mycorrhiza)
ราไมคอร์ไรซา (Mycorrhiza)
แบคทีเรียไรโซเบียม (Rhizobium) กับพืชตระกูลถัว
แอนาบีนา (Anabaena)

แหนแดง(Azolla)/เฟิ ร์นนํา
แบคทีเรี ย E.coli ในลําไส้ใหญ่ของคน
6.ภาวการณ์ยอยสลาย (Saprophytism) ใช้สญลักษณ์ + / 0
่
ั
ตัวอย่าง ผูยอยสลาย(Decomposer) เช่น แบคทีเรี ย เห็ด รา ยีสต์
้่
เห็ด
7.ภาวะหลังสารยับยังการเจริ ญ(Antibiosis) ใช้สญลักษณ์ 0/ั
ตัวอย่าง
1.ราสี เขียว Penicillium หลังสาร Anitibiotic ออกมาทําให้ Bacteria ไม่
เจริ ญ
2.สาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงิน Microcystis จะหลังสาร Hydroxylamine
ออกมาในนํา ทําให้สัตว์นาตาย
ํ
Penicillium
8.ภาวะแข่งขัน (Competition) ใช้สัญลักษณ์ -/ตัวอย่าง
1.บัวกับผักตบชวาในสระนํา
2.จอกกับแหนในแหล่งนํา
3. ต้นถัวทีปลูกมากมายในกระป๋ องเล็กๆ
4.ต้นไม้ในป่ าทีแข่งกันสู ง เพือแข่งกันรับแสงสว่าง
5.มอด 2 ชนิดต่างก็ต่อสู ้แย่งอาหารชนิดเดียวกัน
9.ภาวะเป็ นกลาง(Neutralism) ใช้สัญลักษณ์ 0/0
ตัวอย่าง
เสื อกับหญ้า เกียวข้องกันเพราะ สัตว์ทีเป็ นอาหารของเสื อ เช่น วัวกิน
หญ้า และเสื อกินวัว แต่ไม่กินหญ้า
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957Myundo
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์supornp13
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
จุลินทรีย์ประจำร่างกาย
จุลินทรีย์ประจำร่างกายจุลินทรีย์ประจำร่างกาย
จุลินทรีย์ประจำร่างกายTh'mep Ginger
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์Y'tt Khnkt
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒cherdpr1
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย4315609
 

Was ist angesagt? (18)

ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ทสิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
จุลินทรีย์ประจำร่างกาย
จุลินทรีย์ประจำร่างกายจุลินทรีย์ประจำร่างกาย
จุลินทรีย์ประจำร่างกาย
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์
 
1
11
1
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
Animal digestion
Animal digestionAnimal digestion
Animal digestion
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 

Mehr von Bios Logos

Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Bios Logos
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12Bios Logos
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2Bios Logos
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1Bios Logos
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15Bios Logos
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14Bios Logos
 
Biology bio13
 Biology bio13 Biology bio13
Biology bio13Bios Logos
 
Biology bio11
 Biology bio11 Biology bio11
Biology bio11Bios Logos
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10Bios Logos
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8Bios Logos
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6Bios Logos
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5Bios Logos
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลBios Logos
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 

Mehr von Bios Logos (20)

Movement
MovementMovement
Movement
 
Keygatpat1 53
Keygatpat1 53Keygatpat1 53
Keygatpat1 53
 
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
 
Biology bio13
 Biology bio13 Biology bio13
Biology bio13
 
Biology bio11
 Biology bio11 Biology bio11
Biology bio11
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 

ระบบนิเวศ 1