SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กินอาหารกลางคืน (Night Eating Syndrome) คง เป็ น
            ่
พฤติกรรมทีหลายคนกาลังเป็ นอยู่ แต่คณรูหรือไม่วามันจะทาให้รางกายทรุด
                                   ุ ้          ่         ่
               ่
โทรมเร็ว คนทีชอบกินอาหารกลางคืนจนติดเป็ นนิสยหรือจะเรียกอีกอย่างว่า"นัก
                                              ั
บริโภคยามรัตติกาล" หากมีพฤติกรรมเช่นนี้ตอเนื่องไปเป็ นเวลานานจนเกิดเป็ น
                                         ่
ความเคยชินทีไม่ดจะทาให้นาฬิกาชีวต(Biological Clock) ในร่างกาย
              ่ ี               ิ
                                                      ่
เกิดอาการเรรวนไปทาให้เกิดอาการนอนไม่หลับ ท้องอืด ตืนสาย กรดในกระเพาะ
ไหลย้อนขึ้นมาและเป็ นโรคกระเพาะอาหาร ฯลฯ
ั
              ยิงดึกยิงหิ ว หลายคนคงเคยเกิดอาการนี้กนบ่อยๆ ทาอย่างไร เราจึงสามารถปรับประทานอาหารใน
                ่ ่
ยามค่าได้โดยไม่เสี่ ยงต่อการมีสุขที่แย่ลง
              คงเคยได้ยนกันบ่อยๆ ว่า การรับประทานอาหารยามค่าหรื อมื้อดึกเป็ นโทษต่อร่ างกายแต่ในขณะที่
                          ิ
ร่ างกาย ต้องการแคลอรี่ ที่นอยที่สุดในเวลากลางคืน กลับไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ใดๆ สามารถยืนยันถึง
                             ้
ปริ มาณแคลอรี่ ที่รับประทานในตอนกลางคืนว่าถูกเก็บสะสมในร่ าง กายมากกว่าการรับประทานอาหารในมื้ออื่น
                  ่
แต่ขอที่สาคัญอยูที่ปริ มาณแคลอรี่ และไขมันที่เราไดรับตลอดทั้งวันต่างหาก
      ้
              การเพิ่มพลังงานที่ถกต้องคือการรับประทานอาหารมื้อเช้า และมื้อกลางวันควรจะมีปริ มาณของ
                                     ู
โปรตีนที่พอเหมาะ เพื่อให้สมองตื่นตัวและไม่หิว แต่ถาคุณรู้สึกโหยในช่วงบ่าย วิธีท่ีดีที่สุดคือการรับประทาน
                                                           ้
อาหารหรื อของว่าง เช่น แซนด์วิชสักครึ่ งอันถัวโรตีนบาร์ หื อโปรตีนเชค ตบท้ายด้วยผลไม้ 4-5 ชิ้น ก็นบเป็ น
                                                   ่                                                   ั
อาหารว่างที่ช่วยให้อิ่มท้องแถมรสชาติยงอร่ อย โดยไม่ตองกังวลกับความอ้วนที่จะตามมา
                                            ั                ้
              มื้อค่าครั้งต่อไป เมื่อคุณรู้สึกหิ วอะไรสักอย่าง ก็ให้นึกถึงประโยชน์ของอาหารที่มีคุณค่าต่อร่ างกาย
ซึ่งมีโภขนาการที่แตกต่างออกไปจากอาหารขยะที่เปิ ดบริ การกันอยูเ่ ต็มเมือง
การรับประทานอาหารให้ สมดุล หมายถึง การรับประทานอาหารที่มสารอาหารที่มประโยชน์ ต่อร่ างกายครบ
                                                                             ี           ี
ทุกหมู่ในระยะ เวลาที่ห่างกันพอสมควรในระหว่างวัน
ซึ่งไม่ได้หมายความว่า คุณจะรักษาสมดุลของการบริ โภคในเวลากลางวันด้วยอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย
และรับประทานอาหารขยะ เช่น พิซซ่า เบอร์เกอร์ หรื อไอศกรี มได้อย่างสบายอารมณ์ในตอนกลางคืน
แต่สาหรับคนจานวนมาก พอพระอาทิตย์ตกดิน ความตั้งใจที่จะรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย
อย่างมีสมดุลก็ตกตาม ไปด้วย ในขณะที่พวกเขาปฏิบติจนเป็ นนิสยในการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ใน
                                                           ั               ั
ตอนกลางวัน แต่พอตกตอนเย็น เหมือนจะมีสญญาณเริ่ มต้นของการรับประทานอย่างไม่หยุดยั้งจนกระทังถึง
                                                 ั                                                          ่
เวลา นอน แต่กเ็ ป็ นเรื่ องที่แปลกแต่จริ ง ที่พบว่า วิธีท่ีดีท่ีสุดวิธีหนึ่งที่จะควบคุมความ “อยากหม่า” อาหารใน
ตอนกลางคืน คือการรับประทาน ให้ “บ่อยครั้งขึ้น” ในเวลากลางวัน เนื่องจากคนที่รับประทานของว่างใน
ตอนเย็นบ่อยๆ มักจะเป็ นผูที่ไม่มีระเบียบในการรับประทาน คือ ไม่ได้รับประทานอาหารและของว่างที่มี
                               ้
ประโยชน์ต่อร่ างกายนันเอง ่
แล้วต้องทาอย่างไร? เราจึงจะยังคงรับประทานอาหารในยามค่าคืนได้... โดยที่ไม่เสี่ ยงต่อการมีสุขภาพที่แย่ลง
อาจจะเคยมีคนบอกว่า การรับประทานอาหารยามค่าคืนหรื อมื้อดึกเป็ นโทษต่อ
ร่ างกาย แต่ในขณะที่ร่างกายต้องการแคลอรี่ ที่นอยที่สุดในเวลากลางคืน กลับไม่มีหลักฐานทาง
                                                 ้
วิทยาศาสตร์ใดๆ เป็ นเครื่ องยืนยันว่า ปริ มาณแคลอรี่ ที่รับประทานในตอนกลางคืนจะถูกเก็บไว้
มากกว่าที่รับประทานใน เวลาอื่น
               การรับประทานอาการในเวลาสายของวัน แทนที่จะเป็ นเวลาก่อนหน้านั้น ไม่ได้
                                                               ่
หมายความว่าจะทาให้น้ าหนักตัวของเราเพิ่มขึ้น แต่ขอสาคัญอยูที่ปริ มาณแคลอรี่ ที่เราได้รับตลอด
                                                      ้
วันต่างหาก
               ไม่วาจะรับประทานเวลาใด ถ้ารับประทานมากกว่าที่ร่างกายต้องการ ร่ างกายก็จะ
                    ่
เก็บแคลอรี่ เหล่านั้นไว้ และกลายเป็ นไขมันพอกพูนตามส่วนต่างๆ ของร่ างกายในที่สุด การ
ควบคุมนิสยในการชอบรับประทานของจุบจิบในช่วงเย็นจะทาให้การควบ คุมน้ าหนักตัวทาได้
             ั
ง่ายกว่า เนื่องจากเราได้รับแคลอรี่ ที่นอยลงเมื่อนาไปนับรวมกับแคลอรี่ ท้งหมดที่เรา ได้รับใน
                                       ้                               ั
ระหว่างวัน
เรามักจะบริ โภคอาหารที่ให้แคลอรี่ ที่ร่างกายต้องการส่ วนใหญ่ในตอนสายของวัน ชาวอเมริ กนจะั
เลือกรับประทานอาหารเย็นที่มีแคลอรี่ สูงมากกว่ามื้ออื่นๆ และถ้าหากเราเพิ่มจานวนแคลอรี่ หลังจากเสร็จภารกิจกับ
                             ็
อาหารเย็น ปริ มาณแคลอรี่ กจะเพิ่มขึ้นเกินความต้องการของร่ างกายอย่างแน่นอน
               มีเหตุผลหลายประการเกี่ยวกับรู ปแบบการรับประทานที่ไม่มีประโยชน์ต่อสุ ขภาพ คนบางคน
รับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่ างกายในตอนกลางวัน ซึ่งจะทาให้ปริ มาณน้ าตาลในเลือดลดลง
และทาให้หิวในตอนกลางคืน ซึ่งเป็ นผลให้เรารับประทานมากในตอนกลางคืนนันเอง        ่
                        ่
บางคนที่มกจะมีธุระยุงจนไม่มีเวลาที่จะคิดเรื่ องการรับประทานอาหารแต่ละ มื้อ ขณะที่บางคนก็ออกจากบ้านไป
            ั
ทางาน โดยดื่มกาแฟเพียงถ้วยเดียว และก้มหน้าก้มตาทางานตลอดทั้งวัน โดยไม่หาเวลารับประทานอาหารให้
เหมาะสม จึงไม่เป็ นเรื่ องน่าประหลาดใจที่เมื่อพวกเขาเหล่านั้นกลับถึงบ้าน เขาก็แทบจะหมดเรี่ ยวแรงที่จะทาอะไร
ต่อ
               คนอื่นๆ อาจจะรับประทานตามอารมณ์ เช่น รับประทานเพื่อแก้เครี ยด หรื อแก้เบื่อ และบางครั้งเราก็
                                                          ้ ่ ่ ั
มักจะเอื้อมมือไปหยิบอาหารขยะโดยไม่ทนคิด ในขณะที่ตองนังอยูกบที่ เช่น ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง หรื อใช้
                                         ั
คอมพิวเตอร์ รวมถึงบ่อยครั้งที่มกจะรับประทานอาหารที่มีแคลอรี่ สูงเหล่านี้เวลาหย่อนใจ และปฏิบติจนเป็ นนิสัย
                                ั                                                              ั
โดยไม่รู้ตว!
          ั
การเพิ่มพลังงานที่ถูกต้อง ในระยะเวลาห่างกันอย่างเหมาะสมในช่วงกลางวัน เป็ นวิธีป้องกันที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง เพื่อลดการรับประทานจุบจิบในตอนกลางคืน
อาหารเช้าและอาหารกลางวันควรจะมีปริ มาณของโปรตีนที่พอเหมาะและสอดคล้องกับ ความต้องการของร่ างกาย เพื่อให้สมองของเราว่องไว ตื่นตัวและ
ไม่หิว รวมทั้งรับประทานอาหารว่างที่ดีต่อสุ ขภาพ เมื่อรู ้สึกว่าอยากรับประทานทานอะไรสักอย่าง เช่น ผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ผานการขัดสี เพือรักษาระดับของ
                                                                                                                              ่              ่
น้ าตาลในเลือด โปรตีนเชคและผลไม้ก็เป็ นอีกทางเลือกหนึ่งของการเริ่ มต้นวันที่ดี หรื อไม่อย่างนั้นก็ลองรับประทานออมเล็ตไข่ขาวกับผลไม้ โยเกิร์ตชนิด
ไม่มีไขมันกับผลไม้ หรื อรับประทานข้าวโอ๊ตผสมด้วยผงโปรตีน เหล่านี้นบเป็ นอาหารว่างที่มีรสชาติไม่เลว โดยไม่ตองกังวลกับแคลอรี่ ที่จะตามมา
                                                                             ั                                           ้
                                                                                      ่                       ่
โปรตีนเชคเป็ นอาหารที่เตรี ยมได้เร็ วและเป็ นอาหารกลางวันที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิงในเวลาที่เรามีธุระยุงเกินกว่า จะมีเวลาเตรี ยมอาหารสักมื้อ แต่ถา       ้
                                                                     ่
ต้องการลองอาหารอย่างอื่น ก็สามารถลองรับประทานสลัดกับไก่ยาง ปลา หรื อแซนด์วช ไก่งวงกับขนมปั งที่ทาจากธัญพืชที่ไม่ผานการขัดสี และตบท้าย
                                                                                           ิ                                          ่
ด้วยของหวานที่เป็ นผลไม้ แทนพุดดิ้งหรื อเค้ก
                                                                                                            ่
แต่เมื่อคุณรู ้สึก “โหย” ในช่วงบ่าย วีธีที่ดีที่สุด คือรับประทานอาหารว่างที่มีเนื้อมีหนัง ซึ่ งอาจเรี ยกได้วาเป็ นอาหารกลางวันมื้อที่สอง ระหว่างมื้อกลางวัน
และมื้อเย็น เช่น โปรตีนเชค หรื อโปรตีนบาร์ หรื อจะเลือกหม่าแซนด์วชสักครึ่ งอัน ถัว หรื อคอตเตจชีสแคลอรี่ ต่า ตบท้ายด้วยผลไม้ ก็ลวนเป็ นอาหารว่างที่
                                                                        ิ                ่                                                 ้
ทาให้อ่ิมท้องและมีประโยชน์
การที่เรารับประทานอาหารที่มีโภชนาการมากขึ้นในมื้อกลางวัน ร่ วมด้วยการเลือกรับประทานอาหารว่างที่มีประโยชน์ จะทาให้เราไม่รู้สึกหิ วมากในตอน
กลางคืน และรับประทานอาหารมื้อเย็นแบบเบาๆ หรื อน้อยลงได้
ครั้งต่อไป...เมื่อคุณรู ้สึกอยากจะเคี้ยวอะไรสักอย่างหนึ่ง ก็ให้นึกถึงประโยชน์ของอาหารที่มีคุณค่าต่อร่ างกาย เช่นอาหารว่างที่ทาจากผงโปรตีน หรื อผลไม้
สดในตอนกลางวัน ซึ่ งมีโภชนาการที่แตกต่างออกไปจากอาหารขยะราวกับกลางวันและกลางคืนเลยที เดียว
ไม่กินมื้อดึก, 12 คน
                                           สารวจเป็ นจานวน 100 คน
                                           ชาย 20 คน
                                           หญิง 80 คน




                       กินมื้อดึก, 88 คน
ทุกวัน
                    24%




3-6 วัน / สัปดาห์            1-3 วัน / สัปดาห์
      15%                          61%
่
                 อืนๆ
                 6%     บะหมี่กงสาเร็จรูป
                               ึ่
อาหารจานหลัก                  18%
    22%




                                            ผลไม้
                                            17%



      ขนมต่างๆ
        37%
่
                             อืนๆ(
                             13%
          ่
 กินตามเพือน
     9%




คิดว่าเป็ นกิจวัตรประจาวัน
            6%



                                      หิว
                                     72%
่
                              อืนๆ                 ร้านสะดวกซื้อที่เปิ ด
                              14%                      ( 24 ชม.)
                                                         50%

                ร้านอาหาร
               ประเภทรถเข็น
                   16%


                                     ร้านอาหารใน
                                      ตลาดโต้ร่ง
                                               ุ
  ร้านอาหาร                              12%
ประเภทตึกแถว
      8%
มากกว่า 60 บาท   น้อยกว่า 20 บาท
                 9%                3%


40-60 บาท
   29%




                                               20-40 บาท
                                                  59%
โดยแบบสอบถามจะให้ตอบความเห็นว่า


               ใช่
               ไม่ใช่
              ไม่แน่ใจ


* หมายเหตุ การตอบคาถามว่าใช่ ไม่ใช่ หรือ ไม่แน่ใจ ไม่ได้แสดงถึงการตอบถูก
  หรือผิดแต่เป็ นเพียงความคิดเห็นส่วนบุคคลเท่านัน
                                                ้
1.คุณคิดว่าการรับประทานอาหารมื้อดึกเป็ นสาหตุหลักที่ทาให้นาหนักคุณเพิ่มขึ้นใช่
                                                          ้
หรือไม่
2.คุณไม่เคยลังเลกับการรับประทานอาหารมื้อดึก
3.ถ้าคุณรับประทานอาหารมื้อดึกเสร็จถ้าไม่มีสงที่ตองทาคุณจะเข้านอนทันที
                                           ิ่ ้
4.คุณมักเลือกอาหารทีไขมันน้อยๆในการทานมื้อดึก
                     ่
5.คุณมักเก็บตุนอาหารหรือเครืองดืมไว้ในห้องเพื่อกินตอนดึก
                            ่ ่
6.คุณมักวางแผนการรับประทานอาหารหรือทานอาหารว่างของตัวเองในแต่ละวัน
7.คุณมักคิดว่าจะรับประทานอาหารช่วงใดก็ได้ขอให้อมก็พอ
                                                   ่ิ
8.คุณชอบทีจะไม่รบประทานอาหารมื้อเย็นแล้วไปรับประทานอาหารมื้อดึกแทน
            ่    ั
9.คุณมักทีจะรับประทานอาหารมื้อเย็นให้อมเพื่อทีจะไม่ตองรับประทานอาหารมื้อดึก
          ่                           ่ิ      ่       ้
10.ในช่วงสอบ คุณจะรับประทานอาหารมื้อดึกเพิ่มมากขึ้นจากเดิมใช่หรือไม่
11.คุณคิดว่าการรับประทานอาหารเมื่อร่างกายเรารูสึกหิวถึงแม้วาจะไม่ใช่เวลาของ
                                                 ้          ่
การรับประทานอาหารใช่หรือไม่
12.วิธีทดทสุดวิธีหนึ่งทีจะควบคุมความอยากอาหารในตอนกลางคืนคือการ
          ี่ ี ี่           ่
รับประทาน ให้ “บ่อยครังขึ้น” ในเวลากลางวัน
                          ้
13.เพื่อให้คณรูสกหิวน้อยลง คุณเลือกทีจะใช้วธีผาตัดไขมันส่วนเกินออกหรือทา
                  ุ ้ึ                    ่ ิ ่
การส่องกล้องเข้าไปเพื่อใช้ยาง รัดกระเพาะ (Gastric Banding) ให้เล็ก
ลง ใช่หรือไม่
14.คุณเห็นด้วยหรือไม่วาการกินอาหารมื้อดึกจะทาให้รางกายทางานหนักขึ้นกว่า
                              ่                        ่
ปกติ
15.คุณเห็นด้วยหรือไม่ในเรืองทีวาปริมาณแคลอรีทรบประทานในตอนกลางคืน
                                ่ ่่            ่ ี่ ั
                       ่ั
จะถูกเก็บไว้มากกว่าทีรบประทานในเวลาอืน  ่
90


80


70


60

     ใช่
50
     ไม่ใช่

40   ไม่แน่ใจ


30


20


10


 0
นายกมลแก้ว        แก้ววิเศษ     รหัส 09521150
นายธนกฤต          ซาบซึ้ งไพร   รหัส 09521177
นายเสริ มวิทย์    ชมเด็จ        รหัส 09521231
นายอัสดา          คาเครี อ      รหัส 09521242
นางสาวเกสรา       ดวงแก้ว       รหัส 07520639
นางสาวณัฐณิ ชา    ตัณฑรังษี     รหัส 07520643
นางสาวธมลวรรณ    วิมลทิพย์      รหัส 07520646
นายธีรวัฒน์       เทียนกุล      รหัส 07520648
นางสาวปิ ยณัฐ    คานิล          รหัส 07520655
นายธัญวริ ศร์    กุณณา          รหัส 09532159

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Finalproject (1)
Finalproject (1)Finalproject (1)
Finalproject (1)THXB
 
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นอันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นtommy
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัยPloyLii
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)
การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)
การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)YanisaPichai
 
Food for CVD
Food for CVDFood for CVD
Food for CVDPha C
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD BrochurePha C
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )Rose Banioki
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
งานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียดงานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียดPichetpongSuwanlert
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพguest40b94a4
 

Was ist angesagt? (20)

Finalproject (1)
Finalproject (1)Finalproject (1)
Finalproject (1)
 
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นอันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)
การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)
การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)
 
Food for CVD
Food for CVDFood for CVD
Food for CVD
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
งานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียดงานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียด
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ
 

Ähnlich wie Presentation1

10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพBowy Wannawong
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่guestcfd317
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 

Ähnlich wie Presentation1 (20)

Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Weight Control Meal Program
Weight Control Meal ProgramWeight Control Meal Program
Weight Control Meal Program
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 

Presentation1

  • 1.
  • 2.
  • 3. กินอาหารกลางคืน (Night Eating Syndrome) คง เป็ น ่ พฤติกรรมทีหลายคนกาลังเป็ นอยู่ แต่คณรูหรือไม่วามันจะทาให้รางกายทรุด ุ ้ ่ ่ ่ โทรมเร็ว คนทีชอบกินอาหารกลางคืนจนติดเป็ นนิสยหรือจะเรียกอีกอย่างว่า"นัก ั บริโภคยามรัตติกาล" หากมีพฤติกรรมเช่นนี้ตอเนื่องไปเป็ นเวลานานจนเกิดเป็ น ่ ความเคยชินทีไม่ดจะทาให้นาฬิกาชีวต(Biological Clock) ในร่างกาย ่ ี ิ ่ เกิดอาการเรรวนไปทาให้เกิดอาการนอนไม่หลับ ท้องอืด ตืนสาย กรดในกระเพาะ ไหลย้อนขึ้นมาและเป็ นโรคกระเพาะอาหาร ฯลฯ
  • 4. ยิงดึกยิงหิ ว หลายคนคงเคยเกิดอาการนี้กนบ่อยๆ ทาอย่างไร เราจึงสามารถปรับประทานอาหารใน ่ ่ ยามค่าได้โดยไม่เสี่ ยงต่อการมีสุขที่แย่ลง คงเคยได้ยนกันบ่อยๆ ว่า การรับประทานอาหารยามค่าหรื อมื้อดึกเป็ นโทษต่อร่ างกายแต่ในขณะที่ ิ ร่ างกาย ต้องการแคลอรี่ ที่นอยที่สุดในเวลากลางคืน กลับไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ใดๆ สามารถยืนยันถึง ้ ปริ มาณแคลอรี่ ที่รับประทานในตอนกลางคืนว่าถูกเก็บสะสมในร่ าง กายมากกว่าการรับประทานอาหารในมื้ออื่น ่ แต่ขอที่สาคัญอยูที่ปริ มาณแคลอรี่ และไขมันที่เราไดรับตลอดทั้งวันต่างหาก ้ การเพิ่มพลังงานที่ถกต้องคือการรับประทานอาหารมื้อเช้า และมื้อกลางวันควรจะมีปริ มาณของ ู โปรตีนที่พอเหมาะ เพื่อให้สมองตื่นตัวและไม่หิว แต่ถาคุณรู้สึกโหยในช่วงบ่าย วิธีท่ีดีที่สุดคือการรับประทาน ้ อาหารหรื อของว่าง เช่น แซนด์วิชสักครึ่ งอันถัวโรตีนบาร์ หื อโปรตีนเชค ตบท้ายด้วยผลไม้ 4-5 ชิ้น ก็นบเป็ น ่ ั อาหารว่างที่ช่วยให้อิ่มท้องแถมรสชาติยงอร่ อย โดยไม่ตองกังวลกับความอ้วนที่จะตามมา ั ้ มื้อค่าครั้งต่อไป เมื่อคุณรู้สึกหิ วอะไรสักอย่าง ก็ให้นึกถึงประโยชน์ของอาหารที่มีคุณค่าต่อร่ างกาย ซึ่งมีโภขนาการที่แตกต่างออกไปจากอาหารขยะที่เปิ ดบริ การกันอยูเ่ ต็มเมือง
  • 5. การรับประทานอาหารให้ สมดุล หมายถึง การรับประทานอาหารที่มสารอาหารที่มประโยชน์ ต่อร่ างกายครบ ี ี ทุกหมู่ในระยะ เวลาที่ห่างกันพอสมควรในระหว่างวัน ซึ่งไม่ได้หมายความว่า คุณจะรักษาสมดุลของการบริ โภคในเวลากลางวันด้วยอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย และรับประทานอาหารขยะ เช่น พิซซ่า เบอร์เกอร์ หรื อไอศกรี มได้อย่างสบายอารมณ์ในตอนกลางคืน แต่สาหรับคนจานวนมาก พอพระอาทิตย์ตกดิน ความตั้งใจที่จะรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย อย่างมีสมดุลก็ตกตาม ไปด้วย ในขณะที่พวกเขาปฏิบติจนเป็ นนิสยในการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ใน ั ั ตอนกลางวัน แต่พอตกตอนเย็น เหมือนจะมีสญญาณเริ่ มต้นของการรับประทานอย่างไม่หยุดยั้งจนกระทังถึง ั ่ เวลา นอน แต่กเ็ ป็ นเรื่ องที่แปลกแต่จริ ง ที่พบว่า วิธีท่ีดีท่ีสุดวิธีหนึ่งที่จะควบคุมความ “อยากหม่า” อาหารใน ตอนกลางคืน คือการรับประทาน ให้ “บ่อยครั้งขึ้น” ในเวลากลางวัน เนื่องจากคนที่รับประทานของว่างใน ตอนเย็นบ่อยๆ มักจะเป็ นผูที่ไม่มีระเบียบในการรับประทาน คือ ไม่ได้รับประทานอาหารและของว่างที่มี ้ ประโยชน์ต่อร่ างกายนันเอง ่ แล้วต้องทาอย่างไร? เราจึงจะยังคงรับประทานอาหารในยามค่าคืนได้... โดยที่ไม่เสี่ ยงต่อการมีสุขภาพที่แย่ลง
  • 6. อาจจะเคยมีคนบอกว่า การรับประทานอาหารยามค่าคืนหรื อมื้อดึกเป็ นโทษต่อ ร่ างกาย แต่ในขณะที่ร่างกายต้องการแคลอรี่ ที่นอยที่สุดในเวลากลางคืน กลับไม่มีหลักฐานทาง ้ วิทยาศาสตร์ใดๆ เป็ นเครื่ องยืนยันว่า ปริ มาณแคลอรี่ ที่รับประทานในตอนกลางคืนจะถูกเก็บไว้ มากกว่าที่รับประทานใน เวลาอื่น การรับประทานอาการในเวลาสายของวัน แทนที่จะเป็ นเวลาก่อนหน้านั้น ไม่ได้ ่ หมายความว่าจะทาให้น้ าหนักตัวของเราเพิ่มขึ้น แต่ขอสาคัญอยูที่ปริ มาณแคลอรี่ ที่เราได้รับตลอด ้ วันต่างหาก ไม่วาจะรับประทานเวลาใด ถ้ารับประทานมากกว่าที่ร่างกายต้องการ ร่ างกายก็จะ ่ เก็บแคลอรี่ เหล่านั้นไว้ และกลายเป็ นไขมันพอกพูนตามส่วนต่างๆ ของร่ างกายในที่สุด การ ควบคุมนิสยในการชอบรับประทานของจุบจิบในช่วงเย็นจะทาให้การควบ คุมน้ าหนักตัวทาได้ ั ง่ายกว่า เนื่องจากเราได้รับแคลอรี่ ที่นอยลงเมื่อนาไปนับรวมกับแคลอรี่ ท้งหมดที่เรา ได้รับใน ้ ั ระหว่างวัน
  • 7. เรามักจะบริ โภคอาหารที่ให้แคลอรี่ ที่ร่างกายต้องการส่ วนใหญ่ในตอนสายของวัน ชาวอเมริ กนจะั เลือกรับประทานอาหารเย็นที่มีแคลอรี่ สูงมากกว่ามื้ออื่นๆ และถ้าหากเราเพิ่มจานวนแคลอรี่ หลังจากเสร็จภารกิจกับ ็ อาหารเย็น ปริ มาณแคลอรี่ กจะเพิ่มขึ้นเกินความต้องการของร่ างกายอย่างแน่นอน มีเหตุผลหลายประการเกี่ยวกับรู ปแบบการรับประทานที่ไม่มีประโยชน์ต่อสุ ขภาพ คนบางคน รับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่ างกายในตอนกลางวัน ซึ่งจะทาให้ปริ มาณน้ าตาลในเลือดลดลง และทาให้หิวในตอนกลางคืน ซึ่งเป็ นผลให้เรารับประทานมากในตอนกลางคืนนันเอง ่ ่ บางคนที่มกจะมีธุระยุงจนไม่มีเวลาที่จะคิดเรื่ องการรับประทานอาหารแต่ละ มื้อ ขณะที่บางคนก็ออกจากบ้านไป ั ทางาน โดยดื่มกาแฟเพียงถ้วยเดียว และก้มหน้าก้มตาทางานตลอดทั้งวัน โดยไม่หาเวลารับประทานอาหารให้ เหมาะสม จึงไม่เป็ นเรื่ องน่าประหลาดใจที่เมื่อพวกเขาเหล่านั้นกลับถึงบ้าน เขาก็แทบจะหมดเรี่ ยวแรงที่จะทาอะไร ต่อ คนอื่นๆ อาจจะรับประทานตามอารมณ์ เช่น รับประทานเพื่อแก้เครี ยด หรื อแก้เบื่อ และบางครั้งเราก็ ้ ่ ่ ั มักจะเอื้อมมือไปหยิบอาหารขยะโดยไม่ทนคิด ในขณะที่ตองนังอยูกบที่ เช่น ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง หรื อใช้ ั คอมพิวเตอร์ รวมถึงบ่อยครั้งที่มกจะรับประทานอาหารที่มีแคลอรี่ สูงเหล่านี้เวลาหย่อนใจ และปฏิบติจนเป็ นนิสัย ั ั โดยไม่รู้ตว! ั
  • 8. การเพิ่มพลังงานที่ถูกต้อง ในระยะเวลาห่างกันอย่างเหมาะสมในช่วงกลางวัน เป็ นวิธีป้องกันที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง เพื่อลดการรับประทานจุบจิบในตอนกลางคืน อาหารเช้าและอาหารกลางวันควรจะมีปริ มาณของโปรตีนที่พอเหมาะและสอดคล้องกับ ความต้องการของร่ างกาย เพื่อให้สมองของเราว่องไว ตื่นตัวและ ไม่หิว รวมทั้งรับประทานอาหารว่างที่ดีต่อสุ ขภาพ เมื่อรู ้สึกว่าอยากรับประทานทานอะไรสักอย่าง เช่น ผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ผานการขัดสี เพือรักษาระดับของ ่ ่ น้ าตาลในเลือด โปรตีนเชคและผลไม้ก็เป็ นอีกทางเลือกหนึ่งของการเริ่ มต้นวันที่ดี หรื อไม่อย่างนั้นก็ลองรับประทานออมเล็ตไข่ขาวกับผลไม้ โยเกิร์ตชนิด ไม่มีไขมันกับผลไม้ หรื อรับประทานข้าวโอ๊ตผสมด้วยผงโปรตีน เหล่านี้นบเป็ นอาหารว่างที่มีรสชาติไม่เลว โดยไม่ตองกังวลกับแคลอรี่ ที่จะตามมา ั ้ ่ ่ โปรตีนเชคเป็ นอาหารที่เตรี ยมได้เร็ วและเป็ นอาหารกลางวันที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิงในเวลาที่เรามีธุระยุงเกินกว่า จะมีเวลาเตรี ยมอาหารสักมื้อ แต่ถา ้ ่ ต้องการลองอาหารอย่างอื่น ก็สามารถลองรับประทานสลัดกับไก่ยาง ปลา หรื อแซนด์วช ไก่งวงกับขนมปั งที่ทาจากธัญพืชที่ไม่ผานการขัดสี และตบท้าย ิ ่ ด้วยของหวานที่เป็ นผลไม้ แทนพุดดิ้งหรื อเค้ก ่ แต่เมื่อคุณรู ้สึก “โหย” ในช่วงบ่าย วีธีที่ดีที่สุด คือรับประทานอาหารว่างที่มีเนื้อมีหนัง ซึ่ งอาจเรี ยกได้วาเป็ นอาหารกลางวันมื้อที่สอง ระหว่างมื้อกลางวัน และมื้อเย็น เช่น โปรตีนเชค หรื อโปรตีนบาร์ หรื อจะเลือกหม่าแซนด์วชสักครึ่ งอัน ถัว หรื อคอตเตจชีสแคลอรี่ ต่า ตบท้ายด้วยผลไม้ ก็ลวนเป็ นอาหารว่างที่ ิ ่ ้ ทาให้อ่ิมท้องและมีประโยชน์ การที่เรารับประทานอาหารที่มีโภชนาการมากขึ้นในมื้อกลางวัน ร่ วมด้วยการเลือกรับประทานอาหารว่างที่มีประโยชน์ จะทาให้เราไม่รู้สึกหิ วมากในตอน กลางคืน และรับประทานอาหารมื้อเย็นแบบเบาๆ หรื อน้อยลงได้ ครั้งต่อไป...เมื่อคุณรู ้สึกอยากจะเคี้ยวอะไรสักอย่างหนึ่ง ก็ให้นึกถึงประโยชน์ของอาหารที่มีคุณค่าต่อร่ างกาย เช่นอาหารว่างที่ทาจากผงโปรตีน หรื อผลไม้ สดในตอนกลางวัน ซึ่ งมีโภชนาการที่แตกต่างออกไปจากอาหารขยะราวกับกลางวันและกลางคืนเลยที เดียว
  • 9.
  • 10. ไม่กินมื้อดึก, 12 คน สารวจเป็ นจานวน 100 คน ชาย 20 คน หญิง 80 คน กินมื้อดึก, 88 คน
  • 11.
  • 12. ทุกวัน 24% 3-6 วัน / สัปดาห์ 1-3 วัน / สัปดาห์ 15% 61%
  • 13. อืนๆ 6% บะหมี่กงสาเร็จรูป ึ่ อาหารจานหลัก 18% 22% ผลไม้ 17% ขนมต่างๆ 37%
  • 14. อืนๆ( 13% ่ กินตามเพือน 9% คิดว่าเป็ นกิจวัตรประจาวัน 6% หิว 72%
  • 15. อืนๆ ร้านสะดวกซื้อที่เปิ ด 14% ( 24 ชม.) 50% ร้านอาหาร ประเภทรถเข็น 16% ร้านอาหารใน ตลาดโต้ร่ง ุ ร้านอาหาร 12% ประเภทตึกแถว 8%
  • 16. มากกว่า 60 บาท น้อยกว่า 20 บาท 9% 3% 40-60 บาท 29% 20-40 บาท 59%
  • 17. โดยแบบสอบถามจะให้ตอบความเห็นว่า ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ * หมายเหตุ การตอบคาถามว่าใช่ ไม่ใช่ หรือ ไม่แน่ใจ ไม่ได้แสดงถึงการตอบถูก หรือผิดแต่เป็ นเพียงความคิดเห็นส่วนบุคคลเท่านัน ้
  • 18.
  • 19. 1.คุณคิดว่าการรับประทานอาหารมื้อดึกเป็ นสาหตุหลักที่ทาให้นาหนักคุณเพิ่มขึ้นใช่ ้ หรือไม่ 2.คุณไม่เคยลังเลกับการรับประทานอาหารมื้อดึก 3.ถ้าคุณรับประทานอาหารมื้อดึกเสร็จถ้าไม่มีสงที่ตองทาคุณจะเข้านอนทันที ิ่ ้ 4.คุณมักเลือกอาหารทีไขมันน้อยๆในการทานมื้อดึก ่ 5.คุณมักเก็บตุนอาหารหรือเครืองดืมไว้ในห้องเพื่อกินตอนดึก ่ ่ 6.คุณมักวางแผนการรับประทานอาหารหรือทานอาหารว่างของตัวเองในแต่ละวัน
  • 20. 7.คุณมักคิดว่าจะรับประทานอาหารช่วงใดก็ได้ขอให้อมก็พอ ่ิ 8.คุณชอบทีจะไม่รบประทานอาหารมื้อเย็นแล้วไปรับประทานอาหารมื้อดึกแทน ่ ั 9.คุณมักทีจะรับประทานอาหารมื้อเย็นให้อมเพื่อทีจะไม่ตองรับประทานอาหารมื้อดึก ่ ่ิ ่ ้ 10.ในช่วงสอบ คุณจะรับประทานอาหารมื้อดึกเพิ่มมากขึ้นจากเดิมใช่หรือไม่ 11.คุณคิดว่าการรับประทานอาหารเมื่อร่างกายเรารูสึกหิวถึงแม้วาจะไม่ใช่เวลาของ ้ ่ การรับประทานอาหารใช่หรือไม่
  • 21. 12.วิธีทดทสุดวิธีหนึ่งทีจะควบคุมความอยากอาหารในตอนกลางคืนคือการ ี่ ี ี่ ่ รับประทาน ให้ “บ่อยครังขึ้น” ในเวลากลางวัน ้ 13.เพื่อให้คณรูสกหิวน้อยลง คุณเลือกทีจะใช้วธีผาตัดไขมันส่วนเกินออกหรือทา ุ ้ึ ่ ิ ่ การส่องกล้องเข้าไปเพื่อใช้ยาง รัดกระเพาะ (Gastric Banding) ให้เล็ก ลง ใช่หรือไม่ 14.คุณเห็นด้วยหรือไม่วาการกินอาหารมื้อดึกจะทาให้รางกายทางานหนักขึ้นกว่า ่ ่ ปกติ 15.คุณเห็นด้วยหรือไม่ในเรืองทีวาปริมาณแคลอรีทรบประทานในตอนกลางคืน ่ ่่ ่ ี่ ั ่ั จะถูกเก็บไว้มากกว่าทีรบประทานในเวลาอืน ่
  • 22. 90 80 70 60 ใช่ 50 ไม่ใช่ 40 ไม่แน่ใจ 30 20 10 0
  • 23. นายกมลแก้ว แก้ววิเศษ รหัส 09521150 นายธนกฤต ซาบซึ้ งไพร รหัส 09521177 นายเสริ มวิทย์ ชมเด็จ รหัส 09521231 นายอัสดา คาเครี อ รหัส 09521242 นางสาวเกสรา ดวงแก้ว รหัส 07520639 นางสาวณัฐณิ ชา ตัณฑรังษี รหัส 07520643 นางสาวธมลวรรณ วิมลทิพย์ รหัส 07520646 นายธีรวัฒน์ เทียนกุล รหัส 07520648 นางสาวปิ ยณัฐ คานิล รหัส 07520655 นายธัญวริ ศร์ กุณณา รหัส 09532159