SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 27
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัสท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เครื่องหมายของ TALL MAN
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียร์เจต์
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ ออซูเบล
ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ของรูเบลฮาร์ทและออโทนี่
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัสท์
กลุ่มเกสตัลท์(Gestalt Psychology) แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์เกิดขึ้นใน
ระยะใกล้เคียงกับกลุ่มพฤติกรรมนิยม
Max Wertheimer
Kurt Lewin
Wolfgang Kohler
Kurt Koffka
หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์
กลุ่มเกสตัลท์เชื่อว่าการเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยนั้นจะต้องเกิด
จากประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะคือ
1. การรับรู้ (Perception) เป็นกระบวนการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มา
กระทบประสาทสัมผัส ซึ่งจะเน้นความสาคัญของการรับรู้เป็นส่วนรวมที่สมบูรณ์
มากกว่าการรับรู้ส่วนย่อยทีละส่วน
2. การหยั่งเห็น (Insight) เป็นการรู้แจ้ง เกิดความคิดความเข้าใจแวบเข้ามา
ทันทีทันใดขณะที่บุคคลกาลังเผชิญปัญหาและจัดระบบการรับรู้
1. กฎแห่งความแน่นอนหรือชัดเจน (Law of Pregnant)
เมื่อต้องการให้มนุษย์เกิดการรับรู้ ในสิ่งเดียวกัน ต้องกาหนดองค์ประกอบขึ้น 2 ส่วน คือ
ก. ภาพหรือข้อมูลที่ต้องการให้สนใจ เพื่อเกิดการเรียนรู้ในขณะนั้น (Figure)
ข. ส่วนประกอบหรือพื้นฐานของการรับรู้ (Background or Ground) เป็นสิ่งแวดล้อมที่ประกอบ อยู่ในการ
เรียนรู้นั้นๆ แต่ผู้สอนยังมิต้องการให้ผู้เรียนสนใจในขณะนั้น ปรากฏว่า วิธีการแก้ปัญหา โดยกาหนด Figure
และ Background ของเกสตัลท์ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ เพราะสามารถทา ให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้ด้วยการรับรู้
อย่างเดียวกันได้ ซึ่งนักศึกษาจะได้ ทราบรายละเอียดในเรื่องทฤษฎีการเรียน รู้ของกลุ่มเกสตัลท์ในโอกาส
ต่อไป แต่ในที่นี้ขอเสนอพอสังเขป ดังนี้
บางครั้ง Figure อาจเปลี่ยนเป็น Ground และ Ground อาจเปลี่ยนเป็น Figure ก็ได้ถ้าผู้สอนหรือ
ผู้นาเสนอเปลี่ยนสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายเบนความสนใจไปตามที่ตนต้องการ
ถ้าดูสีขาวเป็นภาพ สีดาเป็นพื้นก็จะเป็นรูปพานถ้าดูสีดาเป็นภาพ สีขาวเป็นพื้น ก็อาจจะเห็นเป็นรูปคน 2 คน หันหน้าเข้าหากัน
ภาพ A เป็นภาพสองนัย ภาพ B เป็นภาพหญิงสาว ภาพ C เป็นภาพหญิงชรา
ลีเปอร์ ได้แบ่งนักศึกษาออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 ให้ดูภาพ A เป็นเวลา 25 วินาที
กลุ่มที่ 2 ให้ดูภาพ C เป็นเวลา 30 วินาที และให้ดูภาพ A ต่อ อีก 15 วินาที
กลุ่มที่ 3 ให้ดูภาพ B เป็นเวลา 30 วินาที แล้วให้ดูภาพ A ต่อ อีก 15 วินาที
ผลการทดลอง
กลุ่มที่ 1 ที่ให้ดูเฉพาะภาพ A(ภาพสองนัย) ภาพเดียว เป็นเวลา 25 วินาที
มีนักศึกษาบอกว่าเป็นภาพหญิงสาว 60 %
มีนักศึกษาบอกว่าเป็นภาพหญิงชรา 40 %
กลุ่มที่ 2 ที่ให้ดูภาพ C (หญิงชรา) ก่อน เป็นเวลา 30 วินาที แล้วจึงให้ดูภาพ A
(ภาพสองนัย) ต่ออีกเป็นเวลา 15 วินาที
มีนักศึกษาเห็นภาพ A เป็นหญิงชรา 95 %
มีนักศึกษาเห็นภาพ A เป็นหญิงสาว 5 %
กลุ่มที่ 3 ที่ให้ดูภาพ B (หญิงสาว) ก่อน เป็นเวลา 30 วินาที แล้วจึงให้ดูภาพ A
(ภาพสองนัย) ต่ออีกเป็นเวลา 15 วินาที
มีนักศึกษาเห็นภาพ A เป็นหญิงสาว 100 %
มีนักศึกษาเห็นภาพ A เป็นหญิงชรา 0 %
2. กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity)
ใช้เป็นหลักการในการวางรูปกลุ่มของการรับรู้ เช่น กลุ่มของ เส้น หรือสี ที่คล้ายคลึงกัน
หมายถึงสิ่งเร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสี ที่คล้ายกัน คนเราจะรับรู้ว่า เป็นสิ่งเดียวกัน หรือ
พวกเดียวกัน
รูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ แต่ละรูป ที่มีสีเข้ม เป็นพวกเดียวกัน
3. กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity)
ถ้าสิ่งใด หรือสถานการณ์ใดที่เกิดขึ้นในเวลาต่อเนื่องกัน หรือในเวลาเดียวกัน อินทรีย์จะเรียนรู้
ว่า เป็นเหตุและผลกัน หรือ สิ่งเร้าใดๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกัน มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้ สิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกัน
เป็นพวกเดียวกัน หมวดหมู่เดียวกัน
4. กฎแห่งการสิ้นสุด(Law of Closure)
กฎนี้มีอยู่ว่า “แม้ว่าสถานการณ์หรือปัญหายังไม่สมบูรณ์ อินทรีย์ก็จะเกิดการเรียนรู้
ได้จากประสบการณ์เดิมต่อสถานการณ์นั้น”
ถึงแม้เส้นต่าง ๆ ไม่จาเป็นต้องลากไปจนสุด หรือบรรจบกัน แต่เมื่อสายตามองก็พอจะเดาได้ว่า น่าจะเป็นรูปอะไร
ทฤษฎีการเรียนรู้เครื่องหมายของ TAll MAN
“การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยใช้เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์นาไปสู่เป้ าหมาย
ทาให้เกิดการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ”
การทดลอง = หนู 3 กลุ่ม ในเขาวงกต
1. ทอลแมนเห็นว่า การเสริมแรงหรือรางวัลนั้นไม่มีความจาเป็น
2. การเสริมแรงทั้งทางบวกและทางลบต่างก็มีผลต่อการเรียนรู้แต่
3. ไม่จาเป็นเสมอไปที่จะต้องให้รางวัลผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
4. ประสบการณ์ที่สร้างความพอใจและไม่พึงพอใจเป็นตัวเร่งให้
5. เกิดการเรียนรู้เปรียบเสมือนรางวัลและลงโทษในตัวมันเอง
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียร์เจต์
การศึกษาถึงพัฒนาการในวัยต่างๆมีบทบาทสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอนในขั้น
ของพัฒนาการนั้น เพื่อให้เด็กเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม (Socialization)
ในการทาความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ เป็นความ
 จาเป็นที่จะต้องทาความเข้าใจทั้งทางด้านร่างกาย ชีววิทยา
 สติปัญญา สังคม อารมณ์ และรูปแบบต่างๆของพฤติกรรม
 พฤติกรรมแต่ละอย่างจะเปลี่ยนแปลงเมื่อเด็กพัฒนาขึ้น
 และการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นผลเนื่องมาจากทั้งทางด้าน
 พันธุกรรม สภาพทางชีววิทยา ประสบการณ์เดิม
 ประสบการณ์ปัจจุบัน ตลอดจนวัฒนธรรมที่เป็นอยู่ในขณะนั้น
พัฒนาการทางร่างกาย
นับตั้งแต่แรกเกิดถึงวัยชรา ร่างกายจะพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ผมจะยาวขึ้น
ทุกๆนาที และสีของผมจะแสดงความชราคือผมหงอก เว้นแต่บางรายที่ผมหงอกก่อนวัย ฟันจะขึ้น
และหลุดไปตามวัย ตาจะดีในระยะแรกๆ เมื่อถึงวัยชราจะเห็นไม่ชัด ส่วนใหญ่จะเป็นสายตายาว
จึงต้องสวมแว่นตา หูในระยะวัยเด็กประสาทหูจะไว แต่ถึงวัยชราหูจะตึง และอวัยวะส่วนอื่นๆ ก็
เป็นทานองเดียวกัน คือ ในระยะแรกเกิดอวัยวะจะทาหน้าที่ได้ดี แต่เมื่อถึงวัยชราจะเสื่อมสภาพลง
ตามธรรมชาติของมนุษย์ที่ว่ามี เกิด แก่ เจ็บ และตาย
พัฒนาการทางสติปัญญา
แรกเกิด ในวัยทารกสมองจะเจริญขึ้นเรื่อยๆ สัมผัสและรับรู้ในสิ่งแวดล้อมต่างๆ
วัยเด็ก เกิดอัตมโนทัศน์ว่าตนเองสาคัญสนใจแต่ตนเองช่วงความสนใจสั้นไม่รับรู้เหตุผลอยากรู้อยากเห็น
วัยเด็กตอนปลาย รู้จักใช้เหตุผลรู้คิดสร้างความคิดรวบยอดได้
วัยรุ่น สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมได้ช่วงความสนใจยาวขึ้นแต่ยังใช้สติปัญญาได้ไม่ลึกซึ้ง
วัยผู้ใหญ่ สามารถใช้สติปัญญาได้อย่างลึกซึ้ง และในวัยชราสามารถใช้สติปัญญาได้อย่างลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น ทาอะไร
ด้วยความรอบคอบ
พัฒนาการทางสังคม
ระยะแรกเกิด จะยึดตนเองเป็นศูนย์กลางคือรู้จักตนเองและกระทาเพื่อตนเอง
วัยรุ่น จะยึดเพื่อนเป็นศูนย์กลาง มีความรู้สึกที่ต้องพึ่งพาอาศัยเพื่อน
รู้จักคบเพื่อนต่างเพศ รู้จักเลือกคู่ครองเพื่อเตรียมใช้ชีวิตคู่
วัยผู้ใหญ่ เริ่มใช้ชีวิตคู่และสร้างครอบครัวมีบุตรไว้สืบสกุล
วัยชรา ต้องสูญเสียความรักในกรณีบุตรไปมีครอบครัว ดังนั้นคนชราจึงให้ความรักแก่หลานๆเป็นการทดแทน
พัฒนาการทางอารมณ์
ระยะแรกเกิดถึงวัยเด็ก เด็กจะมีอารมณ์ตื่นเต้น พอใจ-ไม่พอใจ กลัว โกรธ เกลียด ยินดี รัก อิจฉาและร่าเริง
วัยรุ่น จะพัฒนาอารมณ์รัก เป็นรักเพศตรงข้าม อารมณ์วิตกกังวล อารมณ์ร่วม อารมณ์ชั่วแล่น อารมณ์
สุนทรียภาพ อารมณ์ที่เกิดจากการสัมผัสโดยตรง (อยากรู้อยากเห็น ขยะแขยง) และอารมณ์ที่เกิดจากการ
ประเมินตนเอง(ความภาคภูมิใจละอายใจ สมหวัง และผิดหวัง)
เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่และวัยชรา จะมีอารมณ์พัฒนาเพิ่มขึ้น ได้แก่ อารมณ์หึง อิจฉา- ริษยา และอารมณ์เหงา
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ ออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลเป็นทฤษฎีที่หาหลักการอธิบายการเรียนรู้ที่เรียกว่า"Meaningful Verbal Learning" เท่านั้น
โดยเฉพาะการเชื่อมโยงความรู้ที่ปรากฏในหนังสือที่โรงเรียนใช้กับความรู้เดิมที่อยู่ในสมองของผู้เรียนในโครงสร้าง
สติปัญญา(Cognitive Structure) หรือการสอนโดยวิธีการให้ข้อมูลข่าวสารด้วยถ้อยคาทฤษฎีของออซูเบลและออซูเบล
ให้ความหมายการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ( Mearningful learning) ว่า เป็นการเรียนที่ผู้เรียนได้รับมาจากการที่ผู้สอน
อธิบายสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ให้ทราบและผู้เรียนรับฟังด้วยความเข้าใจ โดยผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้กับ
โครงสร้างพุทธิปัญญาที่ได้เก็บไว้ในความทรงจา และจะสามารถนามาใช้ในอนาคต ออซูเบลได้ชี้ให้เห็นว่าทฤษฎีนี้มี
วัตถุประสงค์เพื่อที่จะอธิบายเกี่ยวกับพุทธิปัญญา
การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย โดยมีวิธีการ 2 ประเภท
1. Deriveration Subsumption
เป็นการเชื่อมโยงสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่กับหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่เคยเรียนมาแล้ว โดยการได้รับข้อมูลมาเพิ่ม เช่น มี
คนบอก แล้วสามารถดูดซึมเข้าไปในโครงสร้างทางสติปัญญาที่มีอยู่แล้วอย่างมีความหมาย โดยไม่ต้องท่องจา
ตัวอย่างเช่น ......ผู้เรียนเคยรู้มาว่า : สัตว์ปีกบินได้
ข้อมูลใหม่ที่ได้รับ เช่น จากการบอกว่า : นกบินได้
การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย : นกเป็นสัตว์ปีก(บินได้)
เป็นการเรียนรู้ที่มีความหมายเกิดจากการขยายความ หรือปรับโครงสร้างทางสติปัญญาที่มีมาก่อนให้สัมพันธ์กับสิ่งที่
จะเรียนรู้ใหม่
ตัวอย่างเช่น ......ผู้เรียนเคยรู้มาว่า : รูปสี่เหลี่ยมเป็นรูปที่ประกอบด้วยด้าน 4 ด้าน และเป็นรูปปิด
สิ่งที่ต้องเรียนรู้ใหม่ : รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มี ด้านทั้ง4 ยาวเท่ากัน
ผู้เรียนต้องขยายความคิดจาก : รูปสี่เหลี่ยม + รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส
(รูปที่ประกอบด้วยด้าน 4) (ด้านทั้ง4 ยาวเท่ากัน)
การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย : รูปสี่เหลี่ยม ประกอบด้วยด้าน 4 ด้านและด้านทั้ง 4 ยาวเท่ากัน
2.Correlative subsumption
Advance organizer
ออซูเบลได้เสนอแนะเกี่ยวกับ Advance organizer : เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมายจากการ
สอนหรือบรรยายของครู โดยการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ที่มีมาก่อนกับข้อมูลใหม่ หรือความคิดรวบยอด
ใหม่ ที่จะต้องเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายที่ไม่ต้องท่องจา หลักการทั่วไปที่นามาใช้ คือ
- การจัด เรียบเรียง ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เรียนรู้ ออกเป็นหมวดหมู่
- นาเสนอกรอบ หลักการกว้างๆ ก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่
- แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สาคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสาคัญที่เป็นความดิดรวบยอดใหม่ที่
จะต้องเรียนออซูเบลถือว่า Advance Organizer มีความสาคัญมากเพราะเป็นวิธีการสร้างการเชื่อมช่องว่างระหว่าง
ความรู้ที่ผู้เรียนได้รู้แล้ว(ความรู้เดิม)กับความรู้ใหม่ที่ได้รับ ที่จาเป็นจะต้อง เรียนรู้เพื่อผู้เรียนจะได้มีความเข้าใจเนื้อหา
ใหม่ได้ดีและจดจาได้ได้ดีขึ้น ฉะนั้นผู้สอนควรจะใช้เทคนิค Advance Organizer ช่วยผู้เรียนในการเรียนรู้ทั้งประเภท
การรับอย่างมีความหมายและการค้นพบอย่างมีความหมาย
- เป็นทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญา แต่จะแตกต่างจากทฤษฎีของ เพียเจต์ ที่เน้นความสาคัญของผู้เรียน และของ
บรูเนอร์ที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยการค้นพบด้วยตนเอง(Discovery)
- สาหรับออซูเบลจะสนับสนุนทั้ง Discovery และ Expository technique ซึ่งเป็นการสอนที่ครูให้
หลักเกณฑ์ และผลลัพธ์ ออซูเบลมีความเห็นว่าสาหรับเด็กโต (อายุเกิน11หรือ 12 ปี)นั้น การจัดการเรียนการสอน
แบบ Expository technique น่าจะเหมาะสมกว่าเพราะเด็กวัยนี้สามารถเข้าใจเรื่องราว คาอธิบายต่างๆได้
- แต่ควรเป็นการเรียนรู้ที่มีความหมาย โดยการเรียนรู้สิ่งใหม่ มีการเชื่อมโยงพื้นฐานความรู้เดิมที่มีมาก่อน
กับสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่ จากการวิจัยพบว่า วิธีนี้จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วและจาได้นาน ส่วนการเรียนรู้แบบ
Discovery จะช่วยในการถ่ายโยงความรู้ได้ดี เพราะจะต้อง ค้นคว้า ทดลอง แก้ปัญหา หาคาตอบด้วยตนเอง
สรุปได้ว่า การเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Mearningful learning) ของออซูเบล
ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ของรูเบลฮาร์ทและออโทนี่
ภายใต้ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) นี้ยังได้เกิดทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Schema Theory)
ขึ้นซึ่งเป็นแนวคิดที่เชื่อว่าโครงสร้างภายในของความรู้ที่มนุษย์มีอยู่นั้นจะมี ลักษณะเป็นโหมดหรือกลุ่ม
ที่มีการเชื่อมโยงกันอยู่
อ้างอิง
www.google.com
http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/kohler.html
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-
2/gestalt_theory/01.html
http://niramon2244.blogspot.com/2015/07/behaviorism.html
http://stawberryeieiei.blogspot.com/2015/11/blog-
post_47.html
**ขอขอบคุณทุกๆเว็บไซต์และทุกๆข้อมูลที่ได้นามาประกอบกันเพื่อใช้ในการศึกษาทั้งที่อ้างอิงและไม่ได้อ้างอิง**
ผู้จัดทาขอขอบคุณข้อมูลในการสืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ ทั้งที่ใช้เขียน
อ้างอิงและไม่ได้เขียนอ้างอิงเนื่องจากเป็นการฝึกทาโครงการเรียนแบบ Project
based learning อาจมีข้อบกพร่องในการสืบค้นและค้นหา เพราะเป็นงานกลุ่ม
และเว็บไซต์ต่างๆที่รวบรวมข้อมูลนั้นผู้ทาอาจะจะนามาใช้แต่ไม่ได้อ้างอิงท่าน
ต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วยและในการนาข้อมูลมาสร้างPower point ซึ่งเป็น
การจัดทาข้อมูลสาหรับการนาเสนองานในรายวิชา จิตวิทยาการศึกษา ของ
นิสิตประกาศนียบัตรวิชาชีพครูหากมีข้อมูลผิดพลาดประการใดผู้จัดทาก็ขอ
อภัย มา ณ โอกาสนี้
คาขอบคุณ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติwaraporny
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 

Was ist angesagt? (20)

2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติ
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 

Andere mochten auch

กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมNaracha Nong
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน7roommate
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาGroup1 NisaPittaya
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้BLue Artittaya
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Kanny Redcolor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาEye E'mon Rattanasiha
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 

Andere mochten auch (20)

กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

Ähnlich wie ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม

Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้foonfriendly
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้foonfriendly
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 

Ähnlich wie ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม (20)

Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษา
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
4
44
4
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao TPsychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม