SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ใบความรู
                                               ระบบเครื่อขาย


         ในสมัยกอนทีจะมีระบบเครือขายคอมพิวเตอรเกิดขึ้นมานั้น การขนถาย แลกเปลี่ยนขอมูลกันนั้น ไม
                       ่
คอยมีความสะดวกมากนัก และยังมีความเสี่ยงตอการสูญหายของขอมูลในขณะขนยายอีกดวย ซึ่งโดยสวนใหญ
ในการแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกันนั้น จะใชการคัดลอกขอมูล (Copy) ลงบนแผนดิสก ซึ่งบางครั้งก็อาจจะ
ทําไดสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี แตบางครั้งคุณอาจจะโชคราย พบวาเมื่อนําขอมูลมา จะนํามาใวในเครื่อง ของเรา
                 
มันก็ดันเสียขึนมาดื้อ ๆหรือทําแผนสูญหายไป คุณก็จะรูสึกไมคอยดีแน ๆ ยิ่งถาจอกับขอมูลที่มีขนาดใหญแลว
               ้
ละก็ คุณจะทําอยางไรดี
          จากผลเสียขางตนที่กลาวมา จึงเปนสาเหตุทําใหตองมีระบบเครือขายขึ้นมาใชกนดังในปจจุบัน หลักการ
                                                                                          ั
พื้นฐานอยางเห็นไดชด ของระบบเครือขายคอมพิวเตอร นั้นก็คือ เครื่องคอมพิวเตอรทุก ๆ เครื่องที่อยูในระบบ
                        ั
เครือขาย จะตองเชื่อมตอเขาดวยกัน และจัดใหอยูในรูปแบบของระบบเครือขายคอมพิวเตอร มีหลายคนมักจะ
นึกถึงภาพของระบบเครือขายคอมพิวเตอรวาจะตองมีเครื่องคอมพิวเตอรอยูเปน สิบ ๆ เครื่องเชื่อมตอกันอยู แต
อันที่จริงแลว การที่มีเครื่องคอมพิวเตอรตงแต 2 เครื่องขึ้นไป เชื่อมติดตอสื่อสารกันอยู และสามารถแลกเปลี่ยน
                                          ั้
ขอมูลระหวางกันได เขาใชทรัพยากรรวมกันไดอยางเชน พรินเตอร สแกนเนอร ซีดีรอม ไดรฟ A ฮารดดิสก
เปนตน ก็ถือวาเปนระบบเครือขายขนาด เล็ก ๆ แลว
        วัตถุประสงคของการใชระบบเครือขาย
        วัตถุประสงคของการเลือกใชระบบเครือขายคอมพิวเตอรก็เพื่อ
        1.สามารถใชโปรแกรมและขอมูลรวมกันได ก็คือ เครื่องลูก(Client) สามารถเขามาใช โปรแกรม ขอมูล
รวมกันไดจากเครื่องแม (Server) หรือระหวางเครื่องลูกกับเครื่องลูกก็ได เปนการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ
โปรแกรม ไมจําเปนวาทุกเครื่องตองมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่องของตนเอง
           2. เพื่อความประหยัด เพราะวาเปนการลงทุนที่คุมคา อยางเชนในสํานักงานหนึ่งมีเครื่องอยู 30 เครื่อง
หรือมากกวานี้ ถาไมมีการนําระบบเครือขายคอมพิวเตอรมาใช จะเห็นวาตองใชเครื่องพิมพอยางนอย 5 - 10
เครื่อง มาใชงาน แตถามีระบบเครือขายคอมพิวเตอรมาใชแลวละกอ ก็สามารถใชอุปกรณ หรือเครื่องพิมพ
ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอตอการใชงานแลว เพราะวาทุกเครื่องสามารถเขาใชเครื่องพิมพเครื่องไหนก็ได ผาน
เครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือขายเดียวกัน
   3. เพื่อความเชือถือไดของระบบงาน นับเปนสิ่งที่สําคัญสําหรับการดําเนินธุรกิจ ถาทํางานไดเร็วแตขาด
                   ่
ความนาเชื่อถือก็ถือวาใชไมได ไมมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนําระบบ Computer Network มาใชงาน ทํา
ระบบงานมีประสิทธิภาพ มีความนาเชื่อถือของขอมูล เพราะจะมีการทําสํารองขอมูลไว เมื่อเครื่องที่ใชงานเกิดมี
ปญหา ก็สามารถนําขอมูลที่มีการสํารองมาใชได อยางทันที
        4. ประหยัดเวลา คาเดินทาง เมื่อตองการแลกเปลี่ยนขอมูลกัน ในที่ที่อยูหางไกลกัน เชน บริษัทแมอยูที่
                                                                             
กรุงเทพ สวนบริษัทลูกอาจจะอยูตามตางจังหวัด แตละที่ก็มีการเก็บขอมูล การเงิน ประวัติลูกคา และอื่นๆ แตถา
ตองการใชขอมูลของอีกที่หนึ่งจะเกิดความลําบาก ลาชา และไมสะดวก จึงมีการนําหลักการของ Computer
Network มาใชงาน เชน มีการใชทรัพยากรรวมกัน หรือโปรแกรม ขอมูล รวมกัน


        โครงสรางของระบบเครือขาย
       โครงสรางที่จะประกอบกันมาเปนสวนของระบบเครือขายคอมพิวเตอรน้น ก็จะประกอบไปดวย เครื่อง
                                                                           ั
คอมพิวเตอรหลัก (Server) เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (Client) และอุปกรณในการเชือมตอ (Network Device)
                                                                              ่
-       เครื่องคอมพิวเตอรหลัก (Server) หรือเครื่องเซิรฟเวอร ก็คือเครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่ให บริการ
ขอมูลและทรัพยากรของระบบ เครื่องเซิรฟเวอรนนจะตองเปนเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง ไมวาจะเปนเรื่องของ
                                                ั้
คอมเร็วของซีพียู ขนาดของหนวยความจํา ขนาดความจุขอมูลของฮารดดิสก เครื่อง Server นั้นสามารถแบงออก
ไดเปนหลายประเภทตามความเหมาะสมกับการใชงาน เพื่อใหไดมาซึ่งประสิทธิภาพในการใหบริการ อยางเชน
Web Server , FTP Server , File Server , Mail Server , Printer Server เปนตน
-      เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (Client) หรือเครื่องไคลเอ็นต ก็คือเครื่องคอมพิวเตอรที่มหนาที่ขอ ใช
                                                                                          ี
ทรัพยากรของระบบจากเครือง Server หรือจากเครื่อง Client ดวยกันก็ได
                         ่
     - - อุปกรณในการเชื่อมการติดตอสื่อสาร เปนอุปกรณท่ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย
                                                         ี
สามารถติดตอสื่อสารกันได ก็มีอุปกรณอยางเชน สายสัญญาณขอมูล (Network Cable) แผงวงจรรับสงสัญญาณ
จากสายสัญญาณ ( Network Adapter) ซึ่งเปนอุปกรณทใชเปนชองทางเดินของขอมูล
                                                   ี่
      ประเภทของระบบเครือขายคอมพิวเตอรตามระยะการเชือมตอ
                                                    ่
     ในโลกยุคปจจุบัน ระบบเครือขายคอมพิวเตอร มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง ไดกลายเปนสวนหนึ่งของการ
พัฒนาระบบภายในองคกร บริษัทหรือหนวยงาน และสถาบันการศึกษา ซึ่งระบบเครือขายคอมพิวเตอรก็
หมายถึง การนําเครื่องคอมพิวเตอรตั้งแต 2 เครื่องขึ้นไป มาทําการเชื่อมตอกันเปนระบบเครือขายคอมพิวเตอร
สามารถแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี้ คือ


      1. ระบบเครือขายคอมพิวเตอรระยะใกล (Local Area Network หรือ LAN )
เปนระบบเครือขายระดับทองถิ่น มีขนาดเล็ก ครอบคุมพื้นที่จํากัด เชื่อมโยงกันในรัศมีใกล ๆ ในเขต
พื้นที่เดียวกัน เชน ในอาคารเดียวกัน หองเดียวกัน ภายในตึกเดียวกันหรือหลาย ๆ ตึกใกล ๆ กัน เปนตน โดยไม
ตองเชื่อมการติดตอกับองคการโทรศัพทหรือการสื่อสารแหงประเทศไทย ระบบแลนมีประโยชนตรงที่สามารถ
ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรหลาย ๆ เครื่องที่เชื่อมตอกัน สามารถสงขอมูลแลกเปลี่ยนกันไดอยางสะดวก รวดเร็ว
และยังสามารถใชทรัพยากรรวมกันไดอีกดวย
       เทคโนโลยีของระบบเครือขาย Lan มีหลายรูปแบบ อยางเชน แลนแบบ Ethernet , Fast Ethernet ,
    Token Ring เปนตน แตเทคโนโลยีที่ไดรบความนิยมมากที่สุดในปจจุบันก็คือ Ethernet และ Fast Ethernet
                                          ั
    ระบบเครือขายโดยทัวไปทีใชกันอยูนี้ จะเปนการนําเครือขายระบบแลนมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับ
                       ่     ่      
    ระบบงานของตน


    2. ระบบเครือขายเน็ตเวิรกระยะกลาง (Metropolitan Area Network หรือ MAN)
    เปนระบบเครือขายระดับเมือง คือมีการเชื่อมโยงกันในพื้นที่ ที่กวางไกลกวาระบบ LAN คืออาจจะเชื่อมโยง
    กันภายในจังหวัด โดยจะตองมีการใชระบบเครือขายขององคการโทรศัพทหรือองค
    การสื่อสารแหงประเทศไทย
        3. ระบบเครือขายระยะไกล (Wide Area Network หรือ WAN)
    เปนระบบเครือขายระดับไกล คือจะเปนเครือขายที่เชื่อมตอคอมพิวเตอรหรืออุปกรณ ที่อยูหางไกลกันเขา
    ดวยกัน อาจจะตองเปนการติดตอสื่อสารกัน ในระดับประเทศ ขามทวีปหรือทั่วโลกก็ได ในการเชือมการ
                                                                                                ่
    ติดตอกันนั้น จะตองมีการตอเขากับระบบสื่อสารขององคการโทรศัพท หรือการสื่อสารแหงประเทศไทย
    เสียกอน เพราะจะเปนการสงขอมูลผานทางสายโทรศัพทในการติดตอสือสารกัน
                                                                      ่


                                        Local Area Network

    ในปจจุบนมีการนําคอมพิวเตอรเขามาใชงานในหนวยงานประเภทตางๆ มากมาย ซึ่งมีผลทําใหการทํางาน
              ั
    ในองคกรหรือหนวยงาน สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ และสามารถพัฒนาการทํางานไดอยางตอเนื่อง
    ซึ่งการนําคอมพิวเตอรเขามาใชในองคกร หรือหนวยงาน ก็เริ่มมีการพัฒนาขึ้น แทนที่จะใชในลักษณะหนึ่ง
    เครื่องตอหนึ่งคน ก็ใหมีการใชเครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณ และขอมูลตางๆรวมกัน โดยนําคอมพิวเตอรมา
    ตอเชื่อมกัน ซึ่งเรียกสิ่งนีวา "ระบบแลน" ความจริงแลวระบบแลนถูกนํามาใชเปนเวลานานแลว
                                ้
แตจะจํากัดการใชงานอยูในเฉพาะกลุมคนบางกลุมเทานัน แตในปจจุบนระบบแลนถูกนํามาใชอยาง
                                                       ้            ั
แพรหลายมากขึ้น อยางเชนราน Internet Cafe ที่เปดกันอยางมากมายในปจจุบันทัวทุกจังหวัดทัวประเทศ ซึ่ง
                                                                             ่            ่
รานเหลานี้กใชระบบเครือขายประเภท Lan นี้ ในการประกอบธุรกิจ เพราะจําเปนตองมีการจัดระบบการใช
             ็
งาน ไมวาจะเปนการเลน Internet เลนเกมแบบ Multi Player ผานระบบ Lan และInternet เปนตน ซึ่งการนํา
         
ระบบแลนมาใชน้น ก็มรูปแบบในการเชื่อมตอหลากหลายรูปแบบ แตกตางกันไป ตามความเหมาะสมใน
                   ั ี
การนํามาใช ซึ่งรูปแบบการเชื่อมตอ หรือ Topology ของระบบแลนนันเอง ้
รูปแบบของการเชื่อมโยงเครือขาย หรือโทโปโลยี (LAN Topology)


โทโปโลยีคือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครือขาย ซึ่งหมายถึง ลักษณะของการเชือมโยงสาย  ่
สื่อสารเขากับอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสและเครื่องคอมพิวเตอร ภายในเครือขายดวยกันนั่นเอง โทโปโลยีของ
เครือขาย LAN แตละแบบมีความเหมาะสมในการใชงาน แตกตางกันออกไป การนําไปใชจึงมีความจําเปน
ที่เราจะตองทําการศึกษาลักษณะและคุณสมบัติ ขอดีและขอเสียของโทโปโลยีแตละแบบ เพื่อนําไปใชใน
การออกแบบพิจารณาเครือขาย ใหเหมาะสมกับการใชงาน รูปแบบของโทโปโลยี ของเครือขายหลัก ๆ มี
ดังตอไปนี้


1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS)




เปนรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอรจะถูกเชื่อมตอกันโดยผายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกวา BUS หรือ แบ็ค
โบน (Backbone) คือ สายรับสงสัญญาณขอมูลหลัก ใชเปนทางเดินขอมูลของทุกเครื่องภายในระบบ
เครือขาย และจะมีสายแยกยอยออกไปในแตละจุด เพื่อเชื่อมตอเขากับคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกวา
โหนด (Node) ขอมูลจากโหนดผูสงจะถูกสงเขาสูสายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแตละแพ็กเกจจะประกอบ
ไปดวยขอมูลของผูสง, ผูรับ และขอมูลที่จะสง การสื่อสารภายในสายบัสจะเปนแบบ 2 ทิศทางแยกไปยัง
ปลายทั้ง 2 ดานของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ดานของบัส จะมีเทอรมิเนเตอร (Terminator) ทําหนาทีลบลาง
                                                                                                 ่
สัญญาณที่สงมาถึง เพื่อปองกันไมใหสัญญาณขอมูลนั้นสะทอนกลับ เขามายังบัสอีก เพื่อเปนการปองกัน
การชนกันของขอมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยูบนบัสในขณะนั้น
สัญญาณขอมูลจากโหนดผูสงเมื่อเขาสูบัส ขอมูลจะไหลผานไปยังปลายทั้ง 2 ดานของบัส แตละโหนดที่
                            
เชื่อมตอเขากับบัส จะคอยตรวจดูวา ตําแหนงปลายทางทีมากับแพ็กเกจขอมูลนั้นตรงกับตําแหนงของตน
                                                         ่
หรือไม ถาตรง ก็จะรับขอมูลนั้นเขามาสูโหนด ตน แตถาไมใช ก็จะปลอยใหสญญาณขอมูลนั้นผานไป จะ
                                                                            ั
เห็นวาทุก ๆ โหนดภายในเครือขายแบบ BUS นั้นสามารถรับรูสัญญาณขอมูลได แตจะมีเพียงโหนด
ปลายทางเพียงโหนดเดียวเทานั้นที่จะรับขอมูลนั้นไปได
ขอดี
- ไมตองเสียคาใชจายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบไดงาย เสียคาใชจายนอย ซึ่งถือวา
                                                                          
ระบบบัสนี้เปนแบบโทโปโลยีที่ไดรับความนิยมใชกันมากที่สุดมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เหตุผลอยาง
หนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณเพิ่มเติมไดงาย ไมตองใชเทคนิคที่ยุงยากซับซอน
มากนัก
ขอเสีย
- อาจเกิดขอผิดพลาดงาย เนืองจากทุกเครืองคอมพิวเตอร ตอยูบนสายสัญญาณเพียงเสนเดียว ดังนั้นหากมี
                              ่           ่
สัญญาณขาดที่ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง ก็จะทําใหเครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไมสามารถใชงาน
ไดตามไปดวย
- การตรวจหาโหนดเสีย ทําไดยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอรเพียงเครื่องเดียวเทานั้น ที่
สามารถสงขอความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถามีเครื่องคอมพิวเตอรจํานวนมากๆ อาจทําใหเกิดการ
คับคั่งของเน็ตเวิรค ซึ่งจะทําใหระบบชาลงได
2.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING)
เปนรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องในระบบเครือขาย ทั้งเครื่องที่เปนผูใหบริการ( Server) และ
เครื่องที่เปนผูขอใชบริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมตอกันเปนวงกลม ขอมูลขาวสารที่สงระหวางกัน จะ
ไหลวนอยูในเครือขายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไมมจุดปลายหรือเทอรมเิ นเตอรเชนเดียวกับเครือขายแบบ
                                                         ี
BUS ในแตละโหนดหรือแตละเครื่อง จะมีรีพีตเตอร (Repeater) ประจําแตละเครื่อง 1 ตัว ซึ่งจะทําหนาที่
เพิ่มเติมขอมูลที่จาเปนตอการติดตอสื่อสารเขาในสวนหัวของแพ็กเกจที่สง และตรวจสอบขอมูลจากสวนหัว
                    ํ
ของ Packet ที่สงมาถึง วาเปนขอมูลของตนหรือไม แตถาไมใชก็จะปลอยขอมูลนั้นไปยัง Repeater ของ
                  
เครื่องถัดไป

ขอดี
- ผูสงสามารถสงขอมูลไปยังผูรับไดหลาย ๆ เครื่องพรอม ๆ กัน โดยกําหนดตําแหนงปลายทางเหลานั้นลง
      
ในสวนหัวของแพ็กเกจขอมูล Repeaterของแตละเครื่องจะทําการตรวจสอบเองวา ขอมูลที่สงมาใหนั้น เปน
ตนเองหรือไม
- การสงผานขอมูลในเครือขายแบบ RING จะเปนไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสูเครื่อง จึงไมมการชนกัน
                                                                                           ี
ของสัญญาณ ขอมูลที่สงออกไป
- คอมพิวเตอรทุกเครื่องในเน็ตเวิรกมีโอกาสที่จะสงขอมูลไดอยางทัดเทียมกัน
ขอเสีย
- ถามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือขายเสียหาย ขอมูลจะไมสามารถสงผานไปยังเครื่องตอ ๆ ไปได และจะทํา
ใหเครือขายทังเครือขาย หยุดชะงักได
               ้
- ขณะที่ขอมูลถูกสงผานแตละเครื่อง เวลาสวนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะตองทําการ
ตรวจสอบตําแหนงปลายทางของขอมูลนั้น ๆ ทุก ขอมูลที่สงผานมาถึง
3.โทโปโลยีแบบดาว (STAR)




เปนรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องที่เชื่อมตอเขาดวยกันในเครือขาย จะตองเชื่อมตอกับอุปกรณ
ตัวกลางตัวหนึงที่เรียกวา ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทําหนาที่เปนศูนยกลางของการเชื่อมตอสาย
              ่
สัญญาญที่มาจากเครื่องตาง ๆ ในเครือขาย และควบคุมเสนทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ตองการสง
ขอมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ตองการในเครือขาย เครื่องนั้นก็จะตองสงขอมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนยกลาง
กอน แลว HUB ก็จะทําหนาที่กระจายขอมูลนั้นไปในเครือขายตอไป

ขอดี
- การติดตั้งเครือขายและการดูแลรักษาทํา ไดงาย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได
งาย และศูนย กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนันออกจากการสื่อสาร ในเครือขายไดเลย โดยไมมี
                                                 ้
ผลกระทบกับระบบเครือขาย
ขอเสีย
- เสียคาใชจายมาก ทั้งในดานของเครื่องที่จะใชเปน เครื่องศูนยกลาง หรือตัว HUB เอง และคาใชจายในการ
ติดตั้งสายเคเบิลในเครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบใหใหญขึ้นทําไดยาก เพราะการขยายแตละครั้ง
จะตองเกี่ยวเนืองกับเครื่องอื่นๆ ทั้งระบบ
                ่
4.โทโปโลยีแบบ Hybrid
เปนรูปแบบใหม ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เขาดวยกัน เพื่อเปน
การลดขอเสียของรูปแบบที่กลาวมา และเพิ่มขอดี ขึ้นมา มักจะนํามาใชกับระบบ WAN (Wide Area
Network) มาก ซึ่งการเชื่อมตอกันของแตละรูปแบบนัน ตองใชตัวเชื่อมสัญญาญเขามาเปนตัวเชื่อม ตัวนั้นก็
                                                       ้
คือ Router เปนตัวเชื่อมการติดตอกัน
5.โทโปโลยีแบบ MESH
เปนรูปแบบทีถือวา สามารถปองกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบไดดีที่สด เปนรูปแบบที่ใชวิธีการ
            ่                                                             ุ




เดินสายของแตเครื่อง ไปเชื่อมการติดตอกับทุกเครื่องในระบบเครือขาย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบ
เครือขายนี้ ตองมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากตอการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีคอยมีผูนิยม
มากนัก
ประเภทของระบบเครือขาย Lan ซึ่งแบงตามลักษณะการทํางาน
ในการแบงรูปแบบการเชื่อมตอระบบเครือขาย Lan นั้น สามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแกการ
เชื่อมตอแบบ Peer - To - Peer และแบบ Client / Server
1. แบบ Peer - to - Peer เปนการเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรเขาดวยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร แตละเครื่อง
จะสามารถแบงทรัพยากรตางๆ ไมวาจะเปนไฟลหรือเครืองพิมพซึ่งกันและกันภายในเครือขายได เครื่องแต
                                                        ่
ละเครื่องจะทํางานในลักษณะทีทัดเทียมกัน ไมมีเครื่องใดเครื่องเครื่องหนึ่งเปนเครื่องหลักเหมือนแบบ
Client / Server แตกยังคงคุณสมบัติพื้นฐานของระบบเครือขายไวเหมือนเดิม การเชื่อตอแบบนี้มักทําใน
                     ็
ระบบที่มีขนาดเล็กๆ เชน หนวยงานขนาดเล็กที่มีเครื่องใชไมเกิน 10 เครื่อง การเชื่อมตอแบบนี้มีจดออนใน
                                                                                                  ุ
เรื่องของระบบรักษาความปลอดภัย แตถาเปนเครือขายขนาดเล็ก และเปนงานที่ไมมขอมูลที่เปนความลับ
                                                                                     ี
มากนัก เครือขายแบบนี้ ก็เปนรูปแบบที่นาเลือกนํามาใชไดเปนอยางดี
2. แบบ client-server เปนระบบที่มีเครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องมีฐานะการทํางานที่เหมือน ๆ กัน เทาเทียม
กันภายในระบบ เครือขาย แตจะมีเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง ที่ทําหนาที่เปนเครื่อง Server ที่ทําหนาที่
ใหบริการทรัพยากรตาง ๆ ใหกับ เครื่อง Client หรือเครื่องที่ขอใชบริการ ซึ่งอาจจะตองเปนเครื่องที่มี
ประสิทธิภาพที่คอนขางสูง ถึงจะทําใหการใหบริการมีประสิทธิภาพตามไปดวย ขอดีของระบบเครือขาย
Client - Server เปนระบบทีมีการรักษาความปลอดภัยสูงกวา ระบบแบบ Peer To Peer เพราะวาการจัดการ
                             ่
ในดานรักษาความปลอดภัยนั้น จะทํากันบนเครื่อง Server เพียงเครื่องเดียว ทําใหดแลรักษางาย และสะดวก
                                                                                 ู
มีการกําหนดสิทธิการเขาใชทรัพยากรตาง ๆใหกับเครื่องผูขอใชบริการ หรือเครื่อง Client
ประเภทของระบบเครือขายมีอีกรูปแบบหนึ่งที่กําลังเปนที่นิยมใชกันในปจจุบัน ก็คอ การเชื่อมตอแลนแบบ
                                                                                   ื
ไรสาย Wireless Lan แลนไรสาย WLAN เปนเทคโนโลยีที่นํามาใชไดอยางกวางขวาง เหมาะทีจะใชไดทั้ง
                                                                                             ่
เครื่องพีซตั้งโตะธรรมดา และเครื่อง NoteBook ซึ่งการสงสัญญาณติดตอกันนั้น จะใชสัญญาณวิทยุเปน
          ี
พาหะ ดังนั้นความเร็วในการสงขอมูลก็จําเปนตองขึ้นอยูกับระยะทาง ระยะทางยิ่งไกล ความเร็วในการสง
                                                         
ขอมูลก็ทาใหชาลงไปดวย แลนไรสายเหมาะที่จะนํามาใชกับงานที่ตองการความคลองตัวในการปฏิบัติงาน
          ํ
อยางเชนพวก เครื่อง NoteBook เพียงแตมีอนเตอร็เฟสแลนแบบไรสาย ก็สามารถเคลื่อนที่ไปที่ใดก็ได
                                            ิ
ภายในของเขตของระยะทางที่กําหนด อยางเชนภายในตึกไดทวตึกเลยที่เดียว จุดเดน ๆ ของ Wireless Lan มี
                                                             ั่
ดังนี้
- การเคลื่อนทีทําไดสะดวก สามารถใชระบบแลนจากทีใดก็ได และสามารถเขาถึงขอมูลไดแบบ Real Time
                ่                                      ่
ไดอีกดวย
- การติดตั้งใชงานงาย และรวดเร็ว ไมตองเดินสายสัญญาณใหยุงยาก
- การติดตั้งและการขยายระบบ ทําไดอยางกวางขวาง เพราะสามารถขยายไปติดตั้งใชงาน ในพืนที่ ที่   ้
สายสัญญาณเขาไมถึง
- เสียคาใชจายลดนอยลง เพราะวาในปจจุบันการสงสัญญาณของ Wireless Lan ทําไดไกลมากยิ่งขึน     ้
สามารถสงไดไกลกวา 10 กม. ทําใหลดคาใชจายในสวนของการเชาสายสัญญาณลงไปไดเปนอยางมาก
- มีความยืดหยุนในการใชงานและการติดตัง สามารถปรับแตงระบบใหใชไดกับทุก Topology เลยทีเดียว
                                         ้
การปรับแตงทําไดงาย ไมวาจะเปนการติดตั้งเครือขาย การติดตั้ง Application ตาง ทําไดโดยงาย
มาตราฐานของ Wireless Lan นั้นตามมาตรฐานสากล 802.11 มีอัตราการสงสัญญาณขอมูลไดสูงสุด 11 เม
กะบิตตอวินาที ระยะทางการรับสงสัญญาณขึ้นอยูกับผูผลิตวาออกแบบมาอยางไร ถาเปนการใชภายใน
                                                 
อาคารสถานที่ ก็จะใชสายอากาศแบบทุกทิศทาง จะไดระยะทางประมาณ 50 เมตร แตถาเปนการใชกันแบบ
จุดตอจุดหรือนอกสถานที่ ก็จะมีการออกแบบใหใชสายอากาศแบบกําหนดทิศทาง ใหไดระยะทางมากกวา
10 กม.ได
Lan Protocol - Ethernet
Ethernet เปนโปรโตคอลของระบบ lan ตามมาตราฐานหนึ่งของ IEEE ซึ่งมีอยูดวยกัน 3 มาตรฐานหลัก ๆ
คือ ARCnet , Token Ring และ Ethernet ซึ่งคุณสมบัติ ขอกําหนด ขีดจํากัด ลักษณะการใชงาน อุปกรณที่ใช
และ การใช Topology ก็จะแตกตางกันออกไป ดังแสดงตามตารางดังนี้


                        ความเร็วการรับสง
 มาตราฐาน                                       ชนิดของสายสัญญาณ รูปแบบของ Topology
                        ขอมูล
 ARCnet                 2.5 Mbps                Coaxial , UTP          Star , Bus
 Token Ring             4 หรือ 16 Mbps          UTP , STP              Ring , Star
 Ethernet               10 Mbps                 Coaxial , UTP          Bus , Star
ซึ่งในที่นี้เราจะกลาวถึงเฉพาะโปรโตคอล Ethernet เทานั้น ซึ่งโปรโตคอลของ Ethernet นี้ จะอยูใน 
มาตรฐานของ IEEE 802.3 โดยไดรับการออกแบบโดย Xerox ในป 1970 เปนเทคโนโลยีในการรับสงขอมูล
ดวยความเร็ว 10 Mbps แตในในปจจุบันนีไดมีเทคโนโลยีความเร็วที่เพิมขึ้น ซึ่งเรียกวา Fast Ethernet และ
                                      ้                            ่
Gigabit Ethernet ดังนี้



 ETHERNET
                          อัตราความเร็ว 100           อัตราความเร็ว 1000
 อัตราความเร็ว 10 Mbps                                                       อัตราความเร็ว 10 Gbps
                          Mbps                        Mbps
                                                      ซึ่งเรียกวา Gigabit
 บางทีจะเรียกวา ......... ซึ่งเรียกวา Fast Ethernet                        ซึ่งเรืยกวา Gigabit
                                                      Ethernet system ตาม
 ตามมาตรฐาน IEEE system ตามมาตรฐาน                                           Ethernet system ตาม
                                                      มาตรฐาน IEEE
 802.3                     IEEE 802.3u                                       มาตรฐาน IEEE 802.3ae
                                                      802.3z/802.3ab

 ซึ่งเทคโนโลยีความเร็วดังทีกลาวมานี้ จะตั้งอยูบนมาตรฐาน ของ Ethernet แบบเดียวกัน คือ สายที่
                            ่
 สามารถใชได ก็จะเปนพวกสาย โคแอคเชียล ( Coaxial Cable ) สายแบบ เกลียวคู ( Twisted Pair
 Cable - UTP ) และสายแบบ ใยแกวนําแสง ( Fiber Optic Cable ) สวนโทโปโลยี ที่ใชกจะอยูใน
                                                                                   ็
 รูปแบบของ BUS กับ Ring เสียเปนสวนใหญ
 จากระบบเครือขายแบบ Ethernet ที่กลาวมาทั้งหมด จะมีจุดสําคัญอยูที่ ไดนําเอาคุณสมบัติดังที่กลาว
 มา มาใช มาเชือมตอใหอยูในรูปแบบ ที่ตองการใชตามมาตรฐานของ Ethernet ซึ่งจะมีมาตรฐานการ
                 ่        
 เชื่อมตออยูดวยกันหลายแบบ มาตรฐานในการเชื่อมตอ อยางเชน 10base2 , 10base5 , 10baseT ,
               
 10baseFL , 100baseTX , 100baseT4 และ 100baseFX ซึ่งมาตรฐานรูปแบบนี้ จะขึ้นอยูกบ ความเร็ว
                                                                                     ั
 ในการรับสงขอมูล อุปกรณที่ใช และ ระยะทางที่สามารถสงได อยางเชน 10base2 เปนมาตรฐานที่
 ใชความเร็ว 10 Mbps ใชสายแบบ Coaxial แบบบางหรือ เรียกวา thin Ethernet รูปแบบการเชื่อมตอ
 (Topology) เปนแบบ BUS ระยะทางในการรับสงขอมูลประมาณ 185-200 เมตร เปนตน

 ETHERNET
 มาตรฐาน อัตราความเร็ว ระยะความยาว             Topolo
 การ       การรับสง ในการรับสง               gy     สายที่ใช Cable ชื่อเรียก
 เชื่อมตอ ขอมูล      ขอมูล                  ที่ใช
 10base2 10 Mbps       185 - 200 เมตร          BUS Thin Coaxial Thin Ethernet หรือ
Cheapernet
    10base5     10 Mbps        500 เมตร              Thick Coaxial        Thick Ethernet
                                                     Twisted Pair
    10baseT     10 Mbps        100 เมตร         STAR
                                                     (UTP)
    10baseF     10 Mbps        2000 เมตร             Fiber Optic
                                                     Twisted Pair
    100baseT 100 Mbps          ......... เมตร                             Fast Ethernet
                                                     (UTP)
   อินเตอรเนตคืออะไร

   อินเตอรเนต (Internet) คือ เครือ ขายคอม พิวเตอร ขนาดยักษ ที่เชื่อม ตอกัน ทั่วโลก โดยมี มาตรฐาน
   การ รับสง ขอมูล ระหวาง กันเปน หนึ่ง เดียว ซึ่ง คอมพิวเตอร แตละ เครื่อง สามารถ รับสง ขอมูล ใน
   รูป แบบตาง ๆ ได หลาย รูปแบบ เชน ตัวอักษร,ภาพกราฟก และ เสียงได รวมทั้ง สามารถ คนหาขอมูล
   จากที่ตาง ๆ ไดอยาง รวดเร็ว

ที่มา : www.yala.ac.th/subject/network.doc

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ Tong Thitiphong
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายNaruk Naendu
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจนายอุุเทน มาดา
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลHappy Sara
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 Kru Jhair
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 

Was ist angesagt? (19)

คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 

Ähnlich wie Network01 12

ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์suchai mechai
 

Ähnlich wie Network01 12 (20)

Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
โครงงานคอม57
โครงงานคอม57โครงงานคอม57
โครงงานคอม57
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Ch23
Ch23Ch23
Ch23
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
405609008 2
405609008 2405609008 2
405609008 2
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Mehr von paween

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีpaween
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสีpaween
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16paween
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2paween
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqpaween
 

Mehr von paween (19)

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utq
 

Network01 12

  • 1. ใบความรู ระบบเครื่อขาย ในสมัยกอนทีจะมีระบบเครือขายคอมพิวเตอรเกิดขึ้นมานั้น การขนถาย แลกเปลี่ยนขอมูลกันนั้น ไม ่ คอยมีความสะดวกมากนัก และยังมีความเสี่ยงตอการสูญหายของขอมูลในขณะขนยายอีกดวย ซึ่งโดยสวนใหญ ในการแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกันนั้น จะใชการคัดลอกขอมูล (Copy) ลงบนแผนดิสก ซึ่งบางครั้งก็อาจจะ ทําไดสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี แตบางครั้งคุณอาจจะโชคราย พบวาเมื่อนําขอมูลมา จะนํามาใวในเครื่อง ของเรา  มันก็ดันเสียขึนมาดื้อ ๆหรือทําแผนสูญหายไป คุณก็จะรูสึกไมคอยดีแน ๆ ยิ่งถาจอกับขอมูลที่มีขนาดใหญแลว ้ ละก็ คุณจะทําอยางไรดี จากผลเสียขางตนที่กลาวมา จึงเปนสาเหตุทําใหตองมีระบบเครือขายขึ้นมาใชกนดังในปจจุบัน หลักการ ั พื้นฐานอยางเห็นไดชด ของระบบเครือขายคอมพิวเตอร นั้นก็คือ เครื่องคอมพิวเตอรทุก ๆ เครื่องที่อยูในระบบ ั เครือขาย จะตองเชื่อมตอเขาดวยกัน และจัดใหอยูในรูปแบบของระบบเครือขายคอมพิวเตอร มีหลายคนมักจะ นึกถึงภาพของระบบเครือขายคอมพิวเตอรวาจะตองมีเครื่องคอมพิวเตอรอยูเปน สิบ ๆ เครื่องเชื่อมตอกันอยู แต อันที่จริงแลว การที่มีเครื่องคอมพิวเตอรตงแต 2 เครื่องขึ้นไป เชื่อมติดตอสื่อสารกันอยู และสามารถแลกเปลี่ยน ั้ ขอมูลระหวางกันได เขาใชทรัพยากรรวมกันไดอยางเชน พรินเตอร สแกนเนอร ซีดีรอม ไดรฟ A ฮารดดิสก เปนตน ก็ถือวาเปนระบบเครือขายขนาด เล็ก ๆ แลว วัตถุประสงคของการใชระบบเครือขาย วัตถุประสงคของการเลือกใชระบบเครือขายคอมพิวเตอรก็เพื่อ 1.สามารถใชโปรแกรมและขอมูลรวมกันได ก็คือ เครื่องลูก(Client) สามารถเขามาใช โปรแกรม ขอมูล รวมกันไดจากเครื่องแม (Server) หรือระหวางเครื่องลูกกับเครื่องลูกก็ได เปนการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ โปรแกรม ไมจําเปนวาทุกเครื่องตองมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่องของตนเอง 2. เพื่อความประหยัด เพราะวาเปนการลงทุนที่คุมคา อยางเชนในสํานักงานหนึ่งมีเครื่องอยู 30 เครื่อง หรือมากกวานี้ ถาไมมีการนําระบบเครือขายคอมพิวเตอรมาใช จะเห็นวาตองใชเครื่องพิมพอยางนอย 5 - 10 เครื่อง มาใชงาน แตถามีระบบเครือขายคอมพิวเตอรมาใชแลวละกอ ก็สามารถใชอุปกรณ หรือเครื่องพิมพ ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอตอการใชงานแลว เพราะวาทุกเครื่องสามารถเขาใชเครื่องพิมพเครื่องไหนก็ได ผาน เครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือขายเดียวกัน 3. เพื่อความเชือถือไดของระบบงาน นับเปนสิ่งที่สําคัญสําหรับการดําเนินธุรกิจ ถาทํางานไดเร็วแตขาด ่ ความนาเชื่อถือก็ถือวาใชไมได ไมมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนําระบบ Computer Network มาใชงาน ทํา
  • 2. ระบบงานมีประสิทธิภาพ มีความนาเชื่อถือของขอมูล เพราะจะมีการทําสํารองขอมูลไว เมื่อเครื่องที่ใชงานเกิดมี ปญหา ก็สามารถนําขอมูลที่มีการสํารองมาใชได อยางทันที 4. ประหยัดเวลา คาเดินทาง เมื่อตองการแลกเปลี่ยนขอมูลกัน ในที่ที่อยูหางไกลกัน เชน บริษัทแมอยูที่  กรุงเทพ สวนบริษัทลูกอาจจะอยูตามตางจังหวัด แตละที่ก็มีการเก็บขอมูล การเงิน ประวัติลูกคา และอื่นๆ แตถา ตองการใชขอมูลของอีกที่หนึ่งจะเกิดความลําบาก ลาชา และไมสะดวก จึงมีการนําหลักการของ Computer Network มาใชงาน เชน มีการใชทรัพยากรรวมกัน หรือโปรแกรม ขอมูล รวมกัน โครงสรางของระบบเครือขาย โครงสรางที่จะประกอบกันมาเปนสวนของระบบเครือขายคอมพิวเตอรน้น ก็จะประกอบไปดวย เครื่อง ั คอมพิวเตอรหลัก (Server) เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (Client) และอุปกรณในการเชือมตอ (Network Device) ่ - เครื่องคอมพิวเตอรหลัก (Server) หรือเครื่องเซิรฟเวอร ก็คือเครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่ให บริการ ขอมูลและทรัพยากรของระบบ เครื่องเซิรฟเวอรนนจะตองเปนเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง ไมวาจะเปนเรื่องของ ั้ คอมเร็วของซีพียู ขนาดของหนวยความจํา ขนาดความจุขอมูลของฮารดดิสก เครื่อง Server นั้นสามารถแบงออก ไดเปนหลายประเภทตามความเหมาะสมกับการใชงาน เพื่อใหไดมาซึ่งประสิทธิภาพในการใหบริการ อยางเชน Web Server , FTP Server , File Server , Mail Server , Printer Server เปนตน - เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (Client) หรือเครื่องไคลเอ็นต ก็คือเครื่องคอมพิวเตอรที่มหนาที่ขอ ใช ี ทรัพยากรของระบบจากเครือง Server หรือจากเครื่อง Client ดวยกันก็ได ่ - - อุปกรณในการเชื่อมการติดตอสื่อสาร เปนอุปกรณท่ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย ี สามารถติดตอสื่อสารกันได ก็มีอุปกรณอยางเชน สายสัญญาณขอมูล (Network Cable) แผงวงจรรับสงสัญญาณ จากสายสัญญาณ ( Network Adapter) ซึ่งเปนอุปกรณทใชเปนชองทางเดินของขอมูล ี่ ประเภทของระบบเครือขายคอมพิวเตอรตามระยะการเชือมตอ ่ ในโลกยุคปจจุบัน ระบบเครือขายคอมพิวเตอร มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง ไดกลายเปนสวนหนึ่งของการ พัฒนาระบบภายในองคกร บริษัทหรือหนวยงาน และสถาบันการศึกษา ซึ่งระบบเครือขายคอมพิวเตอรก็ หมายถึง การนําเครื่องคอมพิวเตอรตั้งแต 2 เครื่องขึ้นไป มาทําการเชื่อมตอกันเปนระบบเครือขายคอมพิวเตอร สามารถแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี้ คือ 1. ระบบเครือขายคอมพิวเตอรระยะใกล (Local Area Network หรือ LAN )
  • 3. เปนระบบเครือขายระดับทองถิ่น มีขนาดเล็ก ครอบคุมพื้นที่จํากัด เชื่อมโยงกันในรัศมีใกล ๆ ในเขต พื้นที่เดียวกัน เชน ในอาคารเดียวกัน หองเดียวกัน ภายในตึกเดียวกันหรือหลาย ๆ ตึกใกล ๆ กัน เปนตน โดยไม ตองเชื่อมการติดตอกับองคการโทรศัพทหรือการสื่อสารแหงประเทศไทย ระบบแลนมีประโยชนตรงที่สามารถ ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรหลาย ๆ เครื่องที่เชื่อมตอกัน สามารถสงขอมูลแลกเปลี่ยนกันไดอยางสะดวก รวดเร็ว และยังสามารถใชทรัพยากรรวมกันไดอีกดวย เทคโนโลยีของระบบเครือขาย Lan มีหลายรูปแบบ อยางเชน แลนแบบ Ethernet , Fast Ethernet , Token Ring เปนตน แตเทคโนโลยีที่ไดรบความนิยมมากที่สุดในปจจุบันก็คือ Ethernet และ Fast Ethernet ั ระบบเครือขายโดยทัวไปทีใชกันอยูนี้ จะเปนการนําเครือขายระบบแลนมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับ ่ ่  ระบบงานของตน 2. ระบบเครือขายเน็ตเวิรกระยะกลาง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) เปนระบบเครือขายระดับเมือง คือมีการเชื่อมโยงกันในพื้นที่ ที่กวางไกลกวาระบบ LAN คืออาจจะเชื่อมโยง กันภายในจังหวัด โดยจะตองมีการใชระบบเครือขายขององคการโทรศัพทหรือองค การสื่อสารแหงประเทศไทย 3. ระบบเครือขายระยะไกล (Wide Area Network หรือ WAN) เปนระบบเครือขายระดับไกล คือจะเปนเครือขายที่เชื่อมตอคอมพิวเตอรหรืออุปกรณ ที่อยูหางไกลกันเขา ดวยกัน อาจจะตองเปนการติดตอสื่อสารกัน ในระดับประเทศ ขามทวีปหรือทั่วโลกก็ได ในการเชือมการ ่ ติดตอกันนั้น จะตองมีการตอเขากับระบบสื่อสารขององคการโทรศัพท หรือการสื่อสารแหงประเทศไทย เสียกอน เพราะจะเปนการสงขอมูลผานทางสายโทรศัพทในการติดตอสือสารกัน ่ Local Area Network ในปจจุบนมีการนําคอมพิวเตอรเขามาใชงานในหนวยงานประเภทตางๆ มากมาย ซึ่งมีผลทําใหการทํางาน ั ในองคกรหรือหนวยงาน สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ และสามารถพัฒนาการทํางานไดอยางตอเนื่อง ซึ่งการนําคอมพิวเตอรเขามาใชในองคกร หรือหนวยงาน ก็เริ่มมีการพัฒนาขึ้น แทนที่จะใชในลักษณะหนึ่ง เครื่องตอหนึ่งคน ก็ใหมีการใชเครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณ และขอมูลตางๆรวมกัน โดยนําคอมพิวเตอรมา ตอเชื่อมกัน ซึ่งเรียกสิ่งนีวา "ระบบแลน" ความจริงแลวระบบแลนถูกนํามาใชเปนเวลานานแลว ้
  • 4. แตจะจํากัดการใชงานอยูในเฉพาะกลุมคนบางกลุมเทานัน แตในปจจุบนระบบแลนถูกนํามาใชอยาง ้ ั แพรหลายมากขึ้น อยางเชนราน Internet Cafe ที่เปดกันอยางมากมายในปจจุบันทัวทุกจังหวัดทัวประเทศ ซึ่ง ่ ่ รานเหลานี้กใชระบบเครือขายประเภท Lan นี้ ในการประกอบธุรกิจ เพราะจําเปนตองมีการจัดระบบการใช ็ งาน ไมวาจะเปนการเลน Internet เลนเกมแบบ Multi Player ผานระบบ Lan และInternet เปนตน ซึ่งการนํา  ระบบแลนมาใชน้น ก็มรูปแบบในการเชื่อมตอหลากหลายรูปแบบ แตกตางกันไป ตามความเหมาะสมใน ั ี การนํามาใช ซึ่งรูปแบบการเชื่อมตอ หรือ Topology ของระบบแลนนันเอง ้ รูปแบบของการเชื่อมโยงเครือขาย หรือโทโปโลยี (LAN Topology) โทโปโลยีคือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครือขาย ซึ่งหมายถึง ลักษณะของการเชือมโยงสาย ่ สื่อสารเขากับอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสและเครื่องคอมพิวเตอร ภายในเครือขายดวยกันนั่นเอง โทโปโลยีของ เครือขาย LAN แตละแบบมีความเหมาะสมในการใชงาน แตกตางกันออกไป การนําไปใชจึงมีความจําเปน ที่เราจะตองทําการศึกษาลักษณะและคุณสมบัติ ขอดีและขอเสียของโทโปโลยีแตละแบบ เพื่อนําไปใชใน การออกแบบพิจารณาเครือขาย ใหเหมาะสมกับการใชงาน รูปแบบของโทโปโลยี ของเครือขายหลัก ๆ มี ดังตอไปนี้ 1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) เปนรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอรจะถูกเชื่อมตอกันโดยผายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกวา BUS หรือ แบ็ค โบน (Backbone) คือ สายรับสงสัญญาณขอมูลหลัก ใชเปนทางเดินขอมูลของทุกเครื่องภายในระบบ
  • 5. เครือขาย และจะมีสายแยกยอยออกไปในแตละจุด เพื่อเชื่อมตอเขากับคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกวา โหนด (Node) ขอมูลจากโหนดผูสงจะถูกสงเขาสูสายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแตละแพ็กเกจจะประกอบ ไปดวยขอมูลของผูสง, ผูรับ และขอมูลที่จะสง การสื่อสารภายในสายบัสจะเปนแบบ 2 ทิศทางแยกไปยัง ปลายทั้ง 2 ดานของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ดานของบัส จะมีเทอรมิเนเตอร (Terminator) ทําหนาทีลบลาง ่ สัญญาณที่สงมาถึง เพื่อปองกันไมใหสัญญาณขอมูลนั้นสะทอนกลับ เขามายังบัสอีก เพื่อเปนการปองกัน การชนกันของขอมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยูบนบัสในขณะนั้น สัญญาณขอมูลจากโหนดผูสงเมื่อเขาสูบัส ขอมูลจะไหลผานไปยังปลายทั้ง 2 ดานของบัส แตละโหนดที่  เชื่อมตอเขากับบัส จะคอยตรวจดูวา ตําแหนงปลายทางทีมากับแพ็กเกจขอมูลนั้นตรงกับตําแหนงของตน ่ หรือไม ถาตรง ก็จะรับขอมูลนั้นเขามาสูโหนด ตน แตถาไมใช ก็จะปลอยใหสญญาณขอมูลนั้นผานไป จะ ั เห็นวาทุก ๆ โหนดภายในเครือขายแบบ BUS นั้นสามารถรับรูสัญญาณขอมูลได แตจะมีเพียงโหนด ปลายทางเพียงโหนดเดียวเทานั้นที่จะรับขอมูลนั้นไปได ขอดี - ไมตองเสียคาใชจายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบไดงาย เสียคาใชจายนอย ซึ่งถือวา  ระบบบัสนี้เปนแบบโทโปโลยีที่ไดรับความนิยมใชกันมากที่สุดมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เหตุผลอยาง หนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณเพิ่มเติมไดงาย ไมตองใชเทคนิคที่ยุงยากซับซอน มากนัก ขอเสีย - อาจเกิดขอผิดพลาดงาย เนืองจากทุกเครืองคอมพิวเตอร ตอยูบนสายสัญญาณเพียงเสนเดียว ดังนั้นหากมี ่ ่ สัญญาณขาดที่ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง ก็จะทําใหเครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไมสามารถใชงาน ไดตามไปดวย - การตรวจหาโหนดเสีย ทําไดยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอรเพียงเครื่องเดียวเทานั้น ที่ สามารถสงขอความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถามีเครื่องคอมพิวเตอรจํานวนมากๆ อาจทําใหเกิดการ คับคั่งของเน็ตเวิรค ซึ่งจะทําใหระบบชาลงได
  • 6. 2.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) เปนรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องในระบบเครือขาย ทั้งเครื่องที่เปนผูใหบริการ( Server) และ เครื่องที่เปนผูขอใชบริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมตอกันเปนวงกลม ขอมูลขาวสารที่สงระหวางกัน จะ ไหลวนอยูในเครือขายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไมมจุดปลายหรือเทอรมเิ นเตอรเชนเดียวกับเครือขายแบบ ี BUS ในแตละโหนดหรือแตละเครื่อง จะมีรีพีตเตอร (Repeater) ประจําแตละเครื่อง 1 ตัว ซึ่งจะทําหนาที่ เพิ่มเติมขอมูลที่จาเปนตอการติดตอสื่อสารเขาในสวนหัวของแพ็กเกจที่สง และตรวจสอบขอมูลจากสวนหัว ํ ของ Packet ที่สงมาถึง วาเปนขอมูลของตนหรือไม แตถาไมใชก็จะปลอยขอมูลนั้นไปยัง Repeater ของ  เครื่องถัดไป ขอดี - ผูสงสามารถสงขอมูลไปยังผูรับไดหลาย ๆ เครื่องพรอม ๆ กัน โดยกําหนดตําแหนงปลายทางเหลานั้นลง  ในสวนหัวของแพ็กเกจขอมูล Repeaterของแตละเครื่องจะทําการตรวจสอบเองวา ขอมูลที่สงมาใหนั้น เปน ตนเองหรือไม - การสงผานขอมูลในเครือขายแบบ RING จะเปนไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสูเครื่อง จึงไมมการชนกัน ี ของสัญญาณ ขอมูลที่สงออกไป - คอมพิวเตอรทุกเครื่องในเน็ตเวิรกมีโอกาสที่จะสงขอมูลไดอยางทัดเทียมกัน ขอเสีย - ถามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือขายเสียหาย ขอมูลจะไมสามารถสงผานไปยังเครื่องตอ ๆ ไปได และจะทํา ใหเครือขายทังเครือขาย หยุดชะงักได ้ - ขณะที่ขอมูลถูกสงผานแตละเครื่อง เวลาสวนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะตองทําการ ตรวจสอบตําแหนงปลายทางของขอมูลนั้น ๆ ทุก ขอมูลที่สงผานมาถึง
  • 7. 3.โทโปโลยีแบบดาว (STAR) เปนรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องที่เชื่อมตอเขาดวยกันในเครือขาย จะตองเชื่อมตอกับอุปกรณ ตัวกลางตัวหนึงที่เรียกวา ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทําหนาที่เปนศูนยกลางของการเชื่อมตอสาย ่ สัญญาญที่มาจากเครื่องตาง ๆ ในเครือขาย และควบคุมเสนทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ตองการสง ขอมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ตองการในเครือขาย เครื่องนั้นก็จะตองสงขอมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนยกลาง กอน แลว HUB ก็จะทําหนาที่กระจายขอมูลนั้นไปในเครือขายตอไป ขอดี - การติดตั้งเครือขายและการดูแลรักษาทํา ไดงาย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได งาย และศูนย กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนันออกจากการสื่อสาร ในเครือขายไดเลย โดยไมมี ้ ผลกระทบกับระบบเครือขาย ขอเสีย - เสียคาใชจายมาก ทั้งในดานของเครื่องที่จะใชเปน เครื่องศูนยกลาง หรือตัว HUB เอง และคาใชจายในการ ติดตั้งสายเคเบิลในเครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบใหใหญขึ้นทําไดยาก เพราะการขยายแตละครั้ง จะตองเกี่ยวเนืองกับเครื่องอื่นๆ ทั้งระบบ ่ 4.โทโปโลยีแบบ Hybrid เปนรูปแบบใหม ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เขาดวยกัน เพื่อเปน การลดขอเสียของรูปแบบที่กลาวมา และเพิ่มขอดี ขึ้นมา มักจะนํามาใชกับระบบ WAN (Wide Area Network) มาก ซึ่งการเชื่อมตอกันของแตละรูปแบบนัน ตองใชตัวเชื่อมสัญญาญเขามาเปนตัวเชื่อม ตัวนั้นก็ ้ คือ Router เปนตัวเชื่อมการติดตอกัน 5.โทโปโลยีแบบ MESH
  • 8. เปนรูปแบบทีถือวา สามารถปองกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบไดดีที่สด เปนรูปแบบที่ใชวิธีการ ่ ุ เดินสายของแตเครื่อง ไปเชื่อมการติดตอกับทุกเครื่องในระบบเครือขาย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบ เครือขายนี้ ตองมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากตอการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีคอยมีผูนิยม มากนัก ประเภทของระบบเครือขาย Lan ซึ่งแบงตามลักษณะการทํางาน ในการแบงรูปแบบการเชื่อมตอระบบเครือขาย Lan นั้น สามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแกการ เชื่อมตอแบบ Peer - To - Peer และแบบ Client / Server 1. แบบ Peer - to - Peer เปนการเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรเขาดวยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร แตละเครื่อง จะสามารถแบงทรัพยากรตางๆ ไมวาจะเปนไฟลหรือเครืองพิมพซึ่งกันและกันภายในเครือขายได เครื่องแต ่ ละเครื่องจะทํางานในลักษณะทีทัดเทียมกัน ไมมีเครื่องใดเครื่องเครื่องหนึ่งเปนเครื่องหลักเหมือนแบบ Client / Server แตกยังคงคุณสมบัติพื้นฐานของระบบเครือขายไวเหมือนเดิม การเชื่อตอแบบนี้มักทําใน ็ ระบบที่มีขนาดเล็กๆ เชน หนวยงานขนาดเล็กที่มีเครื่องใชไมเกิน 10 เครื่อง การเชื่อมตอแบบนี้มีจดออนใน ุ เรื่องของระบบรักษาความปลอดภัย แตถาเปนเครือขายขนาดเล็ก และเปนงานที่ไมมขอมูลที่เปนความลับ ี มากนัก เครือขายแบบนี้ ก็เปนรูปแบบที่นาเลือกนํามาใชไดเปนอยางดี 2. แบบ client-server เปนระบบที่มีเครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องมีฐานะการทํางานที่เหมือน ๆ กัน เทาเทียม กันภายในระบบ เครือขาย แตจะมีเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง ที่ทําหนาที่เปนเครื่อง Server ที่ทําหนาที่ ใหบริการทรัพยากรตาง ๆ ใหกับ เครื่อง Client หรือเครื่องที่ขอใชบริการ ซึ่งอาจจะตองเปนเครื่องที่มี ประสิทธิภาพที่คอนขางสูง ถึงจะทําใหการใหบริการมีประสิทธิภาพตามไปดวย ขอดีของระบบเครือขาย Client - Server เปนระบบทีมีการรักษาความปลอดภัยสูงกวา ระบบแบบ Peer To Peer เพราะวาการจัดการ ่ ในดานรักษาความปลอดภัยนั้น จะทํากันบนเครื่อง Server เพียงเครื่องเดียว ทําใหดแลรักษางาย และสะดวก ู มีการกําหนดสิทธิการเขาใชทรัพยากรตาง ๆใหกับเครื่องผูขอใชบริการ หรือเครื่อง Client ประเภทของระบบเครือขายมีอีกรูปแบบหนึ่งที่กําลังเปนที่นิยมใชกันในปจจุบัน ก็คอ การเชื่อมตอแลนแบบ ื ไรสาย Wireless Lan แลนไรสาย WLAN เปนเทคโนโลยีที่นํามาใชไดอยางกวางขวาง เหมาะทีจะใชไดทั้ง ่ เครื่องพีซตั้งโตะธรรมดา และเครื่อง NoteBook ซึ่งการสงสัญญาณติดตอกันนั้น จะใชสัญญาณวิทยุเปน ี
  • 9. พาหะ ดังนั้นความเร็วในการสงขอมูลก็จําเปนตองขึ้นอยูกับระยะทาง ระยะทางยิ่งไกล ความเร็วในการสง  ขอมูลก็ทาใหชาลงไปดวย แลนไรสายเหมาะที่จะนํามาใชกับงานที่ตองการความคลองตัวในการปฏิบัติงาน ํ อยางเชนพวก เครื่อง NoteBook เพียงแตมีอนเตอร็เฟสแลนแบบไรสาย ก็สามารถเคลื่อนที่ไปที่ใดก็ได ิ ภายในของเขตของระยะทางที่กําหนด อยางเชนภายในตึกไดทวตึกเลยที่เดียว จุดเดน ๆ ของ Wireless Lan มี ั่ ดังนี้ - การเคลื่อนทีทําไดสะดวก สามารถใชระบบแลนจากทีใดก็ได และสามารถเขาถึงขอมูลไดแบบ Real Time ่ ่ ไดอีกดวย - การติดตั้งใชงานงาย และรวดเร็ว ไมตองเดินสายสัญญาณใหยุงยาก - การติดตั้งและการขยายระบบ ทําไดอยางกวางขวาง เพราะสามารถขยายไปติดตั้งใชงาน ในพืนที่ ที่ ้ สายสัญญาณเขาไมถึง - เสียคาใชจายลดนอยลง เพราะวาในปจจุบันการสงสัญญาณของ Wireless Lan ทําไดไกลมากยิ่งขึน ้ สามารถสงไดไกลกวา 10 กม. ทําใหลดคาใชจายในสวนของการเชาสายสัญญาณลงไปไดเปนอยางมาก - มีความยืดหยุนในการใชงานและการติดตัง สามารถปรับแตงระบบใหใชไดกับทุก Topology เลยทีเดียว  ้ การปรับแตงทําไดงาย ไมวาจะเปนการติดตั้งเครือขาย การติดตั้ง Application ตาง ทําไดโดยงาย มาตราฐานของ Wireless Lan นั้นตามมาตรฐานสากล 802.11 มีอัตราการสงสัญญาณขอมูลไดสูงสุด 11 เม กะบิตตอวินาที ระยะทางการรับสงสัญญาณขึ้นอยูกับผูผลิตวาออกแบบมาอยางไร ถาเปนการใชภายใน  อาคารสถานที่ ก็จะใชสายอากาศแบบทุกทิศทาง จะไดระยะทางประมาณ 50 เมตร แตถาเปนการใชกันแบบ จุดตอจุดหรือนอกสถานที่ ก็จะมีการออกแบบใหใชสายอากาศแบบกําหนดทิศทาง ใหไดระยะทางมากกวา 10 กม.ได Lan Protocol - Ethernet Ethernet เปนโปรโตคอลของระบบ lan ตามมาตราฐานหนึ่งของ IEEE ซึ่งมีอยูดวยกัน 3 มาตรฐานหลัก ๆ คือ ARCnet , Token Ring และ Ethernet ซึ่งคุณสมบัติ ขอกําหนด ขีดจํากัด ลักษณะการใชงาน อุปกรณที่ใช และ การใช Topology ก็จะแตกตางกันออกไป ดังแสดงตามตารางดังนี้ ความเร็วการรับสง มาตราฐาน ชนิดของสายสัญญาณ รูปแบบของ Topology ขอมูล ARCnet 2.5 Mbps Coaxial , UTP Star , Bus Token Ring 4 หรือ 16 Mbps UTP , STP Ring , Star Ethernet 10 Mbps Coaxial , UTP Bus , Star
  • 10. ซึ่งในที่นี้เราจะกลาวถึงเฉพาะโปรโตคอล Ethernet เทานั้น ซึ่งโปรโตคอลของ Ethernet นี้ จะอยูใน  มาตรฐานของ IEEE 802.3 โดยไดรับการออกแบบโดย Xerox ในป 1970 เปนเทคโนโลยีในการรับสงขอมูล ดวยความเร็ว 10 Mbps แตในในปจจุบันนีไดมีเทคโนโลยีความเร็วที่เพิมขึ้น ซึ่งเรียกวา Fast Ethernet และ ้ ่ Gigabit Ethernet ดังนี้ ETHERNET อัตราความเร็ว 100 อัตราความเร็ว 1000 อัตราความเร็ว 10 Mbps อัตราความเร็ว 10 Gbps Mbps Mbps ซึ่งเรียกวา Gigabit บางทีจะเรียกวา ......... ซึ่งเรียกวา Fast Ethernet ซึ่งเรืยกวา Gigabit Ethernet system ตาม ตามมาตรฐาน IEEE system ตามมาตรฐาน Ethernet system ตาม มาตรฐาน IEEE 802.3 IEEE 802.3u มาตรฐาน IEEE 802.3ae 802.3z/802.3ab ซึ่งเทคโนโลยีความเร็วดังทีกลาวมานี้ จะตั้งอยูบนมาตรฐาน ของ Ethernet แบบเดียวกัน คือ สายที่ ่ สามารถใชได ก็จะเปนพวกสาย โคแอคเชียล ( Coaxial Cable ) สายแบบ เกลียวคู ( Twisted Pair Cable - UTP ) และสายแบบ ใยแกวนําแสง ( Fiber Optic Cable ) สวนโทโปโลยี ที่ใชกจะอยูใน ็ รูปแบบของ BUS กับ Ring เสียเปนสวนใหญ จากระบบเครือขายแบบ Ethernet ที่กลาวมาทั้งหมด จะมีจุดสําคัญอยูที่ ไดนําเอาคุณสมบัติดังที่กลาว มา มาใช มาเชือมตอใหอยูในรูปแบบ ที่ตองการใชตามมาตรฐานของ Ethernet ซึ่งจะมีมาตรฐานการ ่  เชื่อมตออยูดวยกันหลายแบบ มาตรฐานในการเชื่อมตอ อยางเชน 10base2 , 10base5 , 10baseT ,  10baseFL , 100baseTX , 100baseT4 และ 100baseFX ซึ่งมาตรฐานรูปแบบนี้ จะขึ้นอยูกบ ความเร็ว ั ในการรับสงขอมูล อุปกรณที่ใช และ ระยะทางที่สามารถสงได อยางเชน 10base2 เปนมาตรฐานที่ ใชความเร็ว 10 Mbps ใชสายแบบ Coaxial แบบบางหรือ เรียกวา thin Ethernet รูปแบบการเชื่อมตอ (Topology) เปนแบบ BUS ระยะทางในการรับสงขอมูลประมาณ 185-200 เมตร เปนตน ETHERNET มาตรฐาน อัตราความเร็ว ระยะความยาว Topolo การ การรับสง ในการรับสง gy สายที่ใช Cable ชื่อเรียก เชื่อมตอ ขอมูล ขอมูล ที่ใช 10base2 10 Mbps 185 - 200 เมตร BUS Thin Coaxial Thin Ethernet หรือ
  • 11. Cheapernet 10base5 10 Mbps 500 เมตร Thick Coaxial Thick Ethernet Twisted Pair 10baseT 10 Mbps 100 เมตร STAR (UTP) 10baseF 10 Mbps 2000 เมตร Fiber Optic Twisted Pair 100baseT 100 Mbps ......... เมตร Fast Ethernet (UTP) อินเตอรเนตคืออะไร อินเตอรเนต (Internet) คือ เครือ ขายคอม พิวเตอร ขนาดยักษ ที่เชื่อม ตอกัน ทั่วโลก โดยมี มาตรฐาน การ รับสง ขอมูล ระหวาง กันเปน หนึ่ง เดียว ซึ่ง คอมพิวเตอร แตละ เครื่อง สามารถ รับสง ขอมูล ใน รูป แบบตาง ๆ ได หลาย รูปแบบ เชน ตัวอักษร,ภาพกราฟก และ เสียงได รวมทั้ง สามารถ คนหาขอมูล จากที่ตาง ๆ ไดอยาง รวดเร็ว ที่มา : www.yala.ac.th/subject/network.doc