SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
เรื่อง อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย
โดย
นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท
นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ
นางสาวนุชรี ขาวขํา
โรงเรียนสตรีนนทบุรี
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 3
รายงานฉบับนี้เปนสวนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 62 ปการศึกษา 2555
วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555
เรื่อง อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย
โดย
1 นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท
2 นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ
3 นางสาวนุชรี ขาวขํา
โรงเรียนสตรีนนทบุรี
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 3
ครูที่ปรึกษา
คุณครูประพจน หมนพันธุ
คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ
ครูที่ปรึกษาพิเศษ
คุณครูครูณัฐพงศ ปาละนันท
คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน
คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร
ชื่อโครงงาน อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย
ชื่อผูทําโครงงาน นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท
นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ
นางสาวนุชรี ขาวขํา
โรงเรียนสตรีนนทบุรี อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
ครูที่ปรึกษา คุณครูประพจน หมนพันธุ
คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ
ครูที่ปรึกษาพิเศษ คุณครูณัฐพงศ ปาละนันท
คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน
คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร
บทคัดยอ
ในปพุทธศักราช 2558 สมาคมอาเซียนจะกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประเทศไทยถือเปนหนึ่งในประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนั้นเราจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเตรียมตัว
ใหพรอมและปรับตัวกับการกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนดวย แตคนไทยยังไมมีความ
กระตือรือรน และยังไมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอาเซียน ถึงแมจะมีสื่อที่ใหความรูเกี่ยวกับอาเซียน
ซึ่งสื่อเหลานั้นยังไมคอยมีความนาสนใจ โดยสวนใหญเปนไฟลที่ใหผูศึกษาอานเอง คณะผูจัดทํา
จึงเกิดแนวคิดวาการใชมัลติมีเดีย ในการทําใหผูศึกษาสามารถเรียนรูเนื้อหาขอมูลของอาเซียน
ไดเปนอยางดี เพราะมัลติมีเดียเปนสื่อประสมที่นําสื่อหลายๆ ประเภทมาใชรวมกัน ทําใหเนื้อหา
ของอาเซียนมีความนาสนใจเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นสื่อมัลติมีเดียจะชวยใหเกิดความหลากหลาย นาสนใจ
และเพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรูเนื้อหามากขึ้นดวย โดยการใชโปรแกรม Adobe Captivate
เปนโปรแกรมหลักในการสรางสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบไฟลสาธารณะ และมีการประยุกตใชโปรแกรมอื่นๆในการสรางสื่อ
ก
ไดแก Ulead VideoStudio 11, Microsoft PowerPoint 2007 , Free Video to Flash
Converter และ LetsFun FLV Converter และประเมินระดับความพึงพอใจจากนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรีจากแบบสอบถามไดในระดับดีมากและดี
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานอาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดียนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ตลอดระยะเวลาดังกลาว
คณะผูจัดทํา ขอขอบพระคุณผูอํานวยการทรงวิทย นิลเทียน ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี ที่ให
ความอนุเคราะหการสนับสนุนในดานตางๆ ตลอดโครงงาน ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษา ทั้ง 2 ทาน
คือคุณครูประพจน หมนพันธุ คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ คุณครูที่ปรึกษาพิเศษ ทั้ง 3 ทาน คือ
คุณครูณัฐพงศ ปาละนันท คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน และ คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร สําหรับ
การใหคําแนะนํา ใหกําลังใจ ใหความเมตตาชวยเหลือ และสละเวลามาชวยฝกฝนในการทําโครงงาน
ขอขอบพระคุณคุณครูชินรัตน ศิริไพบูลย ที่ใหความชวยเหลือในเรื่องของการลงเว็บไซตโรงเรียน และ
ขอขอบพระคุณ คุณครูฉันทนา จิบโคกหวาย และคุณครูสุภาพร นิธิโสภา คุณครูที่ปรึกษาระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 6/4 ที่คอยตรวจทาน ใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําโครงงาน
สุดทายนี้ คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณครอบครัว และทุกทาน ที่ใหกําลังใจ และการสนับสนุน
การทําโครงงานครั้งนี้ดวยดีเสมอมา
นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท
นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงส
นางสาวนุชรี ขาวขํา
ค
สารบัญ
หนา
บทคัดยอ ก
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญรูปภาพ ช
บทที่ 1 บทนํา
ที่มาและความสําคัญ 1
วัตถุประสงคของโครงงาน 2
นิยามศัพทเฉพาะ 3
ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน 4
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6
บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน 9
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 15
ง
สารบัญ (ตอ)
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 17
เอกสารอางอิง 19
ภาคผนวก
ก แบบประเมินความพึงพอใจ 21
ข ผลการสํารวจความรูของประชาชนทั้ง 10 ประเทศ 23
จ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
ตารางที่ 1 ผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซียนศึกษา
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี 15
ตารางที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจ 22
ฉ
สารบัญรูปภาพ
ภาพที่ หนา
ภาพที่ 1 รูป 3.1 สวนแสดงการเขียน Storyboard 10
ภาพที่ 2 รูป3.2 สวนแสดงแผนผังการทํางาน 10
ภาพที่ 3 รูป 4 สวนแสดงหนาทั้งหมดของชิ้นงานที่สรางขึ้น 11
ภาพที่ 4 รูป 4.1 สวนแสดงการนําภาพกราฟกมาใสเปนภาพพื้นหลัง 11
ภาพที่ 5 รูป 4.2 สวนแสดงการสรางหนาสําหรับลงทะเบียนเขาใชงาน 12
ภาพที่ 6 รูป 4.3 สวนแสดงการสรางหนาที่เปนเนื้อหา 12
ภาพที่ 7 รูป 4.4 สวนแสดงการสรางหนาแบบสอบถาม 13
ภาพที่ 8 รูป 4.5 สวนแสดงการสรางสรางเกม 13
ภาพที่ 9 รูป 4.6 สวนแสดงการตัดตอคลิปวิดีโอและอัดเสียงในวิดีโอ 14
ภาพที่ 10 กราฟแสดงผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอน
อาเซียนศึกษาของนักเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี 16
ภาพที่ 11 ความรูเกี่ยวกับอาเซียน เรื่อง รูจักธงอาเซียน 24
ภาพที่ 12 ความรูเกี่ยวกับอาเซียน เรื่อง รูวาอาเซียนกอตั้งเมื่อใด 24
ภาพที่ 13 คุณรูสึกวาคุณเปนประชาชนอาเซียน 25
ช
สารบัญรูปภาพ (ตอ)
ภาพที่ หนา
ภาพที่ 14 โดยทั่วไปคุณคุนเคยเกี่ยวกับอาเซียนแตไหน 25
ภาพที่ 15 อยากรูเกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆ มากแคไหน 26
ซ
บทที่ 1
บทนํา
ที่มาและความสําคัญ
การศึกษาในปจจุบันสามารถทําไดหลายทาง เชน การเรียนที่โรงเรียน การเรียนออนไลน
หรือเรียนดวยตนเอง ไดมีการนําคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอรเน็ต มาใชเปนสื่อ
ในการเรียนการสอนอยางแพรหลาย โดยเฉพาะทางอินเทอรเน็ตเปนที่นิยมมากในการสืบคนขอมูล
การติดตอสื่อสาร การเชื่อมโยงขอมูล ในดานตางๆ ถึงกัน ถือไดวาเทคโนโลยีมีความสําคัญมากตอการ
ดําเนินชีวิตของมนุษยในปจจุบัน
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงจากสมาคมอาเซียนสูประชาคมอาเซียนไดมีอิทธิพลมาก
ตอประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพราะเปนการรวมตัวกันของ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต เพื่อรวมมือกันในดานตางๆโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ แตจากผลการสํารวจความรูของ
ประชาชนทั้ง 10 ประเทศ (ของกรมอาเซียน) พบวาคนไทยมีความรูเกี่ยวกับอาเซียนอยูเปนอันดับ
สุดทายของผลการสํารวจ ซึ่งจะเห็นไดวาคนไทยยังไมมีความกระตือรือรนและยังไมมีความรู ความ
เขาใจเกี่ยวกับอาเซียน แตในปพุทธศักราช 2558 อาเซียนจะมีการทําการคากันอยางเสรีและ
เปดประเทศ ใหประชากรในอาเซียนทั้ง 10 ประเทศเดินทางเขาออกประเทศไทยและประเทศภายใน
อาเซียนไดอยางเสรี อีกทั้งยังมีการเคลื่อนยายแรงงานเสรี 8 อาชีพ ภายในอาเซียนดวย อาเซียนถือ
กําเนิดมานานแลวและประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศผูรวมกอตั้งดวย ปจจุบันอาเซียนกอตั้งมาแลว
ทั้งสิ้น 45 ป แตคนไทยยังรูจักอาเซียนไมเปนที่แพรหลาย แมวาจะมีสื่อมากมายที่ใหความรูเกี่ยวกับ
อาเซียน แตสื่อเหลานั้นยังไมคอยมีความนาสนใจ ไมดึงดูดความสนใจจากผูเรียน เชน การดาวนโหลด
ไฟลจากเว็บไซตที่ใหความรูเกี่ยวกับอาเซียน สวนใหญเปนไฟลที่ใหผูศึกษาอานเอง เชน ไฟล .pdf
.docx หรือ .ppt ซึ่งอาจทําใหผูศึกษาละเลยในเนื้อหานั้นๆไป การใชสีสันและภาพประกอบการ
อธิบายสําคัญมาก เพราะทําใหผูศึกษาเขาใจงาย เห็นภาพที่ชัดเจน และมีแรงจูงใจในการศึกษาเนื้อหา
นั้นๆ มากขึ้น หนังสือนิทานตางๆ หรือหนังสือที่ชวยเสริมสรางความรูของเด็กไดมีการใชภาพประกอบ
และมีจัดทํารูปแบบของหนังสือ ที่มีลูกเลนตางๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก ในการจัดทําสื่อเพื่อ
เสริมความรูของเด็กนั้น คณะผูจัดทําจึงไดนําหลักการใชภาพการตูนที่มีสีสันสวยงาม การใชภาพตุกตา
ที่เคลื่อนไหว การใสเสียงหรือลูกเลนตางๆ ที่สามารถโตตอบกับเด็กไดมาประกอบเนื้อหา ซึ่งจะทําให
เด็กเกิดความสนใจและเกิดการเรียนรูไดดีกวาการอานจากตัวหนังสือเพียงอยางเดียว
สื่อคอมพิวเตอรสะดวกและนําไปใชงานไดงาย Captivate เปนโปรแกรมที่ไดรับความนิยม
สูงในการใชพัฒนา e-learning การเขาใชงานเว็บไซตตางๆ ไดรับความนิยมมาก เพราะมีความสะดวก
และรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถเชื่อมตอขอมูลถึงกันไดอยางกวางขวาง คณะผูจัดทําจึงไดนําโปรมแกรม
Adobe captivate V.4 มาใชในการสรางสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษา และทําเปนไฟลสาธารณะเพื่อ
เผยแพรผลงานขึ้นสูเว็บไซตโรงเรียนสตรีนนทบุรี เพื่อชวยเสริมความรูใหกับเด็กนักเรียนระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และไดประยุกตเอาการสรางงานมัลติมิเดียเขามาใชประกอบกับเนื้อหาทําใหเด็ก
เพลิดเพลินและไดรับความรูจากเนื้อหามากขึ้น เมื่อเด็กเกิดการเรียนรูแลวก็จะนําสิ่งที่ไดเรียนรูมาไป
เลาใหกับผูปกครองฟง ทําใหผูปกครองเกิดการเรียนรูตามไปดวย
วัตถุประสงคของโครงงาน
1. เพื่อสรางงานมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบไฟลสาธารณะ
2. เพื่อประเมินระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี
จากการใชสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาโดยวัดจากแบบสอบถาม
2
นิยามศัพทเฉพาะ
Adobe Captivate เปนโปรแกรมสรางสื่อนําเสนอในรูปแบบมัลติมีเดีย สามารถสรางสื่อ
การเรียนการสอน หรือสื่อนําเสนอแบบมัลติมีเดียไดงายและสะดวกรวดเร็ว และถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อ
สนับสนุนการสรางภาพยนตรในรูปแบบ การนําเสนอขอมูลดวยสื่อมัลติมีเดีย เชน การนําเสนอผลงาน
และสามารถนําเขาไฟลจากแหลงตางๆ ได เชน ไฟลรูปภาพ JPG, BMP, GIF , MP3, WAV
Ulead VideoStudio 11 เปนโปรแกรมตัดตอวิดีโอ สามารถใสเอ็ฟเฟกตตางๆ แทรกดนตรี
ประกอบ แทรกคําบรรยาย แทรกรูปภาพ ทําไสดโชว บันทึกวีดีโอที่ตัดตอกลับลง เทป, VCD, DVD
หรือเผยแพรผลงานผานทางเว็บไซตได
มัลติมิเดีย คือ การใชคอมพิวเตอรรวมกับโปรแกรมซอฟตแวรในการสื่อความหมายโดยการ
ผสมผสานสื่อหลายชนิด เชน ขอความ กราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน
ASEAN (Association of South East Asian Nations) คือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต คือ องคกรทางภูมิรัฐศาสตรและองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว
มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส ไทย เวียดนาม และสิงคโปร
โปรแกรมแปลงไฟลวีดิโอ Free Video to Flash Converter เปนโปรแกรมที่ใชแปลงไฟล
วิดีโอสกุลไฟลตางๆ ใหเปนสกุล .FLV เพื่อใชงานในโปรแกรมแฟลช หรือเว็บไซต
3
โปรแกรมแปลงไฟลเสียง LetsFun FLV Converter เปนโปรแกรมที่ใชแปลงไฟล Flash
Video (FLV) ใหอยูในรูปของไฟล AVI ,MP4, 3GP, AVI, WMV,MOV
ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน
1. โปรแกรมที่นํามาใชสรางมัลติมีเดียอาเซียนศึกษา คือ Adobe captivate V.4, , Ulead
VideoStudio 11, Free Video to Flash Converter , LetsFun FLV Converter และ
Microsoft PowerPoint
2. กลุมตัวอยางที่ใช คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน
ทําการเลือกกลุมตัวอยาง โดยใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางแบบแบงชั้นและคํานวณหาสัดสวนของกลุม
ตัวอยาง ดังนี้
เมื่อ n = ขนาดของกลุมตัวอยางที่ใช
N = จํานวนประชากรทั้งหมด
e = ความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหเกิดขึ้น (=0.05)
สูตรยามาเนะซึ่งเปนสูตรที่ไดรับความนิยมมากในการเลือกจํานวนประชากรที่ตองการ
4
วิธีคิด
จากจํานวนเด็กมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 450 คน
n = 450/1+450(0.0025)
n = 450/2.125
n = 211
จากนั้นคิดแบบแบงชั้นและคํานวณหาสัดสวนของกลุมตัวอยาง 2 ครั้ง คือ
211 x (50/100) = 105 คน
105 x (50/100) = 52
จึงไดกลุมตัวอยางทั้งหมด 52 คน
3. เผยแพรผลงานผานทาง www.satrinon.ac.th
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ไดงานมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาเพื่อเสริมความรูเรื่องอาเซียนใหกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่
1
โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบเว็บไซตมัลติมิเดีย
2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี มีความพึงพอใจจากการไดใชสื่อการ
สอนอาเซียนศึกษา
5
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
สถาบันการศึกษาเสริมขอมูลอาเซียน
อดีตรองนายกรัฐมนตรีและอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เรียกรองให
สถาบันการศึกษา พัฒนาองคความรูเกี่ยวกับอาเซียนอยางจริงจัง เพื่อสงเสริมคนไทยใหเขาใจ
อาเซียนมากขึ้นหลังจากที่มีผลการสํารวจวา คนไทยรูจักอาเซียนนอยมาก ระบุวาปญหาใหญของคน
ไทย คือ ยังไมรูสึกวา ตนเอง เปนสวนหนึ่งของอาเซียน สะทอนไดจากผลการสํารวจทัศนคติของ
ประชาชนในอาเซียน ที่พบวา คนไทยตระหนักถึงอาเซียนนอยมาก และติดอันดับสุดทายในหลาย
คําถาม ปญหานี้ตองเรงแกไข ดวยการสงเสริมความรูความเขาใจ ผานสื่อประเภทตาง ๆ
ไมปลอยใหอาเซียนเปนเรื่องของนโยบายหรือ เรื่องของผูใหญ กลุมนิเทศติดตามและประเมินผล
การจัดการศึกษาสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 2
ประเทศไทยรูเรื่องอาเซียนนอยมากเปนลําดับที่ 8 ของอาเซียน จากทั้งหมด 10
ประเทศ ประเทศลาวมีความรูเรื่องอาเซียนมากที่สุด อาเซียน มีความสําคัญตอเราในระดับเยาวชน
คือ มันไมใชเรื่องไกลตัวอีกตอไป การเตรียมความพรอมเขาสูอาเซียนไมใชเรื่องของผูใหญ หรือเปน
หนาที่ของรัฐบาลเทานั้น เยาวชนทุกคนเปนกําลังของชาติ เด็กเพียงคนเดียวก็สามารถชวยประเทศได
ยิ่งหลายๆ คนรวมมือกันประเทศไทยก็จะยิ่งพัฒนา "แสดงใหเห็นวาเราก็เปนสวนหนึ่งของประชาคม
อาเซียน แมจะไมไดเปนผูปลูกตนไมตนนี้เอง แตเราคือผูประคับประคองใหตนไมที่ชื่อวา "อาเซียน"
เติบโตและสามารถสรางผลสรางประโยชนใหแกเราในอนาคตได"
พัฒนาการเด็กวัย 6-12 ป และผลกระทบของสื่อที่สงผลตอเด็กในวัยเรียน
สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
ชวงอายุของเด็กในวัยเรียน 6-12 ป นั้นถือเปนชวงสําคัญของเด็กในการเรียนรูทักษะชีวิต
และพัฒนาการตางๆทางดานสติปญญา (higher cognitive functions) เปนชวงที่การทํางานของ
สมองมีการพัฒนาอยางรวดเร็วและเต็มที่ เด็กอายุ 11-12 ป เด็กวัยนี้จะมีเพื่อนวัยเดียวกัน มีการเลน
เปนกลุม บางคนจะเริ่มสนใจกีฬาที่เลนเปนทีม งานอดิเรก หนังสือการตูน จะมีลักษณะเปนคนที่
เปลี่ยนแปลงไดงาย ๆ อาจกลายเปนคนเจาอารมณ และชอบการวิพากษวิจารณ จะเห็นวาความ
คิดเห็นของกลุมเพื่อนมีความสําคัญมากกวาความคิดเห็นของผูใหญ และจะมีความกังวล เริ่มเอาใจใส
การเปลี่ยนแปลงของรางกาย ตองการใหผูอื่นเขาใจและยอมรับในการเปลี่ยนแปลงของตนดวย
ผลกระทบของสื่อตอพัฒนาการดานมิติสัมพันธสถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ
ครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
รูปแบบของอุปกรณ multimedia ตางๆในปจจุบันถูกออกแบบใหมีการประสาทสัมผัสตางๆ
พรอมกัน ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร วีดีโอเกมสใหมๆที่ชวยฝกทักษะการเชื่องโยงของการใชประสาท
สัมผัส และการเคลื่อนไหวใหกับเด็กได เชน เกมสเตน เกมสเครื่องดนตรีในแบบตางๆ (กลอง กีตาร
คียบอรด) ซึ่งการเลนเกมสประเภทนี้เอื้อใหเกิดพัฒนาการดานมิติสัมพันธ และถือวาเปนกิจกรรมที่ใช
เพื่อความบันเทิง ผอนคลายสําหรับเด็กได
จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางสื่อการเรียนการสอน
ถนอมพร เลาหจรัสแสง ไดกลาวถึงจิตวิทยาที่สงผลตอการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอน คือ
แนวคิดทางจิตวิทยาพุทธิพิสัย เปนแนวคิดสําคัญซึ่งสงผลตอการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวย
สอน ดังนั้น ผูสนใจสรางคอมพิวเตอรชวยสอนทุกทานควรที่จะศึกษาและนํามาประยุกตใชในการ
ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพื่อใหไดมาซึ่งคอมพิวเตอรชวยสอนที่มีคุณภาพ
7
Graphic User Interface (GUI)
คือการออกแบบและจัดวาง องคประกอบตางๆ ในโปรแกรม หรือสื่อปฎิสัมพันธที่สามารถ
แสดงผล ในหนาจอคอมพิวเตอร ทั้งนี้การออกแบบดังกลาว จะตองสามารถ สื่อสาร และปฎิสัมพันธ
โตตอบระหวางตัวสื่อเองกับผูใชไดอยางหมาะสม
การออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ธัญลักษณ จันทรแกว กลาวไววา เนื่องจากการจัดทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนการ
นําเสนอผานคอมพิวเตอร ดังนั้นการจัดรูปแบบการนําเสนอที่สมดุลกันขององคประกอบตาง ๆ บน
จอภาพ เพื่อดึงดูดความสนใจ จึงเปนประเด็นสําคัญ เพราะถาเนื้อหาถึงจะดีเพียงใดก็ตาม หาก
หนาจอสวยงาม หรือไมดึงดูด อานยาก ก็สงผลตอการใชโปรแกรมได คุณคาของสื่อก็จะลดลงดวย
การออกแบบหนาจอของบทเรียน ตองอาศัยความรูพื้นฐานในการออกแบบเพื่อวางองคประกอบตางๆ
ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหนาสนใจ องคประกอบเหลานี้ ไดแก การเลือกใชตัวอักษรที่มี
รูปแบบสวยงามแปลกตา จะชวยดึงดูดความสนใจไดดี ในสวนหัวขอ ควรเลือกหรือออกแบบตัวอักษร
ใหกลมกลืนกับเนื้อหา การออกแบบพื้นหลังควรใชรูปแบบเดียวกัน ไมควรใชสีพื้นสลับไปสลับมาในแต
ละเฟรมเนื้อหา เพื่อความตอเนื่องของการเสนอบทเรียน การเลือกใชภาพประกอบ จะทําใหผูเรียน
เขาใจเนื้อหางายขึ้น และมีความคงทนในการจําไดดีกวาการใชคําอธิบายเพียงอยางเดียว ปุมควบคุม
การเรียนในบทเรียนควรออกแบบใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งบทเรียน และใหเขาใจไดงาย อาจ
ออกแบบเปนรูปสัญลักษณ มีขอความกํากับเพิ่มอยูดวยเพื่อความชัดเจนในการสื่อสาร หรือเปน
ขอความเชื่อมโยงที่มีขนาดมองเห็นชัดเจน
8
บทที่ 3
วิธีการดําเนินงาน
เครื่องมือ และ วัสดุอุปกรณ
1. คอมพิวเตอร
2. ไมโครโฟน
3. โปรแกรม Adobe Captivate 4
4. หนังสือพัฒนาสื่อการสอนดวย Adobe Captivate 4
5. โปรแกรม Ulead VideoStudio 11
6. โปรแกรม Free Video to Flash Converter
7. โปรแกรมแปลงไฟลเสียง LetsFun FLV Converter
8. โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007
ขั้นตอนในการดําเนินงาน
1. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับอาเซียนและสรุปเนื้อหาสําคัญ
2. ศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมใชงาน
3. ออกแบบสื่อมัลติมิเดียโดยการเขียน Storyboard และแผนผังการทํางาน ดังรูป 3.1 และ 3.2
รูป 3.1 สวนแสดงการเขียน Storyboard
รูป 3.2 สวนแสดงแผนผังการทํางาน
10
4. สรางชิ้นงานมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาดวยโปรแกรม Adobe Captivate 4
รูป 4 สวนแสดงหนาทั้งหมดของชิ้นงานที่สรางขึ้น
4.1 นําไฟลภาพกราฟกใสในงานเพื่อสรางเปนภาพพื้นหลัง
รูป 4.1 สวนแสดงการนําภาพกราฟกมาใสเปนภาพพื้นหลัง
11
4.2 สรางหนาสําหรับลงทะเบียนเขาใชงาน
รูป 4.2 สวนแสดงการสรางหนาสําหรับลงทะเบียนเขาใชงาน
4.3 สรางหนาที่เปนเนื้อหา
รูป 4.3 สวนแสดงการสรางหนาที่เปนเนื้อหา
12
4.4 สรางหนาแบบสอบถามโดยใช Short Answer และ Matching Question
รูป 4.4 สวนแสดงการสรางหนาแบบสอบถาม
4.5 สรางเกมจากโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007
รูป 4.5 สวนแสดงการสรางสรางเกม
13
4.6 ตัดตอคลิปวิดีโอและอัดเสียงในวิดีโอ โดยใชโปรแกรม Ulead Video Studio V.11
รูป 4.6 สวนแสดงการตัดตอคลิปวิดีโอและอัดเสียงในวิดีโอ
5. ตรวจสอบความผิดพลาดและทดลองใชงานชิ้นงานที่สรางขึ้น
6. จัดทําแบบสอบถามเพื่อวัดระดับความพึงพอใจของกลุมตัวอยาง
7. ใหกลุมตัวอยางทดลองใชงานจากสื่อที่สรางขึ้น และทําแบบสอบถาม
8. รวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม และสรุปผลระดับความพึงพอใจของกลุมตัวอยาง
9. อัพโหลดผลงานขึ้นสูเว็บไซต www.satrinon.ac.th
14
บทที่ 4
ผลการดําเนินงาน
ผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซียนศึกษาของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน ไดผลการดําเนินงานดังนี้
หัวขอ ดีมาก
(คน)
ดี
(คน)
พอใช
(คน)
คอนขาง
แย
(คน)
ปรับปรุง
(คน)
1. ความเหมาะสมของเนื้อหา 33 19 - - -
2. ความนาสนใจของเนื้อหา 34 18 - - -
3. ความสวยงามของสื่อ 44 4 4 - -
4. ความเพลิดเพลิน 36 11 5 - -
5. ความเหมาะสมของ
ระยะเวลา
ในการใชสื่อ
21 28 3 - -
6. ความเหมาะสมในการจัด
หมวดหมูของขอมูลภายในสื่อ
29 19 4 - -
7. เมนูงายตอการใชงาน 32 17 3 - -
8. การโตตอบระหวางสื่อกับ
ผูรับชมสื่อ
20 23 9 - -
9. ความรูที่ไดรับ 32 15 5 - -
10. ภาพรวมของสื่อ 39 13 - - -
กราฟแสดงผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซียนศึกษาของนักเรียน
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน
16
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ
สรุปผล
การสํารวจความพึงพอใจของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี
จํานวน 52 คน ที่มีตอสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษา มี 10 รายการ คือ
1 ความเหมาะสมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 63.46
2. ความนาสนใจของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 65.38
3. ความสวยงามของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 84.62
4. ความเพลิดเพลิน มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 69.23
5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการใชสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 53.85
6. ความเหมาะสมในการจัดหมวดหมูของขอมูลภายในสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิด
เปนรอยละ 55.77
7. เมนูงายตอการใชงาน มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 61.54
8. การโตตอบระหวางสื่อกับผูรับชมสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 44.23
9. ความรูที่ไดรับ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 61.54
10. ภาพรวมของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 75.00
อภิปรายผล
กลุมตัวอยางมีระดับความพึงพอใจในสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาอยูในระดับดีมากและดี
เนื่องจากกลุมตัวอยางมีความเขาใจในเนื้อหาและมีความสนใจในสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาแตใน
บางสวนซึ่งไดแก การโตตอบของสื่อ ระยะเวลาของสื่อ ซึ่งอาจทําใหกลุมตัวอยางรูสึกวาสื่อนั้นมี
ระยะเวลามากเกินไป ซึ่งอาจทําใหนักเรียนรูสึกมีความสนใจลดลงหลังการใชสื่อเปนเวลานาน
ขอเสนอแนะ
1. ควรจัดหมวดหมูใหเปนระบบมากขึ้น
2. ระยะเวลาของสื่อควรนอยลง
18
เอกสารอางอิง
Adobe captivate.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://guru.google.co.th/ (24 กุมภาพันธ 2555)
ASEAN.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://th.wikipedia.org/wiki (7 มกราคม 2555)
MULTIMEDIA GRAPHIC USER INTERFACE .[ออนไลน]. สืบคนจาก :
http://commarts.hcu.ac.th/images/academic_article/mod/puchong_interface.pdf
(11 กรกฎาคม 2555)
งานวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการอานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1
ที่ไดรับการสอนแบบมุงประสบการณภาษา โดยใชหนังสือเรียนที่มีภาพประกอบเปนเหมือนภาพ
โดยใชหนังสือเรียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://www.happyreading.in.th
(4 สิงหาคม 2555)
จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางสื่อการเรียนการสอน.[ออนไลน]. สืบคนจาก :
http://krufonclass2.blogspot.com/p/blog-page_10.html (2 มีนาคม 2555)
ผลกระทบของสื่อตอพัฒนาการดานมิติสัมพันธ.[ออนไลน]. สืบคนจาก :
http://www.gotoknow.org/blogs/posts/305033 (2 มีนาคม 2555)
พัฒนาการเด็กวัย 6-12 ป และผลกระทบของสื่อที่สงผลตอเด็กในวัยเรียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก :
http://www.gotoknow.org/blogs/posts/305033 (2 มีนาคม 2555)
ไมปลอยใหอาเซียนเปนเรื่องของนโยบายหรือเรื่องของผูใหญ.[ออนไลน]. สืบคนจาก :
http://www.niteskan2.in.th (2 มีนาคม 2555)
สถาบันการศึกษาเสริมขอมูลอาเซียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://news.voicetv.co.th
(2 มีนาคม 2555)
อภิชัย เรืองศิริปยะกุล. พัฒนาสื่อการสอนดวย Adobe Captivate4. บริษัท วี.พริ้นท (1991)
จํากัด : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน), 2553
ภาคผนวก ก
แบบประเมินความพึงพอใจ
หัวขอ ดีมาก ดี พอใช คอนขาง
แย
ปรับปรุง
1. ความเหมาะสมของเนื้อหา
2. ความนาสนใจของเนื้อหา
3. ความสวยงามของสื่อ
4. ความเพลิดเพลิน
5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการใชสื่อ
6. ความเหมาะสมในการจัดหมวดหมูของขอมูล
ภายในสื่อ
7. เมนูงายตอการใชงาน
8. การโตตอบระหวางสื่อกับผูรับชมสื่อ
9. ความรูที่ไดรับ
10. ภาพรวมของสื่อ
2
ความคิดเห็น
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
ภาคผนวก ข
ผลการสํารวจความรูของประชาชนทั้ง 10 ประเทศ
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย

More Related Content

What's hot

โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
Yok Sarinee
 

What's hot (6)

โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 

Viewers also liked

55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
soawaphat
 

Viewers also liked (7)

แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 

Similar to 9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย

แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
chaimate
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
patitadarakorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
Narumon Boonjareun
 
03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้
03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้
03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้
Smo Tara
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
sinarack
 

Similar to 9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย (20)

7 1-1-ex-ppt
7 1-1-ex-ppt7 1-1-ex-ppt
7 1-1-ex-ppt
 
We Will Go to The Zoo
We Will Go to The ZooWe Will Go to The Zoo
We Will Go to The Zoo
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
Computer Project ACR
Computer Project ACR Computer Project ACR
Computer Project ACR
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล
 
Computer present
Computer presentComputer present
Computer present
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
 
ปก
ปกปก
ปก
 
03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้
03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้
03 ใบความรู้ที่1.3-social media-การจัดการเรียนรู้
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ภาคฤดูร้อน
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ภาคฤดูร้อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ภาคฤดูร้อน
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ภาคฤดูร้อน
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 

More from patmalya

More from patmalya (20)

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
 
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
 
7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ
 
7 1-1-i know you know asean
7 1-1-i know you know asean7 1-1-i know you know asean
7 1-1-i know you know asean
 

9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย

  • 1. เรื่อง อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย โดย นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ นางสาวนุชรี ขาวขํา โรงเรียนสตรีนนทบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 3 รายงานฉบับนี้เปนสวนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 62 ปการศึกษา 2555 วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555
  • 2.
  • 3. เรื่อง อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย โดย 1 นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท 2 นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ 3 นางสาวนุชรี ขาวขํา โรงเรียนสตรีนนทบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 3 ครูที่ปรึกษา คุณครูประพจน หมนพันธุ คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ ครูที่ปรึกษาพิเศษ คุณครูครูณัฐพงศ ปาละนันท คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร
  • 4. ชื่อโครงงาน อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย ชื่อผูทําโครงงาน นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ นางสาวนุชรี ขาวขํา โรงเรียนสตรีนนทบุรี อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ครูที่ปรึกษา คุณครูประพจน หมนพันธุ คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ ครูที่ปรึกษาพิเศษ คุณครูณัฐพงศ ปาละนันท คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร บทคัดยอ ในปพุทธศักราช 2558 สมาคมอาเซียนจะกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศไทยถือเปนหนึ่งในประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนั้นเราจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเตรียมตัว ใหพรอมและปรับตัวกับการกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนดวย แตคนไทยยังไมมีความ กระตือรือรน และยังไมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอาเซียน ถึงแมจะมีสื่อที่ใหความรูเกี่ยวกับอาเซียน ซึ่งสื่อเหลานั้นยังไมคอยมีความนาสนใจ โดยสวนใหญเปนไฟลที่ใหผูศึกษาอานเอง คณะผูจัดทํา จึงเกิดแนวคิดวาการใชมัลติมีเดีย ในการทําใหผูศึกษาสามารถเรียนรูเนื้อหาขอมูลของอาเซียน ไดเปนอยางดี เพราะมัลติมีเดียเปนสื่อประสมที่นําสื่อหลายๆ ประเภทมาใชรวมกัน ทําใหเนื้อหา ของอาเซียนมีความนาสนใจเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นสื่อมัลติมีเดียจะชวยใหเกิดความหลากหลาย นาสนใจ และเพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรูเนื้อหามากขึ้นดวย โดยการใชโปรแกรม Adobe Captivate เปนโปรแกรมหลักในการสรางสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบไฟลสาธารณะ และมีการประยุกตใชโปรแกรมอื่นๆในการสรางสื่อ ก
  • 5. ไดแก Ulead VideoStudio 11, Microsoft PowerPoint 2007 , Free Video to Flash Converter และ LetsFun FLV Converter และประเมินระดับความพึงพอใจจากนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรีจากแบบสอบถามไดในระดับดีมากและดี ข
  • 6. กิตติกรรมประกาศ โครงงานอาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดียนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ตลอดระยะเวลาดังกลาว คณะผูจัดทํา ขอขอบพระคุณผูอํานวยการทรงวิทย นิลเทียน ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี ที่ให ความอนุเคราะหการสนับสนุนในดานตางๆ ตลอดโครงงาน ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษา ทั้ง 2 ทาน คือคุณครูประพจน หมนพันธุ คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ คุณครูที่ปรึกษาพิเศษ ทั้ง 3 ทาน คือ คุณครูณัฐพงศ ปาละนันท คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน และ คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร สําหรับ การใหคําแนะนํา ใหกําลังใจ ใหความเมตตาชวยเหลือ และสละเวลามาชวยฝกฝนในการทําโครงงาน ขอขอบพระคุณคุณครูชินรัตน ศิริไพบูลย ที่ใหความชวยเหลือในเรื่องของการลงเว็บไซตโรงเรียน และ ขอขอบพระคุณ คุณครูฉันทนา จิบโคกหวาย และคุณครูสุภาพร นิธิโสภา คุณครูที่ปรึกษาระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6/4 ที่คอยตรวจทาน ใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําโครงงาน สุดทายนี้ คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณครอบครัว และทุกทาน ที่ใหกําลังใจ และการสนับสนุน การทําโครงงานครั้งนี้ดวยดีเสมอมา นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงส นางสาวนุชรี ขาวขํา ค
  • 7. สารบัญ หนา บทคัดยอ ก กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญตาราง ฉ สารบัญรูปภาพ ช บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ 1 วัตถุประสงคของโครงงาน 2 นิยามศัพทเฉพาะ 3 ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6 บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน 9 บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 15 ง
  • 8. สารบัญ (ตอ) บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 17 เอกสารอางอิง 19 ภาคผนวก ก แบบประเมินความพึงพอใจ 21 ข ผลการสํารวจความรูของประชาชนทั้ง 10 ประเทศ 23 จ
  • 9. สารบัญตาราง ตารางที่ หนา ตารางที่ 1 ผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซียนศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี 15 ตารางที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจ 22 ฉ
  • 10. สารบัญรูปภาพ ภาพที่ หนา ภาพที่ 1 รูป 3.1 สวนแสดงการเขียน Storyboard 10 ภาพที่ 2 รูป3.2 สวนแสดงแผนผังการทํางาน 10 ภาพที่ 3 รูป 4 สวนแสดงหนาทั้งหมดของชิ้นงานที่สรางขึ้น 11 ภาพที่ 4 รูป 4.1 สวนแสดงการนําภาพกราฟกมาใสเปนภาพพื้นหลัง 11 ภาพที่ 5 รูป 4.2 สวนแสดงการสรางหนาสําหรับลงทะเบียนเขาใชงาน 12 ภาพที่ 6 รูป 4.3 สวนแสดงการสรางหนาที่เปนเนื้อหา 12 ภาพที่ 7 รูป 4.4 สวนแสดงการสรางหนาแบบสอบถาม 13 ภาพที่ 8 รูป 4.5 สวนแสดงการสรางสรางเกม 13 ภาพที่ 9 รูป 4.6 สวนแสดงการตัดตอคลิปวิดีโอและอัดเสียงในวิดีโอ 14 ภาพที่ 10 กราฟแสดงผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอน อาเซียนศึกษาของนักเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี 16 ภาพที่ 11 ความรูเกี่ยวกับอาเซียน เรื่อง รูจักธงอาเซียน 24 ภาพที่ 12 ความรูเกี่ยวกับอาเซียน เรื่อง รูวาอาเซียนกอตั้งเมื่อใด 24 ภาพที่ 13 คุณรูสึกวาคุณเปนประชาชนอาเซียน 25 ช
  • 11. สารบัญรูปภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา ภาพที่ 14 โดยทั่วไปคุณคุนเคยเกี่ยวกับอาเซียนแตไหน 25 ภาพที่ 15 อยากรูเกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆ มากแคไหน 26 ซ
  • 12. บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ การศึกษาในปจจุบันสามารถทําไดหลายทาง เชน การเรียนที่โรงเรียน การเรียนออนไลน หรือเรียนดวยตนเอง ไดมีการนําคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอรเน็ต มาใชเปนสื่อ ในการเรียนการสอนอยางแพรหลาย โดยเฉพาะทางอินเทอรเน็ตเปนที่นิยมมากในการสืบคนขอมูล การติดตอสื่อสาร การเชื่อมโยงขอมูล ในดานตางๆ ถึงกัน ถือไดวาเทคโนโลยีมีความสําคัญมากตอการ ดําเนินชีวิตของมนุษยในปจจุบัน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงจากสมาคมอาเซียนสูประชาคมอาเซียนไดมีอิทธิพลมาก ตอประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพราะเปนการรวมตัวกันของ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต เพื่อรวมมือกันในดานตางๆโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ แตจากผลการสํารวจความรูของ ประชาชนทั้ง 10 ประเทศ (ของกรมอาเซียน) พบวาคนไทยมีความรูเกี่ยวกับอาเซียนอยูเปนอันดับ สุดทายของผลการสํารวจ ซึ่งจะเห็นไดวาคนไทยยังไมมีความกระตือรือรนและยังไมมีความรู ความ เขาใจเกี่ยวกับอาเซียน แตในปพุทธศักราช 2558 อาเซียนจะมีการทําการคากันอยางเสรีและ เปดประเทศ ใหประชากรในอาเซียนทั้ง 10 ประเทศเดินทางเขาออกประเทศไทยและประเทศภายใน อาเซียนไดอยางเสรี อีกทั้งยังมีการเคลื่อนยายแรงงานเสรี 8 อาชีพ ภายในอาเซียนดวย อาเซียนถือ กําเนิดมานานแลวและประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศผูรวมกอตั้งดวย ปจจุบันอาเซียนกอตั้งมาแลว ทั้งสิ้น 45 ป แตคนไทยยังรูจักอาเซียนไมเปนที่แพรหลาย แมวาจะมีสื่อมากมายที่ใหความรูเกี่ยวกับ อาเซียน แตสื่อเหลานั้นยังไมคอยมีความนาสนใจ ไมดึงดูดความสนใจจากผูเรียน เชน การดาวนโหลด ไฟลจากเว็บไซตที่ใหความรูเกี่ยวกับอาเซียน สวนใหญเปนไฟลที่ใหผูศึกษาอานเอง เชน ไฟล .pdf
  • 13. .docx หรือ .ppt ซึ่งอาจทําใหผูศึกษาละเลยในเนื้อหานั้นๆไป การใชสีสันและภาพประกอบการ อธิบายสําคัญมาก เพราะทําใหผูศึกษาเขาใจงาย เห็นภาพที่ชัดเจน และมีแรงจูงใจในการศึกษาเนื้อหา นั้นๆ มากขึ้น หนังสือนิทานตางๆ หรือหนังสือที่ชวยเสริมสรางความรูของเด็กไดมีการใชภาพประกอบ และมีจัดทํารูปแบบของหนังสือ ที่มีลูกเลนตางๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก ในการจัดทําสื่อเพื่อ เสริมความรูของเด็กนั้น คณะผูจัดทําจึงไดนําหลักการใชภาพการตูนที่มีสีสันสวยงาม การใชภาพตุกตา ที่เคลื่อนไหว การใสเสียงหรือลูกเลนตางๆ ที่สามารถโตตอบกับเด็กไดมาประกอบเนื้อหา ซึ่งจะทําให เด็กเกิดความสนใจและเกิดการเรียนรูไดดีกวาการอานจากตัวหนังสือเพียงอยางเดียว สื่อคอมพิวเตอรสะดวกและนําไปใชงานไดงาย Captivate เปนโปรแกรมที่ไดรับความนิยม สูงในการใชพัฒนา e-learning การเขาใชงานเว็บไซตตางๆ ไดรับความนิยมมาก เพราะมีความสะดวก และรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถเชื่อมตอขอมูลถึงกันไดอยางกวางขวาง คณะผูจัดทําจึงไดนําโปรมแกรม Adobe captivate V.4 มาใชในการสรางสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษา และทําเปนไฟลสาธารณะเพื่อ เผยแพรผลงานขึ้นสูเว็บไซตโรงเรียนสตรีนนทบุรี เพื่อชวยเสริมความรูใหกับเด็กนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และไดประยุกตเอาการสรางงานมัลติมิเดียเขามาใชประกอบกับเนื้อหาทําใหเด็ก เพลิดเพลินและไดรับความรูจากเนื้อหามากขึ้น เมื่อเด็กเกิดการเรียนรูแลวก็จะนําสิ่งที่ไดเรียนรูมาไป เลาใหกับผูปกครองฟง ทําใหผูปกครองเกิดการเรียนรูตามไปดวย วัตถุประสงคของโครงงาน 1. เพื่อสรางงานมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบไฟลสาธารณะ 2. เพื่อประเมินระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จากการใชสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาโดยวัดจากแบบสอบถาม 2
  • 14. นิยามศัพทเฉพาะ Adobe Captivate เปนโปรแกรมสรางสื่อนําเสนอในรูปแบบมัลติมีเดีย สามารถสรางสื่อ การเรียนการสอน หรือสื่อนําเสนอแบบมัลติมีเดียไดงายและสะดวกรวดเร็ว และถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อ สนับสนุนการสรางภาพยนตรในรูปแบบ การนําเสนอขอมูลดวยสื่อมัลติมีเดีย เชน การนําเสนอผลงาน และสามารถนําเขาไฟลจากแหลงตางๆ ได เชน ไฟลรูปภาพ JPG, BMP, GIF , MP3, WAV Ulead VideoStudio 11 เปนโปรแกรมตัดตอวิดีโอ สามารถใสเอ็ฟเฟกตตางๆ แทรกดนตรี ประกอบ แทรกคําบรรยาย แทรกรูปภาพ ทําไสดโชว บันทึกวีดีโอที่ตัดตอกลับลง เทป, VCD, DVD หรือเผยแพรผลงานผานทางเว็บไซตได มัลติมิเดีย คือ การใชคอมพิวเตอรรวมกับโปรแกรมซอฟตแวรในการสื่อความหมายโดยการ ผสมผสานสื่อหลายชนิด เชน ขอความ กราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน ASEAN (Association of South East Asian Nations) คือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต คือ องคกรทางภูมิรัฐศาสตรและองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส ไทย เวียดนาม และสิงคโปร โปรแกรมแปลงไฟลวีดิโอ Free Video to Flash Converter เปนโปรแกรมที่ใชแปลงไฟล วิดีโอสกุลไฟลตางๆ ใหเปนสกุล .FLV เพื่อใชงานในโปรแกรมแฟลช หรือเว็บไซต 3
  • 15. โปรแกรมแปลงไฟลเสียง LetsFun FLV Converter เปนโปรแกรมที่ใชแปลงไฟล Flash Video (FLV) ใหอยูในรูปของไฟล AVI ,MP4, 3GP, AVI, WMV,MOV ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน 1. โปรแกรมที่นํามาใชสรางมัลติมีเดียอาเซียนศึกษา คือ Adobe captivate V.4, , Ulead VideoStudio 11, Free Video to Flash Converter , LetsFun FLV Converter และ Microsoft PowerPoint 2. กลุมตัวอยางที่ใช คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน ทําการเลือกกลุมตัวอยาง โดยใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางแบบแบงชั้นและคํานวณหาสัดสวนของกลุม ตัวอยาง ดังนี้ เมื่อ n = ขนาดของกลุมตัวอยางที่ใช N = จํานวนประชากรทั้งหมด e = ความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหเกิดขึ้น (=0.05) สูตรยามาเนะซึ่งเปนสูตรที่ไดรับความนิยมมากในการเลือกจํานวนประชากรที่ตองการ 4
  • 16. วิธีคิด จากจํานวนเด็กมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 450 คน n = 450/1+450(0.0025) n = 450/2.125 n = 211 จากนั้นคิดแบบแบงชั้นและคํานวณหาสัดสวนของกลุมตัวอยาง 2 ครั้ง คือ 211 x (50/100) = 105 คน 105 x (50/100) = 52 จึงไดกลุมตัวอยางทั้งหมด 52 คน 3. เผยแพรผลงานผานทาง www.satrinon.ac.th ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดงานมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาเพื่อเสริมความรูเรื่องอาเซียนใหกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบเว็บไซตมัลติมิเดีย 2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี มีความพึงพอใจจากการไดใชสื่อการ สอนอาเซียนศึกษา 5
  • 17. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ สถาบันการศึกษาเสริมขอมูลอาเซียน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เรียกรองให สถาบันการศึกษา พัฒนาองคความรูเกี่ยวกับอาเซียนอยางจริงจัง เพื่อสงเสริมคนไทยใหเขาใจ อาเซียนมากขึ้นหลังจากที่มีผลการสํารวจวา คนไทยรูจักอาเซียนนอยมาก ระบุวาปญหาใหญของคน ไทย คือ ยังไมรูสึกวา ตนเอง เปนสวนหนึ่งของอาเซียน สะทอนไดจากผลการสํารวจทัศนคติของ ประชาชนในอาเซียน ที่พบวา คนไทยตระหนักถึงอาเซียนนอยมาก และติดอันดับสุดทายในหลาย คําถาม ปญหานี้ตองเรงแกไข ดวยการสงเสริมความรูความเขาใจ ผานสื่อประเภทตาง ๆ ไมปลอยใหอาเซียนเปนเรื่องของนโยบายหรือ เรื่องของผูใหญ กลุมนิเทศติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษาสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 2 ประเทศไทยรูเรื่องอาเซียนนอยมากเปนลําดับที่ 8 ของอาเซียน จากทั้งหมด 10 ประเทศ ประเทศลาวมีความรูเรื่องอาเซียนมากที่สุด อาเซียน มีความสําคัญตอเราในระดับเยาวชน คือ มันไมใชเรื่องไกลตัวอีกตอไป การเตรียมความพรอมเขาสูอาเซียนไมใชเรื่องของผูใหญ หรือเปน หนาที่ของรัฐบาลเทานั้น เยาวชนทุกคนเปนกําลังของชาติ เด็กเพียงคนเดียวก็สามารถชวยประเทศได ยิ่งหลายๆ คนรวมมือกันประเทศไทยก็จะยิ่งพัฒนา "แสดงใหเห็นวาเราก็เปนสวนหนึ่งของประชาคม อาเซียน แมจะไมไดเปนผูปลูกตนไมตนนี้เอง แตเราคือผูประคับประคองใหตนไมที่ชื่อวา "อาเซียน" เติบโตและสามารถสรางผลสรางประโยชนใหแกเราในอนาคตได"
  • 18. พัฒนาการเด็กวัย 6-12 ป และผลกระทบของสื่อที่สงผลตอเด็กในวัยเรียน สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ชวงอายุของเด็กในวัยเรียน 6-12 ป นั้นถือเปนชวงสําคัญของเด็กในการเรียนรูทักษะชีวิต และพัฒนาการตางๆทางดานสติปญญา (higher cognitive functions) เปนชวงที่การทํางานของ สมองมีการพัฒนาอยางรวดเร็วและเต็มที่ เด็กอายุ 11-12 ป เด็กวัยนี้จะมีเพื่อนวัยเดียวกัน มีการเลน เปนกลุม บางคนจะเริ่มสนใจกีฬาที่เลนเปนทีม งานอดิเรก หนังสือการตูน จะมีลักษณะเปนคนที่ เปลี่ยนแปลงไดงาย ๆ อาจกลายเปนคนเจาอารมณ และชอบการวิพากษวิจารณ จะเห็นวาความ คิดเห็นของกลุมเพื่อนมีความสําคัญมากกวาความคิดเห็นของผูใหญ และจะมีความกังวล เริ่มเอาใจใส การเปลี่ยนแปลงของรางกาย ตองการใหผูอื่นเขาใจและยอมรับในการเปลี่ยนแปลงของตนดวย ผลกระทบของสื่อตอพัฒนาการดานมิติสัมพันธสถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล รูปแบบของอุปกรณ multimedia ตางๆในปจจุบันถูกออกแบบใหมีการประสาทสัมผัสตางๆ พรอมกัน ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร วีดีโอเกมสใหมๆที่ชวยฝกทักษะการเชื่องโยงของการใชประสาท สัมผัส และการเคลื่อนไหวใหกับเด็กได เชน เกมสเตน เกมสเครื่องดนตรีในแบบตางๆ (กลอง กีตาร คียบอรด) ซึ่งการเลนเกมสประเภทนี้เอื้อใหเกิดพัฒนาการดานมิติสัมพันธ และถือวาเปนกิจกรรมที่ใช เพื่อความบันเทิง ผอนคลายสําหรับเด็กได จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางสื่อการเรียนการสอน ถนอมพร เลาหจรัสแสง ไดกลาวถึงจิตวิทยาที่สงผลตอการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอน คือ แนวคิดทางจิตวิทยาพุทธิพิสัย เปนแนวคิดสําคัญซึ่งสงผลตอการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน ดังนั้น ผูสนใจสรางคอมพิวเตอรชวยสอนทุกทานควรที่จะศึกษาและนํามาประยุกตใชในการ ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพื่อใหไดมาซึ่งคอมพิวเตอรชวยสอนที่มีคุณภาพ 7
  • 19. Graphic User Interface (GUI) คือการออกแบบและจัดวาง องคประกอบตางๆ ในโปรแกรม หรือสื่อปฎิสัมพันธที่สามารถ แสดงผล ในหนาจอคอมพิวเตอร ทั้งนี้การออกแบบดังกลาว จะตองสามารถ สื่อสาร และปฎิสัมพันธ โตตอบระหวางตัวสื่อเองกับผูใชไดอยางหมาะสม การออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ธัญลักษณ จันทรแกว กลาวไววา เนื่องจากการจัดทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนการ นําเสนอผานคอมพิวเตอร ดังนั้นการจัดรูปแบบการนําเสนอที่สมดุลกันขององคประกอบตาง ๆ บน จอภาพ เพื่อดึงดูดความสนใจ จึงเปนประเด็นสําคัญ เพราะถาเนื้อหาถึงจะดีเพียงใดก็ตาม หาก หนาจอสวยงาม หรือไมดึงดูด อานยาก ก็สงผลตอการใชโปรแกรมได คุณคาของสื่อก็จะลดลงดวย การออกแบบหนาจอของบทเรียน ตองอาศัยความรูพื้นฐานในการออกแบบเพื่อวางองคประกอบตางๆ ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหนาสนใจ องคประกอบเหลานี้ ไดแก การเลือกใชตัวอักษรที่มี รูปแบบสวยงามแปลกตา จะชวยดึงดูดความสนใจไดดี ในสวนหัวขอ ควรเลือกหรือออกแบบตัวอักษร ใหกลมกลืนกับเนื้อหา การออกแบบพื้นหลังควรใชรูปแบบเดียวกัน ไมควรใชสีพื้นสลับไปสลับมาในแต ละเฟรมเนื้อหา เพื่อความตอเนื่องของการเสนอบทเรียน การเลือกใชภาพประกอบ จะทําใหผูเรียน เขาใจเนื้อหางายขึ้น และมีความคงทนในการจําไดดีกวาการใชคําอธิบายเพียงอยางเดียว ปุมควบคุม การเรียนในบทเรียนควรออกแบบใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งบทเรียน และใหเขาใจไดงาย อาจ ออกแบบเปนรูปสัญลักษณ มีขอความกํากับเพิ่มอยูดวยเพื่อความชัดเจนในการสื่อสาร หรือเปน ขอความเชื่อมโยงที่มีขนาดมองเห็นชัดเจน 8
  • 20. บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน เครื่องมือ และ วัสดุอุปกรณ 1. คอมพิวเตอร 2. ไมโครโฟน 3. โปรแกรม Adobe Captivate 4 4. หนังสือพัฒนาสื่อการสอนดวย Adobe Captivate 4 5. โปรแกรม Ulead VideoStudio 11 6. โปรแกรม Free Video to Flash Converter 7. โปรแกรมแปลงไฟลเสียง LetsFun FLV Converter 8. โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007 ขั้นตอนในการดําเนินงาน 1. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับอาเซียนและสรุปเนื้อหาสําคัญ
  • 21. 2. ศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมใชงาน 3. ออกแบบสื่อมัลติมิเดียโดยการเขียน Storyboard และแผนผังการทํางาน ดังรูป 3.1 และ 3.2 รูป 3.1 สวนแสดงการเขียน Storyboard รูป 3.2 สวนแสดงแผนผังการทํางาน 10
  • 22. 4. สรางชิ้นงานมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาดวยโปรแกรม Adobe Captivate 4 รูป 4 สวนแสดงหนาทั้งหมดของชิ้นงานที่สรางขึ้น 4.1 นําไฟลภาพกราฟกใสในงานเพื่อสรางเปนภาพพื้นหลัง รูป 4.1 สวนแสดงการนําภาพกราฟกมาใสเปนภาพพื้นหลัง 11
  • 23. 4.2 สรางหนาสําหรับลงทะเบียนเขาใชงาน รูป 4.2 สวนแสดงการสรางหนาสําหรับลงทะเบียนเขาใชงาน 4.3 สรางหนาที่เปนเนื้อหา รูป 4.3 สวนแสดงการสรางหนาที่เปนเนื้อหา 12
  • 24. 4.4 สรางหนาแบบสอบถามโดยใช Short Answer และ Matching Question รูป 4.4 สวนแสดงการสรางหนาแบบสอบถาม 4.5 สรางเกมจากโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007 รูป 4.5 สวนแสดงการสรางสรางเกม 13
  • 25. 4.6 ตัดตอคลิปวิดีโอและอัดเสียงในวิดีโอ โดยใชโปรแกรม Ulead Video Studio V.11 รูป 4.6 สวนแสดงการตัดตอคลิปวิดีโอและอัดเสียงในวิดีโอ 5. ตรวจสอบความผิดพลาดและทดลองใชงานชิ้นงานที่สรางขึ้น 6. จัดทําแบบสอบถามเพื่อวัดระดับความพึงพอใจของกลุมตัวอยาง 7. ใหกลุมตัวอยางทดลองใชงานจากสื่อที่สรางขึ้น และทําแบบสอบถาม 8. รวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม และสรุปผลระดับความพึงพอใจของกลุมตัวอยาง 9. อัพโหลดผลงานขึ้นสูเว็บไซต www.satrinon.ac.th 14
  • 26. บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซียนศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน ไดผลการดําเนินงานดังนี้ หัวขอ ดีมาก (คน) ดี (คน) พอใช (คน) คอนขาง แย (คน) ปรับปรุง (คน) 1. ความเหมาะสมของเนื้อหา 33 19 - - - 2. ความนาสนใจของเนื้อหา 34 18 - - - 3. ความสวยงามของสื่อ 44 4 4 - - 4. ความเพลิดเพลิน 36 11 5 - - 5. ความเหมาะสมของ ระยะเวลา ในการใชสื่อ 21 28 3 - - 6. ความเหมาะสมในการจัด หมวดหมูของขอมูลภายในสื่อ 29 19 4 - - 7. เมนูงายตอการใชงาน 32 17 3 - - 8. การโตตอบระหวางสื่อกับ ผูรับชมสื่อ 20 23 9 - - 9. ความรูที่ไดรับ 32 15 5 - - 10. ภาพรวมของสื่อ 39 13 - - -
  • 28. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรุปผล การสํารวจความพึงพอใจของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน ที่มีตอสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษา มี 10 รายการ คือ 1 ความเหมาะสมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 63.46 2. ความนาสนใจของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 65.38 3. ความสวยงามของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 84.62 4. ความเพลิดเพลิน มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 69.23 5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการใชสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 53.85 6. ความเหมาะสมในการจัดหมวดหมูของขอมูลภายในสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิด เปนรอยละ 55.77 7. เมนูงายตอการใชงาน มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 61.54 8. การโตตอบระหวางสื่อกับผูรับชมสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 44.23 9. ความรูที่ไดรับ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 61.54 10. ภาพรวมของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 75.00
  • 29. อภิปรายผล กลุมตัวอยางมีระดับความพึงพอใจในสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาอยูในระดับดีมากและดี เนื่องจากกลุมตัวอยางมีความเขาใจในเนื้อหาและมีความสนใจในสื่อมัลติมีเดียอาเซียนศึกษาแตใน บางสวนซึ่งไดแก การโตตอบของสื่อ ระยะเวลาของสื่อ ซึ่งอาจทําใหกลุมตัวอยางรูสึกวาสื่อนั้นมี ระยะเวลามากเกินไป ซึ่งอาจทําใหนักเรียนรูสึกมีความสนใจลดลงหลังการใชสื่อเปนเวลานาน ขอเสนอแนะ 1. ควรจัดหมวดหมูใหเปนระบบมากขึ้น 2. ระยะเวลาของสื่อควรนอยลง 18
  • 30. เอกสารอางอิง Adobe captivate.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://guru.google.co.th/ (24 กุมภาพันธ 2555) ASEAN.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://th.wikipedia.org/wiki (7 มกราคม 2555) MULTIMEDIA GRAPHIC USER INTERFACE .[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://commarts.hcu.ac.th/images/academic_article/mod/puchong_interface.pdf (11 กรกฎาคม 2555) งานวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการอานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการสอนแบบมุงประสบการณภาษา โดยใชหนังสือเรียนที่มีภาพประกอบเปนเหมือนภาพ โดยใชหนังสือเรียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://www.happyreading.in.th (4 สิงหาคม 2555) จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางสื่อการเรียนการสอน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://krufonclass2.blogspot.com/p/blog-page_10.html (2 มีนาคม 2555) ผลกระทบของสื่อตอพัฒนาการดานมิติสัมพันธ.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/blogs/posts/305033 (2 มีนาคม 2555) พัฒนาการเด็กวัย 6-12 ป และผลกระทบของสื่อที่สงผลตอเด็กในวัยเรียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/blogs/posts/305033 (2 มีนาคม 2555)
  • 31. ไมปลอยใหอาเซียนเปนเรื่องของนโยบายหรือเรื่องของผูใหญ.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://www.niteskan2.in.th (2 มีนาคม 2555) สถาบันการศึกษาเสริมขอมูลอาเซียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://news.voicetv.co.th (2 มีนาคม 2555) อภิชัย เรืองศิริปยะกุล. พัฒนาสื่อการสอนดวย Adobe Captivate4. บริษัท วี.พริ้นท (1991) จํากัด : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน), 2553
  • 33. แบบประเมินความพึงพอใจ หัวขอ ดีมาก ดี พอใช คอนขาง แย ปรับปรุง 1. ความเหมาะสมของเนื้อหา 2. ความนาสนใจของเนื้อหา 3. ความสวยงามของสื่อ 4. ความเพลิดเพลิน 5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการใชสื่อ 6. ความเหมาะสมในการจัดหมวดหมูของขอมูล ภายในสื่อ 7. เมนูงายตอการใชงาน 8. การโตตอบระหวางสื่อกับผูรับชมสื่อ 9. ความรูที่ไดรับ 10. ภาพรวมของสื่อ 2 ความคิดเห็น ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................................................