SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1

                      แผนการจั ด การเรี ย นรู ้
                           หน่ ว ยที ่ 10
           เรื ่ อ ง การถ่ า ยทอดเรื ่ อ งราวของละคร

กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ศ ิ ล ปศึ ก ษา
          ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ 1
วิ ช า ศิ ล ปะ
          เวลาเรี ย น 2 ชั ่ ว โมง
หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ 1 การถ่ า ยทอดเรื ่ อ งราวของละคร
               ปี ก ารศึ ก ษา 2552

1. สาระที ่ 3 นาฏศิ ล ป์
2. มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ศ 3.1
    เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ
ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
3. ตั ว ชี ้ ว ั ด
    ศ 3.1 ม.1/1 อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้ม
น้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม
4. สาระสำ า คั ญ
     นาฏศิ ล ป์ เ ป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ของศิ ล ปะสาขาการแสดง อั น
ประกอบด้ ว ย การรำ า ฟ้ อ น ละคร โขน เป็ น ต้ น จึ ง เป็ น การ
ศึ ก ษาวั ฒ นธรรมแขนงหนึ ่ ง ซึ ่ ง นอกจากจะแสดงถึ ง ความเป็ น
อารยะของประเทศแล้ ว ยั ง เป็ น เอกลั ก ษณะประจำ า ชาติ ไ ด้
ทั ก ษะพื ้ น ฐานในการฝึ ก หั ด นาฏศิ ล ป์ แ ละการฝึ ก หั ด นาฏศิ ล ป์
ไทยชุ ด ต่ า งๆ
        4.1    ความรู ้
          1.   ความหมายของนาฏศิลป์
          2.   ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์
          3.   บทของนาฏศิลป์ในชีวิตประจำาวัน
          4.   ส่วนสำาคัญของนาฏศิลป์ไทย
2

         4.2    ทั ก ษะ กระบวนการ
           1.   ทักษะแสวงหาความรู้
           2.   ทักษะสอบถาม
           3.   ทักษะการวิเคราะห์
           4.   ทักษะสืบค้นข้อมูล
         4.3    คุ ณ ลั ก ษณะ
           1.   ใฝ่เรียนรู้
           2.   ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
           3.   มุ่งมั่นในการทำางาน
           4.   รักความเป็นไทย
           5.   มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ
5. กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ค รั ้ ง ที ่ 1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏศิลป์ (เวลา
เรียน 1 ชั่วโมง )
          1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
          2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ
นาฏศิลป์ไทย การแสดง ละคร
การฟ้อนรำา ประเภทต่างๆ
           3. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ
นาฏศิลป์ ลักษณะของการแสดง ละคร และแยกประเภทของนาฏศิลป์
โดยครูให้นักเรียนยกมือตอบ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
           4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ความรู้พื้นฐาน
นาฏศิลป์ อย่างเข้าใจ
           5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มเท่ากัน แล้วให้
นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย
ว่ามีลักษณะอย่างไร โดยแต่ละกลุ่มจะได้คำาถามเหมือนกัน โดยให้
นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมจากใบความรู้
          6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างไร
จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน
เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยว่ามีลักษณะอย่างไร จน
รายงานครบทุกกลุ่ม
          7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประวัติความเป็นมา และลักษณะ
ของนาฏศิลป์ไทยว่าเป็นอย่างไร ก่อนที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัตินักเรียน
ควรรู้ที่มาของนาฏศิลป์ไทย อย่างเข้าใจ ครูอธิบายให้นักเรียนฟัง
3

        8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่
นักเรียนได้ไปศึกษา
    9. ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้
คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม
        10. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้
คะแนนตามแบบสังเกต


กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ค รั ้ ง ที ่ 2 เรื่อง ความสำาคัญของนาฏศิลป์ (
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
          1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
          2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ
นาฏศิลป์ไทย การแสดง ละคร
การฟ้อนรำา ประเภทต่างๆ
          3. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ
นาฏศิลป์ ลักษณะของการแสดง ละคร และแยกประเภทของนาฏศิลป์
โดยครูให้นักเรียนยกมือตอบ
          4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ความสำาคัญของ
นาฏศิลป์ ที่อิทธิพลต่อการดำารงชีวิตของคนในปัจจุบัน
          5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มเท่ากัน แล้วให้
นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย
และอิทธิพลของนาฏศิลป์ไทยที่มีต่อมนุษย์และการแสดงออกเมื่อได้ชม
การแสดงของนาฏศิลป์
          6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างไร
จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน
เกี่ยวกับอิทธิพลของการแสดงประเภทต่างๆ ว่า โดยให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มรายงานจนครบทุกกลุ่ม
          7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประวัติความเป็นมา และลักษณะ
ของนาฏศิลป์ไทยว่าเป็นอย่างไร ก่อนที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัตินักเรียน
ควรรู้ที่มาของนาฏศิลป์ไทย และอิทธิพลของการแสดงที่มีต่อมนุษย์และ
กิริยาอาการเมื่อได้ชมการแสดง
           8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่
นักเรียนได้ไปศึกษา
      9. ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้
คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม
          10. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้
คะแนนตามแบบสังเกต
4

6. สื ่ อ อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง เรี ย นรู ้
               1. ใบความรู้
               2. ใบงาน
               3. แผนภาพ
               4. คำาถาม
               5. สถานการณ์/ เหตุการณ์
               6. อุปกรณ์การแสดงนาฏศิลป์
               7. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด
               8. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์
               9. หนังสือเรียน เอกสารความรู้
7. การวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้
      7.1 วิ ธ ี ก ารวั ด และเครื ่ อ งมื อ วั ด
5

เป้ า หมายการเรี ย น              วิ ธ ี ก ารวั ด       เครื ่ อ งมื อ วั ด
             รู ้
สาระสำ า คั ญ
นาฏศิ ล ป์ เ ป็ น ส่ ว น     1. ทดสอบประเมิ น        1. แบบทดสอบ
หนึ ่ ง ของศิ ล ปะ           ผลก่ อ นเรี ย น         ประเมิ น ผลก่ อ น
สาขาการแสดง อั น                                     เรี ย น
ประกอบด้ ว ย การ             2. ตรวจใบงาน            2. แบบประเมิ น ใบ
รำ า ฟ้ อ น ละคร             3. การนำ า เสนอผล       งาน
โขน เป็ น ต้ น จึ ง          งาน                     3. แบบประเมิ น
เป็ น การศึ ก ษา                                     การนำ า เสนอผลงาน
วั ฒ นธรรมแขนง
หนึ ่ ง ฯ
ศ 3.1 ม.1/1 อธิบาย           1. ผลการศึกษาจาก        – แบบประเมินการ
อิทธิพลของนักแสดง            ใบความรู้ เรื่อง ความ   ปฏิบัติงานกลุ่ม
ชื่อดังที่มีผลต่อการ         รู้พื้นฐานนาฏศิลป์      – แบบประเมินการนำา
โน้มน้าวอารมณ์หรือ           2. การรายงานหน้า        เสนอผลงาน
ความคิดของผู้ชม              ชั้นเรียนเกี่ยวกับ      – แบบประเมิน
                             ประวัติความเป็นมา       พฤติกรรม
                             ของนาฏศิลป์ไทย          – แบบทดสอบประเมิน
                             3. ผลการศึกษาจาก        ผลหลังเรียน
                             ใบความรู้ เรื่อง ความ
                             สำาคัญของนาฏศิลป์
คุ ณ ลั ก ษณะ
1. ใฝ่ เ รี ย นรู ้          1. รายงานการ            1. แบบประเมิ น
2. ใฝ่ ร ู ้ ใ ฝ่ เ รี ย น   สั ง เกตพฤติ ก รรม      พฤติ ก รรมด้ า นการ
3. มุ ่ ง มั ่ น ในการ       2. สั ง เกต             ปฏิ บ ั ต ิ ต น
ทำ า งาน                     พฤติ ก รรมด้ า น        2. แบบประเมิ น
4. รั ก ความเป็ น            คุ ณ ธรรมพื ้ น ฐาน     พฤติ ก รรมด้ า น
ไทย                                                  คุ ณ ธรรมพื ้ น ฐาน
5. มี ค ุ ณ ธรรมพื ้ น
ฐาน 8 ประการ
6

    7.2 เกณฑ์ ก ารวั ด
        7.2.1 ข้ อ สอบปรนั ย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1
คะแนน
        7.2.2 แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านกลุ ่ ม
          1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน
          2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
          3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
          4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน
        7.2.3 แบบประเมิ น การนำ า เสนอผลงาน
          1. เนื้อหา
          2. กลวิธีการนำาเสนอ
          3. ขันตอนการนำาเสนอ
                ้
          4. การใช้ภาษา
          5. ตอบคำาถาม/เวลา
        7.2.4 แบบตรวจผลงานเขี ย นแผนผั ง ความคิ ด
          1. ความคิดรวบยอด
          2. ความคิดรอง
          3. ความคิดย่อย
          4. การเชื่อมโยงความคิด
          5. ความสวยงาม
        7.2.5 แบบสั ง เกตพฤติ ก รรมรายบุ ค คล
          1. ความตั้งใจ
          2. ความร่วมมือ
          3. ความมีวินัย
          4. คุณภาพของผลงาน
          5. การนำาเสนอผลงาน
        7.2.6 แบบประเมิ น ใบงาน
         1. การสรุปเป็นองค์ความรู้
         2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน
         3. การบันทึกข้อมูล
         4. การอภิปราย
         5. การสนทนาซักถาม

        7.2.7 แบบประเมิ น ผลงาน/ชิ ้ น งาน
          1. ความคิดสร้างสรรค์
7

        2. ความประณีตสวยงาม
        3 ความสะอาด
        4 ความแข็งแรงคงทน
        5. ทำางานเสร็จทันเวลา
      7.2.8 การสอบถามนั ก เรี ย นเกี ่ ย วกั บ การวิ เ คราะห์
แผนภาพ
        1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน
        2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน
      7.2.9 แบบประเมิ น พฤติ ก รรมด้ า นการปฏิ บ ั ต ิ ต น
        1. ความกระตือรือร้น
        2. ความร่วมมือ
        3. ความรับผิดชอบ
        4. การเคารพกติกา
        5. ความกล้าแสดงออก
      7.2.10 แบบประเมิ น พฤติ ก รรมด้ า นคุ ณ ธรรมพื ้ น ฐาน
        1. ความขยัน
        2. ความประหยัด
        3. ความซื่อสัตย์
        4. ความมีวินัย
        5. ความสุภาพ
        6. ความสะอาด
        7. ความสามัคคี
        8. ความมีนำ้าใจ
8

         7.3 เกณฑ์ ก ารผ่ า น
            7.3.1 เกณฑ์ ก ารผ่ า นรายบุ ค คล
              7.3.1.1 นักเรียนได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ
คะแนนเต็ม
              7.3.1.2 นักเรียนได้ระดับคุณภาพตั้งแต่ระดับ 2 ขึนไป
                                                             ้
จาก 3 ระดับคุณภาพของการประเมินหรือ ได้ระดับคุณภาพตั้งแต่
ระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน
            7.3.2 เกณฑ์ ก ารผ่ า นรายกลุ ่ ม
              7.3.2.1 จำานวนนักเรียนร้อยละ 80 ได้คะแนนไม่น้อย
กว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม
              7.3.2.2 จำานวนนักเรียนร้อยละ 80 ได้ระดับคุณภาพ
ตั้งแต่ระดับ 2 ขึนไปจาก 3 ระดับคุณภาพของการประเมินหรือ ได้
                 ้
ระดับคุณภาพตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการ
ประเมิน
8. บั น ทึ ก ผลหลั ง การจั ด การเรี ย นรู ้
          8..1 ผลการจั ด การเรี ย นรู ้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน )
              นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย
ละ...........
              นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด
เป็นร้อยละ.................
              นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน
คิดเป็นร้อยละ.............

            8.2 ผลการประเมิ น พฤติ ก รรมระหว่ า งเรี ย น
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................
            8.3 ปั ญ หาและอุ ป สรรคระหว่ า งการจั ด กิ จ กรรมการ
เรี ย นการสอน
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................
            8.4 การปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา
9

.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................




                    ลงชื่อ……………………………………………
                                    (นางปาริชาติ ปร๋อ
กระโทก)
                                                               พนั ก งานราชการ

9 ความเห็ น ของหั ว หน้ า กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ศ ิ ล ปะ
..................
………………………………………………………………………....................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.....................................................................




                                            ลงชื่อ........................................
........ผูตรวจสอบ
          ้
                                                    (นางปรางค์ทิพย์ วัชรคุปต์)
                                                หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ




10. ความเห็ น ของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น
..................
………………………………………………………………………....................
10

.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.................................................................



ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ
                                                           ้
                                               (นายนิริมิตร ดวดกระโทก)
                                       ผู้อำานวยการโรงเรียนหนองบุญมาก
ประสงค์วิทยา

More Related Content

What's hot

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55krutip
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐานตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐานกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบkrutitirut
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ Backward design
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ  Backward designตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ  Backward design
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ Backward designkrutitirut
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55wongsrida
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตkrutip Kanayat
 

What's hot (20)

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐานตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ Backward design
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ  Backward designตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ  Backward design
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสอดคล้องฯ Backward design
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

Lyon
LyonLyon
Lyon
 
Local marketing
Local marketingLocal marketing
Local marketing
 
Dj irak 2011
Dj irak 2011Dj irak 2011
Dj irak 2011
 
Compte rendu euro173
Compte rendu euro173Compte rendu euro173
Compte rendu euro173
 
Anemia pds patklin
Anemia pds patklinAnemia pds patklin
Anemia pds patklin
 
Perek alef
Perek alefPerek alef
Perek alef
 
Les moyens de transport.
Les moyens de transport.Les moyens de transport.
Les moyens de transport.
 
The Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
The Six Highest Performing B2B Blog Post FormatsThe Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
The Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
 
The Outcome Economy
The Outcome EconomyThe Outcome Economy
The Outcome Economy
 

Similar to 3.แผนการเรียนรู้ backward

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6Meaw Sukee
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 

Similar to 3.แผนการเรียนรู้ backward (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
Event
EventEvent
Event
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 

3.แผนการเรียนรู้ backward

  • 1. 1 แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ หน่ ว ยที ่ 10 เรื ่ อ ง การถ่ า ยทอดเรื ่ อ งราวของละคร กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ศ ิ ล ปศึ ก ษา ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ 1 วิ ช า ศิ ล ปะ เวลาเรี ย น 2 ชั ่ ว โมง หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ 1 การถ่ า ยทอดเรื ่ อ งราวของละคร ปี ก ารศึ ก ษา 2552 1. สาระที ่ 3 นาฏศิ ล ป์ 2. มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 3. ตั ว ชี ้ ว ั ด ศ 3.1 ม.1/1 อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้ม น้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม 4. สาระสำ า คั ญ นาฏศิ ล ป์ เ ป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ของศิ ล ปะสาขาการแสดง อั น ประกอบด้ ว ย การรำ า ฟ้ อ น ละคร โขน เป็ น ต้ น จึ ง เป็ น การ ศึ ก ษาวั ฒ นธรรมแขนงหนึ ่ ง ซึ ่ ง นอกจากจะแสดงถึ ง ความเป็ น อารยะของประเทศแล้ ว ยั ง เป็ น เอกลั ก ษณะประจำ า ชาติ ไ ด้ ทั ก ษะพื ้ น ฐานในการฝึ ก หั ด นาฏศิ ล ป์ แ ละการฝึ ก หั ด นาฏศิ ล ป์ ไทยชุ ด ต่ า งๆ 4.1 ความรู ้ 1. ความหมายของนาฏศิลป์ 2. ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ 3. บทของนาฏศิลป์ในชีวิตประจำาวัน 4. ส่วนสำาคัญของนาฏศิลป์ไทย
  • 2. 2 4.2 ทั ก ษะ กระบวนการ 1. ทักษะแสวงหาความรู้ 2. ทักษะสอบถาม 3. ทักษะการวิเคราะห์ 4. ทักษะสืบค้นข้อมูล 4.3 คุ ณ ลั ก ษณะ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 3. มุ่งมั่นในการทำางาน 4. รักความเป็นไทย 5. มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ 5. กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ค รั ้ ง ที ่ 1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏศิลป์ (เวลา เรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ นาฏศิลป์ไทย การแสดง ละคร การฟ้อนรำา ประเภทต่างๆ 3. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ นาฏศิลป์ ลักษณะของการแสดง ละคร และแยกประเภทของนาฏศิลป์ โดยครูให้นักเรียนยกมือตอบ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ความรู้พื้นฐาน นาฏศิลป์ อย่างเข้าใจ 5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มเท่ากัน แล้วให้ นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย ว่ามีลักษณะอย่างไร โดยแต่ละกลุ่มจะได้คำาถามเหมือนกัน โดยให้ นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมจากใบความรู้ 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างไร จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยว่ามีลักษณะอย่างไร จน รายงานครบทุกกลุ่ม 7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประวัติความเป็นมา และลักษณะ ของนาฏศิลป์ไทยว่าเป็นอย่างไร ก่อนที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัตินักเรียน ควรรู้ที่มาของนาฏศิลป์ไทย อย่างเข้าใจ ครูอธิบายให้นักเรียนฟัง
  • 3. 3 8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่ นักเรียนได้ไปศึกษา 9. ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้ คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม 10. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้ คะแนนตามแบบสังเกต กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ค รั ้ ง ที ่ 2 เรื่อง ความสำาคัญของนาฏศิลป์ ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ นาฏศิลป์ไทย การแสดง ละคร การฟ้อนรำา ประเภทต่างๆ 3. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ นาฏศิลป์ ลักษณะของการแสดง ละคร และแยกประเภทของนาฏศิลป์ โดยครูให้นักเรียนยกมือตอบ 4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ความสำาคัญของ นาฏศิลป์ ที่อิทธิพลต่อการดำารงชีวิตของคนในปัจจุบัน 5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มเท่ากัน แล้วให้ นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย และอิทธิพลของนาฏศิลป์ไทยที่มีต่อมนุษย์และการแสดงออกเมื่อได้ชม การแสดงของนาฏศิลป์ 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างไร จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน เกี่ยวกับอิทธิพลของการแสดงประเภทต่างๆ ว่า โดยให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มรายงานจนครบทุกกลุ่ม 7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประวัติความเป็นมา และลักษณะ ของนาฏศิลป์ไทยว่าเป็นอย่างไร ก่อนที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัตินักเรียน ควรรู้ที่มาของนาฏศิลป์ไทย และอิทธิพลของการแสดงที่มีต่อมนุษย์และ กิริยาอาการเมื่อได้ชมการแสดง 8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่ นักเรียนได้ไปศึกษา 9. ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้ คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม 10. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้ คะแนนตามแบบสังเกต
  • 4. 4 6. สื ่ อ อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง เรี ย นรู ้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. แผนภาพ 4. คำาถาม 5. สถานการณ์/ เหตุการณ์ 6. อุปกรณ์การแสดงนาฏศิลป์ 7. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด 8. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ 9. หนังสือเรียน เอกสารความรู้ 7. การวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้ 7.1 วิ ธ ี ก ารวั ด และเครื ่ อ งมื อ วั ด
  • 5. 5 เป้ า หมายการเรี ย น วิ ธ ี ก ารวั ด เครื ่ อ งมื อ วั ด รู ้ สาระสำ า คั ญ นาฏศิ ล ป์ เ ป็ น ส่ ว น 1. ทดสอบประเมิ น 1. แบบทดสอบ หนึ ่ ง ของศิ ล ปะ ผลก่ อ นเรี ย น ประเมิ น ผลก่ อ น สาขาการแสดง อั น เรี ย น ประกอบด้ ว ย การ 2. ตรวจใบงาน 2. แบบประเมิ น ใบ รำ า ฟ้ อ น ละคร 3. การนำ า เสนอผล งาน โขน เป็ น ต้ น จึ ง งาน 3. แบบประเมิ น เป็ น การศึ ก ษา การนำ า เสนอผลงาน วั ฒ นธรรมแขนง หนึ ่ ง ฯ ศ 3.1 ม.1/1 อธิบาย 1. ผลการศึกษาจาก – แบบประเมินการ อิทธิพลของนักแสดง ใบความรู้ เรื่อง ความ ปฏิบัติงานกลุ่ม ชื่อดังที่มีผลต่อการ รู้พื้นฐานนาฏศิลป์ – แบบประเมินการนำา โน้มน้าวอารมณ์หรือ 2. การรายงานหน้า เสนอผลงาน ความคิดของผู้ชม ชั้นเรียนเกี่ยวกับ – แบบประเมิน ประวัติความเป็นมา พฤติกรรม ของนาฏศิลป์ไทย – แบบทดสอบประเมิน 3. ผลการศึกษาจาก ผลหลังเรียน ใบความรู้ เรื่อง ความ สำาคัญของนาฏศิลป์ คุ ณ ลั ก ษณะ 1. ใฝ่ เ รี ย นรู ้ 1. รายงานการ 1. แบบประเมิ น 2. ใฝ่ ร ู ้ ใ ฝ่ เ รี ย น สั ง เกตพฤติ ก รรม พฤติ ก รรมด้ า นการ 3. มุ ่ ง มั ่ น ในการ 2. สั ง เกต ปฏิ บ ั ต ิ ต น ทำ า งาน พฤติ ก รรมด้ า น 2. แบบประเมิ น 4. รั ก ความเป็ น คุ ณ ธรรมพื ้ น ฐาน พฤติ ก รรมด้ า น ไทย คุ ณ ธรรมพื ้ น ฐาน 5. มี ค ุ ณ ธรรมพื ้ น ฐาน 8 ประการ
  • 6. 6 7.2 เกณฑ์ ก ารวั ด 7.2.1 ข้ อ สอบปรนั ย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน 7.2.2 แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านกลุ ่ ม 1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน 2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน 7.2.3 แบบประเมิ น การนำ า เสนอผลงาน 1. เนื้อหา 2. กลวิธีการนำาเสนอ 3. ขันตอนการนำาเสนอ ้ 4. การใช้ภาษา 5. ตอบคำาถาม/เวลา 7.2.4 แบบตรวจผลงานเขี ย นแผนผั ง ความคิ ด 1. ความคิดรวบยอด 2. ความคิดรอง 3. ความคิดย่อย 4. การเชื่อมโยงความคิด 5. ความสวยงาม 7.2.5 แบบสั ง เกตพฤติ ก รรมรายบุ ค คล 1. ความตั้งใจ 2. ความร่วมมือ 3. ความมีวินัย 4. คุณภาพของผลงาน 5. การนำาเสนอผลงาน 7.2.6 แบบประเมิ น ใบงาน 1. การสรุปเป็นองค์ความรู้ 2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน 3. การบันทึกข้อมูล 4. การอภิปราย 5. การสนทนาซักถาม 7.2.7 แบบประเมิ น ผลงาน/ชิ ้ น งาน 1. ความคิดสร้างสรรค์
  • 7. 7 2. ความประณีตสวยงาม 3 ความสะอาด 4 ความแข็งแรงคงทน 5. ทำางานเสร็จทันเวลา 7.2.8 การสอบถามนั ก เรี ย นเกี ่ ย วกั บ การวิ เ คราะห์ แผนภาพ 1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน 2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน 7.2.9 แบบประเมิ น พฤติ ก รรมด้ า นการปฏิ บ ั ต ิ ต น 1. ความกระตือรือร้น 2. ความร่วมมือ 3. ความรับผิดชอบ 4. การเคารพกติกา 5. ความกล้าแสดงออก 7.2.10 แบบประเมิ น พฤติ ก รรมด้ า นคุ ณ ธรรมพื ้ น ฐาน 1. ความขยัน 2. ความประหยัด 3. ความซื่อสัตย์ 4. ความมีวินัย 5. ความสุภาพ 6. ความสะอาด 7. ความสามัคคี 8. ความมีนำ้าใจ
  • 8. 8 7.3 เกณฑ์ ก ารผ่ า น 7.3.1 เกณฑ์ ก ารผ่ า นรายบุ ค คล 7.3.1.1 นักเรียนได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ คะแนนเต็ม 7.3.1.2 นักเรียนได้ระดับคุณภาพตั้งแต่ระดับ 2 ขึนไป ้ จาก 3 ระดับคุณภาพของการประเมินหรือ ได้ระดับคุณภาพตั้งแต่ ระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน 7.3.2 เกณฑ์ ก ารผ่ า นรายกลุ ่ ม 7.3.2.1 จำานวนนักเรียนร้อยละ 80 ได้คะแนนไม่น้อย กว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม 7.3.2.2 จำานวนนักเรียนร้อยละ 80 ได้ระดับคุณภาพ ตั้งแต่ระดับ 2 ขึนไปจาก 3 ระดับคุณภาพของการประเมินหรือ ได้ ้ ระดับคุณภาพตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการ ประเมิน 8. บั น ทึ ก ผลหลั ง การจั ด การเรี ย นรู ้ 8..1 ผลการจั ด การเรี ย นรู ้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน ) นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย ละ........... นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด เป็นร้อยละ................. นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน คิดเป็นร้อยละ............. 8.2 ผลการประเมิ น พฤติ ก รรมระหว่ า งเรี ย น ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................. 8.3 ปั ญ หาและอุ ป สรรคระหว่ า งการจั ด กิ จ กรรมการ เรี ย นการสอน ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................. 8.4 การปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา
  • 9. 9 ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................. ลงชื่อ…………………………………………… (นางปาริชาติ ปร๋อ กระโทก) พนั ก งานราชการ 9 ความเห็ น ของหั ว หน้ า กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ศ ิ ล ปะ .................. ……………………………………………………………………….................... ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ..................................................................... ลงชื่อ........................................ ........ผูตรวจสอบ ้ (นางปรางค์ทิพย์ วัชรคุปต์) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 10. ความเห็ น ของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น .................. ………………………………………………………………………....................
  • 10. 10 ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ................................................................. ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ ้ (นายนิริมิตร ดวดกระโทก) ผู้อำานวยการโรงเรียนหนองบุญมาก ประสงค์วิทยา