SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
ครูนุชนารถ ด้วงสงค์
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรพืช
• เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบยูคาริโอต
• มีผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลส (Cellulose)
• สามารถสร้างอาหารด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
• มีคอลโรพลาสต์ซึ่งมีสารสีชนิดคอลโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี
• มีวัฎจักรชีวิตแบบสลับ
กาเนิดพืช
• จากหลักฐานทางวิวัฒนาการ และการศึกษาเปรียบเทียบลาดับเบส
ของDNAพบว่าพืชและสาหร่ายไฟในกลุ่มคาโรไฟต์มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน
พืชมีการปรับตัวเพื่อดารงชีวิตบนพื้นดิน
• การปรับตัวด้านโครงสร้าง
• การปรับตัวด้านองค์ประกอบทางเคมี
• การปรับตัวด้านการสืบพันธุ์
การปรับตัวด้านโครงสร้าง
• มีการปรับโครงสร้างรากที่สามารถดูดนาได้
• มีเนือเยื่อลาเลียงที่ใช้ในการลาเลียงนาและแร่ธาตุ
• มีปากใบเป็นทางผ่านเข้าออกของแก๊สต่างๆ
การปรับตัวด้านองค์ประกอบทางเคมี
• มีการสร้างสารขึนพิเศษเพื่อใช้ในการดารงชีวิต เช่น
ลิกนิน (Lignin)เพื่อให้พืชมีความแข็งแรง และทนทานต่อ
สภาพแวดล้อม
คิวทิน (Cutin) ปกคลุมผิวของลาต้นและใบเพื่อป้องกันการสูญเสียนา
การปรับตัวด้านการสืบพันธุ์
•โครงสร้างที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์จะมีเนือเยื่อปกป้องเซลล์สืบพันธุ์
• ละอองเรณูของพืชดอกมีการป้องกันการสูญเสียนาและทนต่อความ
แห้งแล้ง
•เซลล์สืบพันธุ์มีการปรับตัว ใช้นาน้อย หรือไม่ใช้นาเป็นตัวกลางใน
การผสมพันธุ์
วัฏจักรชีวิตแบบสลับ
วัฎจักรชีวิตแบบสลับ คือ พืชทุกชนิดมี 2 ระยะคือ
• ระยะแกมีโทไฟต์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซม 1 ชุด (n)
• ระยะสปอร์โรไฟต์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซม 2 ชุด (2n)
ช่วงชีวิตที่เป็นระยะสปอโรไฟต์และแกมีโทไฟต์ของพืชในกลุ่มต่างๆ
ช่วงชีวิตที่เป็นระยะสปอโรไฟต์และแกมีโทไฟต์ของพืชในกลุ่มต่างๆ
อาณาจักรพืช
พืชที่พบในปัจจุบันมีมากกว่า 300,000 สปีชีส์ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มพืชไม่มีเนือเยื่อลาเลียง (nonvascular plant)
2. กลุ่มพืชที่มีเนือเยื่อลาเลียง (vascular plant)
1. พืชไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง (Non Vascular Plants)
• พืชกลุ่มนี้ดูดน้าและแร่ธาตุจากดินโดยโครงสร้าง
คล้ายราก ที่เรียกว่าไรซอยด์ (rhizoid)
•ส่วนที่คล้ายใบมีชั้นคิวทิเคิลบางปกคลุม
• ลาเลียงน้าและแร่ธาตุโดยการแพร่
• การปฏิสนธิอาศัยน้าเป็นตัวกลาง
•สปอร์โรไฟต์อาศัยอยู่บนต้นแกมีโทไฟต์
1.1 ดิวิชันเฮปาโทไฟตา Division Hepatophyta
• ต้นแกมีโทไฟต์มีทังที่เป็นต้น มีส่วนคล้ายใบ และเป็นแผ่น
•ภายในเซลล์มีหยดนามัน
• ตัวอย่าง ลิเวอร์เวิร์ท (Liverworts)
ภาพ ระยะ Sporophyte ของ
Liverworts
ภาพ (ซ้าย) Antheridiophores และ
(ขวา)Archegoniophores
1.2 ดิวิชัน แอนโทซีโรไฟตา Division Anthocerophyta
• ต้นแกมีโทไฟต์มีลักษณะเป็นแผ่น มีรอยหยักที่ขอบ
• ต้นสปอโรไฟต์มีลักษณะยาวเรียว
• มีคลอโรพลาสต์ เพียง 1 คลอโรพลาสต์ต่อเซลล์
• ตัวอย่าง ฮอร์นเวิร์ท (hornwort)
ภาพ ระยะ Sporophyte ของ
Hornworts
1.3 ดิวิชัน ไบรโอไฟตา Division Bryophyta
• ต้นแกมีโทไฟต์มีลักษณะคล้ายใบที่เรียงเวียนรอบแกนกลาง
• ต้นสปอโรไฟต์มีโครงสร้างพิเศษช่วยในการกระจายสปอร์
• ตัวอย่าง มอส (Moss)
ประโยชน์พืชไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง
• สแฟกนัมมอส นิยมน ามาเป็นวัสดุคลุมหน้าดิน เพื่อรักษาสภาพ
ความชืนในดิน และนามาใช้ในการเพาะปลูก
• สแฟกนัมมอส ทับถมกันนานๆจะเกิดเป็นเชือเพลิงที่เรียกว่า พีท (Peat)
ภาพ Sphagnum moss
2. พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียง (Vascular Plants)
พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
2.1 พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ด
2.2 พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียงที่มีเมล็ด
2.1 พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ด
•พืชกลุ่มนีมีราก ลาต้น ใบแท้จริง
•ภายในรากมีเนือเยื่อลาเลียงเหมือนที่พบในลาต้น
•ต้นแกมีโทไฟต์จะมีช่วงชีวิตที่สันกว่าสปอโรไฟต์
2.1.1 ดิวิชันไลโคไฟตา Division Lycophytha
•เป็นพืชที่มี ลาต้น ใบแท้จริง ใบมีขนาดเล็ก
• มีเส้นใบ 1 เส้นไม่แตกแขนง
• ปลายกิ่งมีกลุ่มของใบทาหน้าที่สร้างอับสปอร์
การสร้างสปอร์ของพืชมี 2 แบบ คือ
• สร้างสปอร์ที่มีขนาดเดียวกัน
• การสร้างสปอร์ขนาดต่างกันคือ สปอร์ขนาดใหญ่และสปอร์ขนาดเล็ก
2.1.1 ดิวิชันไลโคไฟตา Division Lycophytha
ตัวอย่างพืช
• ไลโคโพเดียม เช่น สามร้อยยอด หางสิงห์ สร้างสปอร์ขนาดเดียว
• ซีแลกจิเนลลา เช่น ตีนตุ๊กแก สร้างปอร์ที่มีขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
• กระเทียมนา สร้างปอร์ที่มีขนาดใหญ่และขนาดเล็กสร้างอับสปอร์ที่โคนใบ
• สปอร์ขนาดใหญ่ จะเจริญเป็นแกมีโทไฟต์เพศเมีย
• สปอร์ขนาดเล็ก จะเจริญเป็นแกมีโทไฟต์เพศผู้
ภาพ Sphagnum moss
2.1.1 ดิวิชันไลโคไฟตา Division Lycophytha
ภาพ สามร้อยยอด หรือหางสิงห์
ภาพ ตีนตุ๊กแก
2.1.2 ดิวิชันเทอโรไฟตา Division Pterophyta
ตัวอย่างพืช
• หวายทะนอย
• ไม่มีราก ไม่มีใบ ถ้ามีใบจะมีขนาดเล็ก
• ลาต้นแตกกิ่งเป็นคู่
ภาพ ระยะแกมมีโตไฟต์ของหวายทะนอย ภาพ (ซ้าย) หวายทะนอยระยะสปอโรไฟต์
(ขวา) อับสปอร์ของหวายทะนอย
2.1.2 ดิวิชันเทอโรไฟตา Division Pterophyta
หญ้าถอดปล้อง
• ลาต้นมีข้อปล้องชัดเจน
• ลาต้นเหนือดินและใต้ดิน
• ลาต้นใต้ดินเรียกไรโซม
• มีใบขนาดเล็ก มีเส้นใบเพียงเส้นเดียว
• อับสปอร์เกิดเป็นกระจุกปลายกิ่งเรียกสโตรบิลัส
สร้างสปอร์ขนาดเดียว
ภาพ หญ้าถอดปล้อง
2.1.2 ดิวิชันเทอโรไฟตา Division Pterophyta
เฟิร์น
• มีราก ลาต้น ใบที่แท้จริง
• เส้นใบมีแตกแขนง
• ใบอ่อนม้วนจากปลายใบสู่โคนใบ
• สร้างอับสปอร์รวมเป็นกลุ่มใต้ใบ เรียก sorus
• ส่วนใหญ่สร้างสปอร์ขนาดเดียว
ภาพ Sorus
2.1.2 ดิวิชันเทอโรไฟตา Division Pterophyta
ตัวอย่างพืชกลุ่มเฟิร์น
ภาพ เฟิร์นก้านดา ภาพ เฟิร์นใบมะขาม
2.1.2 ดิวิชันเทอโรไฟตา Division Pterophyta
ตัวอย่างพืชกลุ่มเฟิร์น
ภาพ ข้าหลวงหลังลาย
ภาพ ชายผ้าสีดา
2.1.2 ดิวิชันเทอโรไฟตา Division Pterophyta
ตัวอย่างพืชกลุ่มเฟิร์น
ภาพ ย่านลิเภา
ภาพ แหนแดง
2.1.2 ดิวิชันเทอโรไฟตา Division Pterophyta
ตัวอย่างพืชกลุ่มเฟิร์น
ภาพ จอกหูหนู
ภาพ ผักกูด
ภาพ ผักแว่น
ภาพ ว่านลูกไก่ทอง
ภาพ ผักกูดแดง
2.2 พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียงที่มีเมล็ด
• ระยะสปอโรไฟต์เด่นและยาวนาน
• ระยะแกมมีไฟต์มีขนาดเล็ก แบ่งเป็น
2.2.1 พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
2.2.2 พืชดอก (angiosperm)
2.2.1 พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
• ออวุลและละอองเรณูจะติดอยู่บนกิ่งหรือแผ่นใบซึ่ง
อยู่รวมกันที่ปลายกิ่ง เรียกว่าโคน (cone)
• โคนแยกเป็นโคนเพศผู้เพศเมีย
• เนือไม้เจริญดี
2.2.1 พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
2.2.1.1 ดิวิชันไซแคโดไฟตา Division Cycadophyta
• ลาต้นค่อนข้างเตีย
•ใบมีขนาดใหญ่ เป็นใบประกอบ
•มีการสร้างโคนเพศผู้ และ โคนเพศเมียแยกต้น
• ตัวอย่าง เช่น ปรง
ภาพ ปรง
ภาพ (ซ้าย) โคนตัวผู้ (ขวา) โคนตัวเมีย
2.2.1 พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
2.2.1.2 ดิวิชันกิงโกไฟตา Division Ginkophyta
• ลาต้นขนาดใหญ่
• ใบเดี่ยวคล้ายพัด
• ต้นเพศเมียสร้างออวุลที่ปลายกิ่ง
• ตัวอย่างพืช แป๊ะก๊วย (Ginkgo Biloba) พบแถบประเทศจีน
เกาหลี ญี่ปุ่น
2.2.1 พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
2.2.1.3 ดิวิชันโคนิเฟอโรไฟตา Division coniferophyta
• มีความหลากหลายมากที่สุดในพืชเมล็ดเปลือย
• เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่สร้างโคนเพศผู้และเพศเมียบนต้นเดียวกัน
• โคนเพศเมียประกอบด้วยกิ่งที่แผ่เป็นแผ่นแข็ง สร้างออวุลแผ่นละ
2 ออวุล
• โคนเพศผู้ประกอบด้วยแผ่นใบขนาดเล็กที่มีลักษณะแข็ง สร้างอับ
สปอร์แผ่นละ 2 อับสปอร์
• สนสองใบ สนสามใบ สามสามพันปี พญาไม้
2.2.1 พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
2.2.1.4 ดิวิชันนีโทไฟตา Division netophyta
• พบเวสเซลในท่อลาเลียงนา
• มีลักษณะคล้ายพืชดอก คือมีกลีบดอก มีใบเลียง 2 ใบ
• เมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม
• มะเมื่อย พบตามป่าชืนเขตร้อน
ประโยชน์ของ พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
• ปรง นิยมนามาจัดสวน ทาเยื่อกระดาษ
• แป๊ะก๊วย ช่วยป้องกันและรักษาความสมบรูณ์ของผนังหลอดเลือด
ฝอยและปรับระบบหมุนเวียนเลือด ต่อต้านการอักเสบ การบวม
เป็นต้น
2.2.2 พืชดอก (angiosperm)
2.2.2.1 ดิวิชันแอนโทไฟตา (Division Anthophyta)
• มีดอกเปลี่ยนแปลงจากกิ่งมาเป็นโครงสร้างในการสืบพันธุ์
• มีออวุลเจริญอยู่ในรังไข่
• เป็นกลุ่มพืชที่มีความหลากหลาย ปัจจุบันพบว่ามี ประมาณ 250,000 ชนิด

More Related Content

What's hot

การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
firstnarak
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
Wichai Likitponrak
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
Wichai Likitponrak
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
tarcharee1980
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
พัน พัน
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
Anana Anana
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
Biobiome
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kunnanatya Pare
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
พัน พัน
 

What's hot (20)

การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 

Similar to Plant oui

Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
krunidhswk
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
Wichai Likitponrak
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
dnavaroj
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
Krujhim
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
Naddanai Sumranbumrung
 

Similar to Plant oui (20)

อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
1
11
1
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Fungi kindom
Fungi kindomFungi kindom
Fungi kindom
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
 

More from Oui Nuchanart

การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
Oui Nuchanart
 

More from Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
 

Plant oui