SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
ภารกิจสถานการณ์ปัญหา
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา
การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ
เรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการ
อธิบาย
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ
เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ
เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
ภารกิจที่ 1
ภารกิจที่ 2
การที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ เราควรจะใช้การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการจัดการเรียนการสอน
จะเน้นการใช้วิธีการต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้อง
กับสภาพชีวิตจริง ซึ่งผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ที่จะ
นามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ๆ และมีการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
และการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
นั้น จะต้องมีรูปแบบหรือวิธีการต่างๆ ดังนี้
1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) เป็นการบูรณาการ
เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการ
ออกแบบร่วมกับสื่อหรือเทคโนโลยี โดยแยกตามลักษณะของสื่อได้ 3 รูปแบบ คือ
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย (2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัค
ติวิสต์ (3) ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) การเรียนรู้แบบออนไลน์เป็น
การศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต
(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความ
สนใจของตน โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ
ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ
โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได้ทุก
เวลา และทุกสถานที่ ซึ่งการให้บริการการเรียนแบบออนไลน์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ
4 ส่วน ได้แก่ เนื้อหาของบทเรียน ระบบบริหารการเรียน การติดต่อสื่อสาร และการ
สอบ/วัดผลการเรียน โดยแต่ละส่วนจะต้องได้รับการออกแบบเป็นอย่างดี เพราะเมื่อ
นามาประกอบเข้าด้วยกันแล้วระบบทั้งหมดจะต้องทางานประสานกันได้อย่างลงตัว
3.หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็นคาที่ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มี
ลักษณะคล้ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตอล โดยแสดงให้เห็นบน
จอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ซึ่งอาจจะมีทั้ง
ลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี
และเสียงอื่นๆ ที่ประกอบตัว และขณะนี้มีราคาหลายระดับ
4.ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) มาจากคาว่า Electronic Library หรือ
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์
แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ใน
ลักษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและ
ห้องสมุดเสมือน เทคโนโลยีของห้องห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้
1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บ
สารสนเทศ และสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ ตลอดจนการส่งข้อมูล
ระยะไกล ทาได้โดยการจัดเก็บในรูปดิจิตอล ได้แก่ ซีดีรอม หรือจัดเก็บในฮาร์ดดิสต์
2. ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่งสารสนเทศ
อื่น ๆ ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆได้ทั่วโลก
3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ต้องการโดยไม่
ต้องมายังห้องสมุด มี 4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร
และทางอินเตอร์เน็ต
5. แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอน
ต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญโดยใช้
เทคโนโลยีเข้ามาสร้างเสริม ซึ่งสังเคราะห์จากทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม และคุณลักษณะของโปรแกรมทางด้าน ICT ดังกรอบ
แนวคิดในการจัดการเรียนรู้ดังนี้
ภารกิจที่ 3
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร
โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสาหรับโรงเรียนนี้คือ ระบบอินเตอร์เน็ต เนื่องจาก
เป็นโรงเรียนที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ อินเตอร์เน็ตจะเป็นตัวช่วยให้นักเรียน
สามารถเข้าถึงข่าวสาร ข้อมูลและก้าวทันการเรียนรู้ของเพื่อนในโรงเรียนอื่นๆได้
และเทคโนโลยีสารสนเทศอีกอย่างที่เหมาะสาหรับโรงเรียนนี้คือ การเรียนรู้ผ่าน
สัญญาณดาวเทียมเพราะโรงเรียนแห่งนี้เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกล และอยู่ในถิ่น
ธุระกันดาร การเรียนรู้ผ่านสัญญาณดาวเทียมจึงเป็นเทคโนโลยีอีกอย่างหนึ่งที่ช่วย
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในแบบที่เพื่อนโรงเรียนอื่นๆกาลังเรียนเช่นเดียวกัน
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อม
ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่
ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
เทคโนโลยีที่เหมาะสาหรับโรงเรียนนี้คือ การเรียนผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือ
E-learning เพราะว่าจานวนครูที่น้อยทาให้ไม่พอกับจานวนนักเรียน การเรียน
ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตนี้จะเป็นตัวช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้กับครูได้ง่ายขึ้นโดยที่
ตัวครูกับนักเรียนเองไม่จาเป็นต้องอยู่ใกล้กันก็ได้ เพราะที่โรงเรียนเองก็มีระบบ
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงอยู่แล้ว

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้Amu P Thaiying
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5micnattawat
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงFame Suraw
 

Was ist angesagt? (17)

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Powerpoint5
Powerpoint5Powerpoint5
Powerpoint5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
 

Andere mochten auch

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7oraya-s
 
Countries and regions of the world m A to Z
Countries and regions of the world m A to ZCountries and regions of the world m A to Z
Countries and regions of the world m A to ZLearn English
 
Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016
Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016
Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016Ana-Maria Gavrila
 
We Can't Delay!
We Can't Delay!We Can't Delay!
We Can't Delay!boisejim
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3
สถานการณ์ปัญหาบทที่  3สถานการณ์ปัญหาบทที่  3
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3oraya-s
 

Andere mochten auch (15)

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
 
Hiv mapo
Hiv mapoHiv mapo
Hiv mapo
 
Countries and regions of the world m A to Z
Countries and regions of the world m A to ZCountries and regions of the world m A to Z
Countries and regions of the world m A to Z
 
Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016
Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016
Personal branding Advisory-AnaMariaGavrila_2016
 
Energy efficiency
Energy efficiencyEnergy efficiency
Energy efficiency
 
Holy river ganga
Holy river gangaHoly river ganga
Holy river ganga
 
We Can't Delay!
We Can't Delay!We Can't Delay!
We Can't Delay!
 
LOS CINCO SENTIDOS
LOS CINCO SENTIDOSLOS CINCO SENTIDOS
LOS CINCO SENTIDOS
 
World war I
World war IWorld war I
World war I
 
Human system
Human systemHuman system
Human system
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3
สถานการณ์ปัญหาบทที่  3สถานการณ์ปัญหาบทที่  3
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3
 

Ähnlich wie สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้Nichaya100376
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6pooming
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57สมใจ จันสุกสี
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาSasitorn Seajew
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑suwanna champasak
 

Ähnlich wie สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6 (20)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6

  • 2. ภารกิจสถานการณ์ปัญหา 1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ เรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการ อธิบาย โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
  • 4. ภารกิจที่ 2 การที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ เราควรจะใช้การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการจัดการเรียนการสอน จะเน้นการใช้วิธีการต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้อง กับสภาพชีวิตจริง ซึ่งผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ที่จะ นามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ๆ และมีการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นั้น จะต้องมีรูปแบบหรือวิธีการต่างๆ ดังนี้ 1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) เป็นการบูรณาการ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการ ออกแบบร่วมกับสื่อหรือเทคโนโลยี โดยแยกตามลักษณะของสื่อได้ 3 รูปแบบ คือ (1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย (2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัค ติวิสต์ (3) ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
  • 5. 2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) การเรียนรู้แบบออนไลน์เป็น การศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความ สนใจของตน โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได้ทุก เวลา และทุกสถานที่ ซึ่งการให้บริการการเรียนแบบออนไลน์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ 4 ส่วน ได้แก่ เนื้อหาของบทเรียน ระบบบริหารการเรียน การติดต่อสื่อสาร และการ สอบ/วัดผลการเรียน โดยแต่ละส่วนจะต้องได้รับการออกแบบเป็นอย่างดี เพราะเมื่อ นามาประกอบเข้าด้วยกันแล้วระบบทั้งหมดจะต้องทางานประสานกันได้อย่างลงตัว
  • 6.
  • 7. 3.หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็นคาที่ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตอล โดยแสดงให้เห็นบน จอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ซึ่งอาจจะมีทั้ง ลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี และเสียงอื่นๆ ที่ประกอบตัว และขณะนี้มีราคาหลายระดับ 4.ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) มาจากคาว่า Electronic Library หรือ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ใน ลักษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและ ห้องสมุดเสมือน เทคโนโลยีของห้องห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ 1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บ สารสนเทศ และสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ ตลอดจนการส่งข้อมูล ระยะไกล ทาได้โดยการจัดเก็บในรูปดิจิตอล ได้แก่ ซีดีรอม หรือจัดเก็บในฮาร์ดดิสต์
  • 8. 2. ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆ ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆได้ทั่วโลก 3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ต้องการโดยไม่ ต้องมายังห้องสมุด มี 4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร และทางอินเตอร์เน็ต 5. แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอน ต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญโดยใช้ เทคโนโลยีเข้ามาสร้างเสริม ซึ่งสังเคราะห์จากทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม และคุณลักษณะของโปรแกรมทางด้าน ICT ดังกรอบ แนวคิดในการจัดการเรียนรู้ดังนี้
  • 9.
  • 10. ภารกิจที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสาหรับโรงเรียนนี้คือ ระบบอินเตอร์เน็ต เนื่องจาก เป็นโรงเรียนที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ อินเตอร์เน็ตจะเป็นตัวช่วยให้นักเรียน สามารถเข้าถึงข่าวสาร ข้อมูลและก้าวทันการเรียนรู้ของเพื่อนในโรงเรียนอื่นๆได้ และเทคโนโลยีสารสนเทศอีกอย่างที่เหมาะสาหรับโรงเรียนนี้คือ การเรียนรู้ผ่าน สัญญาณดาวเทียมเพราะโรงเรียนแห่งนี้เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกล และอยู่ในถิ่น ธุระกันดาร การเรียนรู้ผ่านสัญญาณดาวเทียมจึงเป็นเทคโนโลยีอีกอย่างหนึ่งที่ช่วย ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในแบบที่เพื่อนโรงเรียนอื่นๆกาลังเรียนเช่นเดียวกัน
  • 11. โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อม ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ เทคโนโลยีที่เหมาะสาหรับโรงเรียนนี้คือ การเรียนผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือ E-learning เพราะว่าจานวนครูที่น้อยทาให้ไม่พอกับจานวนนักเรียน การเรียน ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตนี้จะเป็นตัวช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้กับครูได้ง่ายขึ้นโดยที่ ตัวครูกับนักเรียนเองไม่จาเป็นต้องอยู่ใกล้กันก็ได้ เพราะที่โรงเรียนเองก็มีระบบ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงอยู่แล้ว