SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 56
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ประชาคมอาเซียน
                                          นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ
                            เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                                       บรรยายให้สานักงานตารวจแห่งชาติ
                              วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2554 เวลา 14.00 – 16.00 น.
                                     ณ ห้องประชุมเดช สนิทวงศ์ อาคาร 1 ชั้น 3
                            สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญ

              1. ประชาคมอาเซียน
                     1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
                     1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                     1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
              2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
              3. แนวทางการเตรียมความพร้อม
              4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11




                                                                                    2
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ความเป็นมา

    ก่อตั้ง :  8 สิงหาคม 2510 โดย รมต. กต. อินโดนีเซีย มาเลเซีย
               ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพ”
    สมาชิก : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน เวียดนาม
               ลาว พม่า และกัมพูชา
    เป้าหมาย : จัดตั้งประชาคมอาเซียนให้ได้ภายในปี 2558 โดยแบ่ง
               ออกเป็น 3 เสาหลัก ได้แก่
               1) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
               2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และ
               3) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน


                                                                                  3
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมอาเซียน

                                                              ประชาคมการเมือง
                                                                ประชาคมการเมือง
                                                                 และความมั่นคง
                                                               และความมั่นคง


                                                                 ประชาคมอาเซียน
                                                                   ประชาคมอาเซียน

                                      ประชาคม
                                        ประชาคม                                     ประชาคมประชาคม
                                        เศรษฐกิจ                                      สังคมและวัฒนธรรม
                                      เศรษฐกิจ                                 สังคมและวัฒนธรรม

                     One Vision, One Identity, One Community
                          หนึงวิสัยทัศน์, หนึงเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม
                             ่               ่                                                           4
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญ

              1. ประชาคมอาเซียน
                     1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
                     1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                     1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
              2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
              3. แนวทางการเตรียมความพร้อม
              4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11




                                                                                    5
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
    เป้าหมาย : เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมเป็นเอกภาพ เอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี
               พัฒนาทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม โดย
                                                                               เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้
                         การพัฒนามนุษย์                                        พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่
                                                                               เหมาะสม ส่งเสริม ICT การเข้าถึง ว&ท
                                                                               ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทาง
              การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม                                     สังคม ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้าน
                                                                               อาหาร การควบคุมโรคติดต่อ
                                                                               คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส แรงงานย้ายถินฐาน
                                                                                                                     ่
                     ความยุติธรรมและสิทธิ
                                                                               ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
                                                                               การจัดการปัญหาสิงแวดล้อมของโลก ปัญหามลพิษ
                                                                                                   ่
            ส่งเสริมความยังยืนด้านสิ่งแวดล้อม
                          ่                                                    ทางสิงแวดล้อมข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพ
                                                                                     ่
                                                                               ภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                                                                               สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ อนุรักษ์มรดกทาง
                  การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน                                     วัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ดาน้
                                                                               วัฒนธรรม ลดช่องว่างการพัฒนา
                                                                                                                               6
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญ

              1. ประชาคมอาเซียน
                     1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
                     1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                     1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
              2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
              3. แนวทางการเตรียมความพร้อม
              4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11




                                                                                    7
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    เป้าหมาย : เพื่อให้ประชาชนของประเทศสมาชิกมีการค้าขายระหว่างกันมากขึ้น มีการไปมาหาสู่
               กันได้อย่างสะดวก และมีศักยภาพในการแข่งขันกับโลกภายนอกได้ โดย

                                                                               เน้นการเคลื่อนย้ายสินค้า การบริการ การลงทุน
             เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
                                                                               เงินทุน และแรงงานมีฝีมือระหว่างกันอย่างเสรี
                                                                               เน้นการดาเนินนโยบายการแข่งขัน การพัฒนา
            มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง                                     โครงสร้างพืนฐาน การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
                                                                                          ้
                                                                               การพัฒนา ICT และพลังงาน

                   มีพัฒนาการทางเศรษฐกิจ                                       ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการขยายตัวของ SMEs
                        ที่เท่าเทียมกัน                                        ให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกใหม่ (CLMV) เพื่อลด
                                                                               ช่องว่างของระดับการพัฒนา

               บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
                     ได้อย่างสมบูรณ์                                           เน้นการจัดทา FTA และ CEP กับประเทศคู่เจรจา


                                                                                                                              8
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ความก้าวหน้า AEC …สู่ “ตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน”
                                                                                          ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ในปี 2553
 ส่งเสริมและคุ้มครอง                                                                         (ยกเว้น CLMV ปี 2558)
   การลงทุนระหว่าง                                                     เปิดเสรีการค้า
ประเทศอาเซียนภายใต้                                                        สินค้า
หลัก National Treatment                                                                                       เปิดเสรีบริการเร่งรัด
                                                                                                               4 สาขา (e-ASEAN,
                                       เปิดเสรี                                            เปิดเสรีการค้า      สุขภาพ, ท่องเที่ยว,
                                                                                                                   โลจิสติกส์)
                                      การลงทุน                                 AEC
                                                                                               บริการ


                                                  เปิดเสรี                           การเคลื่อนย้าย
                                               การเคลื่อนย้าย                        แรงงานมีฝีมือ
   ส่งเสริมการเชื่อมโยง
                                                  เงินทุน                              อย่างเสรี    ลงนาม MRA วิชาชีพ 7 สาขา
  ตลาดทุนระหว่างกันและ
                                                                                                     (วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นัก
   พัฒนาตลาดพันธบัตร
                                                                                                     สารวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และ
มาตรการการเปิดเสรีบัญชีทน
                        ุ
                                                                                                               นักบัญชี)
                                                                                                                               9
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี : เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)

            AFTA              1993 2004 2005 2006 2007 2008 2009                       2010      2012 2013         2015
     Trade in                                                                       ASEAN-6                     ASEAN-10
     Goods                     
                                                                                    ภาษี 0%                      ภาษี 0%
                                              Normal Track                                      CLMV

                                           • ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง <5%
                                           • ไทยมี 4 รายการ คือ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรัง เมล็ดกาแฟดิบ (ปัจจุบันอยูที่
                                                                                            ่                          ่
                                             5%)
          ยกเว้น
                                           • ไม่ต้องลดภาษี
                                           • มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ มี 1 รายการ คือ สินค้าข้าว
                                             และอินโดนีเซียมี 2 รายการ คือ ข้าว และน้้าตาล

        ASEAN Trade                        เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี เช่น พิธีการศุลกากร กระบวน
         Facilitation
         Framework
                                           ทางการค้า สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช เป็นต้น
                                                                                                                          10
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การเคลื่อนย้ายบริการเสรี : เพิ่มสัดส่วนถือหุ้นของต่างชาติในธุรกิจบริการ

                                                                               2549       2551          2553        2556    2558
                      สาขาเร่งรัด 4 สาขา
                 (ICT สุขภาพ ท่องเที่ยว และ                                     49%         51%          70%
                    การขนส่งทางอากาศ)


                          สาขาโลจิสติกส์                                                    49%          51%          70%


                        สาขาอื่นๆ
             (อาทิ บริการด้านวิชาชีพ ก่อสร้าง                                   30%         49%          51%                70%
            จัดจาหน่าย สิ่งแวดล้อม การศึกษา)


                                                                                      สัดส่วนการถือครองหุ้นโดยชาวต่างชาติ


                                                                                                                             11
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี : จัดทา MRAs วิชาชีพ

                                                                               2552        2553                2558
     Skilled Labors
            &                                       จัดท้า MRA สาขา
    Short Term Visits                               อาชีพที่สาคัญ
                                                             ้

                                                      ลงนาม MRA แล้ว 7 ฉบับคือ วิศวกรรม
                                                      พยาบาล สถาปนิก การส้ารวจ ทันตแพทย์
                                                                                                               AEC
                                                      แพทย์ บัญชี
      Sensitive :
       กระทบ
                                                        • ยกเว้นวีซ่าส้าหรับ Short Term Visits และจัดท้า ASEAN
    ตลาดแรงงานใน
                                                          Business Card
       ประเทศ                                           • อ้านวยความสะดวกอื่นๆ ด้านการเคลื่อนย้าย Skilled Labors
                                                        • พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานด้านแรงงานมีฝีมือร่วมกัน


หมายเหตุ อยู่ระหว่างการให้สัตยาบันในความตกลงรับรองคุณสมบัตผู้ทางานซึ้งกันและกัน (MRA) ด้านบุคลากรท่องเที่ยว
                                                          ิ
                                                                                                                      12
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การเปิดเสรีด้านการลงทุน


                                                                          เปิดเสรีภายใต้หลัก
                                                                          National Treatment


                        อานวยความสะดวก                                                            ส่งเสริมการลงทุน
                         และความร่วมมือ                                        หลักการ           (โครงสร้างพื้นฐาน /
                      (ข้อมูลนโยบายระหว่าง                                                         SMEs / CLMV)
                          รัฐ กฎระเบียบ)


                                                              คุ้มครองการลงทุนสาขารวมกิจการ
                                                                   บริการ (เคลื่อนย้ายเงินเสรี
                                                                 ได้รับชดเชยจากรัฐ สิทธิในการ
                                                                          ฟ้องร้องรัฐฯ

                                                                                                                       13
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวในกรอบอาเซียน
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 มุ่งปรับโครงสร้างตลาดการท่องเที่ยว ส่งเสริมการพัฒนา
ท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ ให้เกิดความเชื่อมโยงเส้นทางในภูมิภาค (ASEAN Tourism Connectivity Corridors) และ
สนับสนุนการเดินทางท่องเที่ยวของเยาวชน
                                                                               การท่องเที่ยว
                                                                                ที่มีคุณภาพ     ความปลอดภัย
                                          ขยายตลาด
                                                                                                และความมั่นคง
                                         การท่องเที่ยว
                                                                                               ของการท่องเที่ยว


               อานวยความ
                                                                                                               การตลาดและ
                  สะดวก
                                                                                                             การส่งเสริมร่วมกัน
               ด้านการขนส่ง

   อานวยความ                                                             ASEAN as
 สะดวกการเดินทาง                                                                                                        พัฒนา
  ในอาเซียนและ                                                            a Single                                  ทรัพยากรมนุษย์
  ระหว่างประเทศ                                                          Destination
                                                                                                                                  14
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก AEC

      ตลาดขนาด                                   เพิ่มก้าลัง                   ส่งเสริมแหล่ง
        ใหญ่                                     การต่อรอง                        วัตถุดิบ           กลุ่มที่มีวัตถุดิบและแรงงาน
                                                                                                     เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว
                                                                                  ประโยชน์จาก
       ประชากรขนาดใหญ่                               อ้านาจต่อรอง
                                                                                  ทรัพยากรใน
         (580 ล้านคน)                                   เพิ่มขึ้น
                                                                                    อาเซียน            กลุ่มที่มีความถนัดด้าน
                                                                                                             เทคโนโลยี
                                                                                 วัตถุดิบ & ต้นทุน
          ต้นทุนการผลิต                            มีแนวร่วมในการ                                      สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย
                                                                                     ต่้าลง ขีด
              ลดลง                                 เจรจาในเวทีโลก
                                                                                ความสามารถสูงขึ้น
                                                                                                       กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต
            ดึงดูด                                      ดึงดูด                  สามารถเลือกหาที่            ไทย มาเลเซีย
      การลงทุนและการค้า                              ในการท้า FTA                ได้เปรียบที่สุด        อินโดนีเซีย เวียดนาม




                                                                                                                         15
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญ

              1. ประชาคมอาเซียน
                     1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
                     1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                     1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
              2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
              3. แนวทางการเตรียมความพร้อม
              4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11




                                                                                    16
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

    เป้าหมาย : เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิกมีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน มี
               เสถียรภาพ มีสันติภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

         องค์ประกอบ
                                                                   มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน
                                                                     และค่านิยมร่วมกัน




                                 มีเอกภาพ สงบสุข                                        มีพลวัตร
                              แข็งแกร่ง และรับผิดชอบ                               คงความเป็นศูนย์กลาง
                               แก้ปัญหาความมั่นคง                                 และบทบาทของอาเซียน


                                                                                                         17
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
  1. ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน
 เป้าหมาย : สร้างความแข็งแกร่งแก่ประชาธิปไตย ส่งเสริมธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม ส่งเสริมและ
            คุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน

1.1 ความร่ ว มมื อ ด้ า นการพั ฒ นาการทาง                                      1.2 การสร้ า งและแบ่ ง ปั น กฎเกณฑ์ ร่ ว ม
    การเมือง อาทิ                                                                  ส่ ง เสริ ม บรรทั ด ฐานแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี
          ส่ ง เสริ ม ความเข้ า ใจ การยอมรั บ ระบอบ                               ระดับภูมิภาค อาทิ
           การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของ                                      ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนให้เป็นไป
           สมาชิก                                                                      ตามกฎบัตรอาเซียน
          อานวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล                                       เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ภ า ย ใ ต้
           โดยเสรี เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน                                         สนธิสัญญามิตรภาพ และความร่วมมือ
          ส่งเสริมธรรมภิบาล                                                           ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
          ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
          ป้องกันและปราบปรามการทุจริต




สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
 2.       ภูมิภาคที่มีเอกภาพ สงบสุข และมีความแข็งแกร่ง พร้อมรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติ
เป้าหมาย : ยึดหลักความมั่นคง ทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ เช่น มิติเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิงแวดล้อม การป้องกันความ
                                                                                                     ่
              ขัดแย้ง การสร้างความไว้ใจ การทูตเชิงป้องกัน
                                                                      2.3 สร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง เพื่อวางพื้นฐานการสมานฉันท์
2.1 ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เพื่อลดความ
                                                                          และสร้ างความมั่ นใจว่ าจะไม่ เกิ ดความรุ นแรงในพื้ นที่ ที่ ได้ รั บ
    ตึงเครียด อาทิ
                                                                          ผลกระทบ อาทิ การช่วยเหลือทางมนุษยธรรม
     เสริมสร้างมาตรการการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ โดยแลกเปลี่ยน
       เจ้าหน้าที่ทหารและกลาโหม แบ่งปันข้อมูลระหว่างสมาชิกใน 2.4 ตอบสนองภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทั้งอาชญากรรมข้าม
       การส่งข้อมูลต่อทะเบียนอาวุธตามแบบของสหประชาชาติ                    ชาติ และความท้าทายข้ามแดน อาทิ
     ส่งเสริมความโปร่งใส และความเข้าใจในนโยบายกลาโหม โดย
       พัฒนาระบบเตือนภัยล่วงหน้า                                          เสริมสร้างความร่วมมือการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ
     เสริมสร้างความร่วมมือด้านการป้องกั นทางทหาร และความ                     1) การให้สัตยาบันสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกัน
       มั่ น คงอาเซี ย น โดยพั ฒ นาโครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง               ละกั น เรื่ อ งทางอาญาระหว่ า งประเทศ และการมุ่ ง
       หน่วยงานทหาร                                                              ยกระดับให้เป็นสนธิสัญญาอาเซียน
                                                                              2) เสริมสร้างความยุติธรรมทางอาญาต่ออาชญากรค้ามนุษย์
                                                                              3) เสริมสร้างให้อาเซียนปราศจากยาเสพติด ภายใน 2558
2.2 แก้ไขความขัดแย้งและการระงับข้อพิพาทโดยสันติ เพื่อให้เกิด                  4) ควบคุมการแพร่ขยายของอาญากรรมทางคอมพิวเตอร์
    สันติภาพและความสงบสุขในภูมิภาค ระงับการใช้กาลัง อาทิ                  ให้สัตยาบันในการต่อต้านการก่อการร้ายโดยเร็ว
       พัฒนารูปแบบการระงับข้อพิพาทโดยสันติเพิ่มเติม โดยจัดตั้งกลไก
        ระงับข้อพิพาท
                                                                                       2.5 ความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ และการตอบสนองต่อ
       เสริม สร้า งกิจ กรรมการค้นคว้า วิจัยเรื่องสันติภาพ การจั ดการและ
                                                                                           สถานการณ์ฉุกเฉิน
        การแก้ไขความขัดแย้ง
       ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ในภู มิ ภ าคเพื่ อ ธ ารงไว้ ซึ่ ง สั น ติ ภ าพและ
        เสถียรภาพ
                                                                                       2.6 การตอบสนองต่อประเด็นเร่งด่วน หรือสถานการณ์วิกฤตที่
                                                                                           ส่งผลกระทบอาเซียน
  สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
     3.         ภูมิภาคที่มีพลวัตร คงความเป็นศุนย์กลาง และบทบาทของอาเซียน
 เป้าหมาย : ส่งเสริมและรักษาความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรและเป็นประโยชน์กับประเทศภายนอก เพื่อ
            สันติภาพในโลก และดาเนินบทบาทที่สาคัญในเวทีระดับภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศ
            เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน


3.1 ส่ ง เสริ ม อาเซี ย นให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางใน                             3.2 ส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศภายนอก
    ความร่วมมือระดับภูมิภาคและการสร้าง
                                                                                3.3 เสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ในประเด็ น
    ประชาคม
                                                                                    พหุภาคีที่เป็นความกังวลร่วมกัน




 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญ

              1. ประชาคมอาเซียน
                     1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
                     1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                     1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
              2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
              3. แนวทางการเตรียมความพร้อม
              4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11




                                                                                    21
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
Master plan on ASEAN Connectivity
                                                                  ประชาคมอาเซียน
                           ประชาคมการเมือง                                                    ประชาคมสังคม
                                                                        ประชาคมเศรษฐกิจ
                            และความมั่นคง                                                     และวัฒนธรรม




                          ความเชื่อมโยงด้าน                               ความเชื่อมโยงด้าน   ความเชื่อมโยงด้าน
                           โครงสร้างพี้นฐาน                                  กฎระเบียบ           ประชาชน
                        • คมนาคม                               • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก    • การศึกษาและวัฒนธรรม
                        • ICT                                    ทางการค้า                    • การท่องเที่ยว
                        • พลังงาน                              • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก
                                                                 ในการบริการและการลงทุน
                                                               • ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับ
                                                                 ร่วมกัน
                                                               • ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค
                                                               • พิธีการในการข้ามพรมแดน
                                                               • โครงการเสริมสร้างศักยภาพ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
องค์ประกอบหลักของความเชือมโยงระหว่างกันในอาเซียน
                                                        ่


                                                 • คมนาคม                       เพิ่มพูนการรวมตัวและความ
          ด้านโครงสร้าง                          • เทคโนโลยี ส ารสนเทศ            ร่วมมือของอาเซียน
             พื้นฐาน                               และการสื่อสาร                เพิ่มความสามารถการแข่งขัน
                                                 • พลังงาน                        ในระดับโลกของอาเซียน จาก
                                                                                  เครือข่ายการผลิตในภูมิภาคที่
                                                 • การเปิดเสรีการอานวย            เข้มแข็ง
                                                   ความสะดวกทางการค้า           วิถีชีวิตของประชาชนดีขนึ้
                                                   การบริการและการลงทุน
                                                 • ความตกลง/ข้อตกลง             ปรับปรุงกฎระเบียบและธรร
         ด้านกฎระเบียบ                             ยอมรับร่วมกัน                  มาภิบาลของอาเซียน
                                                 • ความตกลงการขนส่งใน           เชื่อมต่อศูนย์กลางเศรษฐกิจ
                                                   ภูมิภาค
                                                 • พิธีการในการข้าม               และลดช่องว่างการพัฒนา
                                                   พรมแดน                       ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                 • โครงการเสริมสร้าง              และสังคมของท้องถิน่
                                                   ศักยภาพ
                                                                                เพิ่มพูนความพยายามในการ
                                                • การศึกษาและวัฒนธรรม            จัดการกับ และส่งเสริมการ
          ด้านประชาชน                           • การท่องเที่ยว                   พัฒนายังยืน
                                                                                           ่
                                                                                สามารถจัดการกับผลกระทบ
                                                                                 ทางลบที่เกิดจากความเชื่อมโยง
                                                                                                            23
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ก่อสร้างโครงข่ายทางหลวงอาเซียนให้แล้วเสร็จ
สถานะ - การด าเนิ น งานตามบั น ทึ ก ความเข้ า ใจ
ระดับรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาโครงการทางหลวง
อาเซียน เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1999 ยังไม่มีความ
คืบหน้าเท่าที่ควร

ปัญหาอุปสรรค
เส้นทางเชื่อมต่อไม่สมบูรณ์ 227 กม. ในพม่า
ถนนที่ ยั ง ต่ ากว่ า มาตรฐานกว่ า 5,300 กม. ใน 6
ประเทศ ได้แก่ลาว พม่า เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโด
นิเซีย และมาเลเซีย




                                                                        โครงการทางหลวงอาเซียน 23 เส้นทาง 38400 กิโลเมตร


                                            ภายในปี                                     ภายในปี ค.ศ. 2015
                                                                                                                          ภายในปี ค.ศ. 2020
 ภายในปี ค.ศ.2012                           ค.ศ. 2013                            ศึกษาเพื่อเชื่อมโยงประเทศที่เป็น
                                                                                                                          ปรับปรุงถนนส่วนที่
 ปรับปรุงถนนให้ได้                          ติดตั้งป้าย                          เกาะกับแผ่นดินใหญ่ของอาเซียน
                                                                                                                              มีการจราจร
มาตรฐานชั้นที่ 3 เป็น                       จราจรใน                              และเชื่อมโยงทางหลวงอาเซียนไป
                                                                                                                           หนาแน่นให้เป็น
     อย่างน้อย                             ถนนทุกสาย                               ยังจีน/อินเดีย โดยเฉพาะช่วง
                                                                                                                           มาตรฐานชั้นที่ 1
                                            ที่กาหนด                            ฮานอย-ลาวตอนเหนือ-พม่า-อินเดีย
                                                                                                                                          24
 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ด้าเนินโครงการเส้นทางรถไฟสิงค์โปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ
                                                         ให้ ค วามส าคั ญ ล าดั บ สู ง กั บ การพั ฒ นาเส้ น ทางรถไฟฝั่ ง ตะวั น ออก (ไทย กั ม พู ช า
                                                         เวียดนาม) และมีทางเชื่อมสปป.ลาว-เวียดนาม โดยดาเนินการ ดังนี้
                                                         1. ก่อสร้างเส้นทางช่วงที่ขาดหาย
                                                                  ภายในปี 2013
               7                                                  • ปอยเปต-ศรีโสภณ                  48กม. -- กัมพูชา
                             4                                    ภายในปี 2014
                                                                  • อรัญประเทศ-คลองลึก 6 กม. -- ไทย
                                  3                               ภายในปี 2015
                                                                  • พนมเปญ-ล็อกนิน 254 กม. -- กัมพูชา
                             6                                    ภายในปี 2020
                                        5                         • ด่านเจดีย์สามองค์-น้าตก                 153 กม. – ไทย
             2                                                    • ธันบูซายัต- ด่านเจดีย์สามองค์ 110 กม. – พม่า
                         1                                        • เวียงจันทน์-ท่าแขก-มูเกีย              466 กม. – สปป.ลาว
                                                                  • ล็อกนิน-โฮจิมินห์                       129 กม. – เวียดนาม
                                                                  • มูเกีย –ทันอับ –วุงอัง                  119 กม. -- เวียดนาม
                                                         2. จัดทายุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเส้นทางรถไฟสิงค์โปร์ -คุนหมิง ภายในปี
                                                                2013
                                                         3. ระดมทุน และความช่วยเหลือทางวิชาการจากหุ้นส่วนภายนอก ในระดับทวิภาคี
                                                                หรือ ADB
                                                         4. ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อต่อขยายเส้นทางไปเมืองสุราบายา อินโดนิเซีย

                                             1. Singapore–Malaysia – Bangkok – Aranyaprathet – Cambodia – Vietnam – China
                                                      2. Singapore – Malaysia – Bangkok – Three Pagodas Pass – Myanmar – China
                                                      3. Singapore – Malaysia – Bangkok – Nong Khai – Lao PDR – Vietnam – China
                                                      4. Singapore – Malaysia – Bangkok – Nong Khai – Lao PDR – China
                                                      5. Singapore – Malaysia – Bangkok – Ubon Ratchathani – Lao PDR – Vietnam – China
                                                      6. Singapore – Malaysia – Bangkok – Bua Yai – Mukdaharn – Lao PDR – Vietnam - China
                                                                                                                                     25
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วั7. ่ Singapore–Malaysia–Bangkok–Chiang Rai–Chiang Khong/Houy Sai - Lao PDR – China
                                                       นที 16 มิถุนายน 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 3: สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้้าบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกัน

สถานะ – เป็นการขนส่งที่คุ้มค่า เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าการขนส่งรูปแบบอื่นๆ
ข้อจากัด – ขาดการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่เพียงพอ และขาดการกาหนดกรอบนโยบายระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาบริการขนส่งทางน้า
มาตรการสาคัญ – กาหนดแผนพัฒนาเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้าภาคพื้นทวีปในอาเซียน ภายในปี 2012 และเริ่มดาเนินการ

ยุทธศาสตร์ที่ 4: สร้างระบบการขนส่งทางทะเลที่
เชี่อมโยง มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้


            • พัฒนาสมรรถนะ/ศักยภาพท่าเรือ 47
              แห่งภายในปี 2015
            • ก้าหนดเส้นทางเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ
              และน่าเชื่อถือ ที่เชื่อมระหว่างหมู่เกาะ
              และแผ่นดินใหญ่ สอดคล้องกับข้อตกลง
              และเส้นทางระหว่างประเทศที่ส้าคัญ
            • เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้เส้นทาง
              เดินเรือที่เชื่อมโยงกับโลกและภูมิภาค
              และเส้นทางเดินเรือในประเทศ
            • ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อจัดตั้งเครือข่าย
              ระบบการเดินเรือทางทะเลของอาเซียน                                    เส้นทางขนส่งสินค้าสาคัญในอาเซียน

                                                                                                                     26
 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป็นศูนย์กลาง
การขนส่งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอื่นๆ



 ก่อสร้างเส้นทางที่ขาด                                                           ศึกษาเกี่ยวกับศักยภาพของแนว
 หายไปในพม่าตามแนว                                                               เส้นทางการขนส่งต่อเนืองหลาย
                                                                                                          ่
                                                                                 รูปแบบเพื่อให้พื้นที่ต่างๆ เป็น
 EWEC
                                                                                 สะพานเศรษฐกิจในเส้นทางการ
                                                                                 ขนส่งของโลก

  พัฒนา/ปรับปรุงท่าเรือขอบ
  นอก เช่น ย่างกุ้ง ดานัง


                                                                                 กาหนดและพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่ายสินค้า
                                                                                 อาเซียน โดยเฉพาะที่มีอยู่แล้ว ได้แก่
                                                                                 ทางหลวงอาเซียน และเส้นทางรถไฟ
                                                                                 สิงค์โปร์-คุนหมิง



 การพัฒนาท่าเรือน้าลึกทวาย
 (2020)
 ทางหลวงเชื่อมโยงกาญจนบุรี
 และทวาย (2020)
                                                                                  ก่อสร้างสะพานข้ามโขงที่เมือง
 ศึกษา F/S ระบบรางรถไฟระหว่าง
                                                                                  เนีอกเลือง บนทางหลวงหมาย
 กาญจนบุรีและทวาย
                                                                                          เลข 1 กัมพูชา
                                                                                                            27
  สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : เร่งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชาติสมาชิก

     สถานะ - หลายประเทศในอาเซี ย นได้ รั บ การยกย่ อ งระดั บ โลกในด้ า น                                                 ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อพัฒนา
                                                                                                                          อาเซียนเป็นตลาดเทคโนโลยี
     โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                                                                  สารสนเทศและการสือสารเดียว
                                                                                                                                              ่
     ปัญหาและข้อจากัด – ความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงสารสนเทศ โดยเฉพาะ                                                     ภายหลังปี 2015 ในบริบทของการ
     ระหว่ า งพื้ นที่ล้ า หลัง และตั ว เมื อง ซึ่งต้ องได้ รับ การแก้ ไ ขเพื่อลดช่ อ งว่ า ง                            เปิดเสรีสินค้า บริการ การลงทุน
                                                                                                                              และทรัพยากรมนุษย์
     ระหว่างประเทศสมาชิก
                                                                                                   จัดลาดับความสาคัญและกระตุ้นการ
                                                                                                     ใช้โครงสร้างพื้นฐานที่ใช้งานกับ
                                                                                                   อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในโรงเรียน

                                                                                   ทบทวนข้อบังคับการให้บริการระดับ
                                                                                  สากลและนโยบายอื่นๆ เพื่อให้เอื้อต่อ
                                                                                   การใช้งานอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง

                                                              เสริมสร้างความมั่นคง ความเที่ยงตรงของเครือข่าย
                                                              การป้องกันข้อมูล และการประสานงานระหว่างศูนย์
                                                               รักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ โดยการพัฒนา
                                                                       กรอบและมาตรฐานขั้นต่าร่วมกัน

                                               ส่งเสริมความหลากหลายของการ                                                          ภายในปี 2015
                                              เชื่อมโยงระหว่างประเทศในอาเซียน

                      สร้างแนวเส้นทางอินเตอร์เน็ตความเร็ว
                      สูงในอาเซียน โดยกาหนดและพัฒนา
                     สถานที่ในแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อสร้าง                                             ภายในปี 2014
                            การเชื่อมโยงที่มีคุณภาพ

                จัดตั้งศูนย์แม่ข่ายอินเตอร์เน็ต
                            อาเซียน
                                                                                       ภายในปี 2013
                                                                                                                                                  28
  สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 7 : ให้ความส้าคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน
                                                                                                         Trans-ASEAN Gas Pipeline




   ASEAN Power Grid


• ปรับปรุงกฎหมายและกรอบการควบคุมการค้าและการ                                   • จัดท้าแบบจ้าลองการร่วมลงทุนท่อส่งก๊าซในอาเซียน
  เชื่อมโยงไฟฟ้าระดับทวิภาคีและพรมแดน (2008-2010)                              • รับรองมาตรฐานทางเทคนิคร่วมส้าหรับการออกแบบก่อสร้าง
• ปรับปรุงแนวปฏิบัติหรือหลักเกณฑ์มาตรฐานด้านเทคนิควม                             และบ้ารุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน
   กันในด้านการออกแบบ การเดินระบบ และบ้ารุงรักษา (2008-                        • รับรองแบบจ้าลองทางธุรกิจของท่อส่งก๊าซอาเซียน
   2012)
• ก้าหนดและเสนอรูปแบบการระดมเงินทุนส้าหรับโครงข่าย                             • ด้าเนินแผนความปลอดภัยและความมั่นคงส้าหรับการเชื่อมโยง
   ระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน (2008-2011)                                               ระบบท่อส่งก๊าซ
• พัฒนาความเชื่อมโยงระดับทวิภาคี/พหุภาคีและรายงานที่                           • ปรับปรุงและด้าเนินโครงการเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซ
  ประชุม (2008-2015)                                                           • ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อขยายระบบท่อส่งก๊าซไปสู่ BIMP-EAGA
                                                                                                                                     29
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การพัฒนาความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบ
            ยุทธศาสตร์หลัก 1-5                                                                     มาตรการสาคัญ
                                                                                ให้สัตยาบัน เร่งจัดทาพิธีสารให้เสร็จสมบูรณ์และลง
ดาเนินการตามกรอบความตกลง 3 กรอบว่าด้วย
                                                                                นามโดยประเทศสมาชิกในปี 2011 และ
การขนส่ง (การขนส่งสินค้าผ่านแดน สินค้าข้าม
                                                                                เริ่มดาเนินการตามความตกลงฯในปี 2014-2015
แดน และการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ)
                                                                                เร่งดาเนินการตามข้อตกลงในระดับทวิภาคีและอนุ
เริ่มดาเนินโครงการการอานวยความสะดวกด้าน                                         ภูมิภาคที่มีอยู่ เช่น ในกรอบ GMS และ BIMP-
ขนส่งผู้โดยสาร ในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐ                                    EAGA ภายในปี 2013
ต่างๆ เพื่อขจัดปัจจัยขัดขวางการเคลื่อนย้ายเสรี                                  และจัดทาข้อตกลงของอาเซียนว่าด้วยการอานวย
ของยานพาหนะ สินค้า และบุคคลข้ามแดน                                              ความสะดวการขนส่งผูโดยสารทางบก ในปี 2015
                                                                                                        ้

                                                                                เร่งกระบวนการเพื่อให้ความตกลงพหุภาคีในเรื่องที่
                                                                                เกี่ยวข้องมีผลบังคับใช้โดยเร็ว จัดทาความตกลงฯ
สร้างตลาดการบินเดียวในอาเซียน
                                                                                กับจีนในปี 2010 จัดทาแผนงานตั้งตลาดการบิน
                                                                                เดียวอาเซียนในปี 2011 และดาเนินงานในปี 2015

สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน                                          จัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาให้เสร็จในปี 2012 และ
                                                                                พัฒนากรอบการดาเนินงานให้แล้วเสร็จในปี 2015

เพิ่ ม การเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า อย่ า งเสรี ภ ายใน                           ลดมาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี กาหนดมาตรฐาน
ภู มิ ภ าคอาเซี ย น โดยการลดอุ ป สรรคทาง                                        ระดับภูมิภาคร่วมกัน และเพิ่มประสิทธิภาพการ
การค้าภายในระดับภูมิภาค                                                         ตรวจสอบรับรอง ปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกาเนิด
                                                                                สินค้า และประสานกับประเทศคู่เจรจา        30
 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การพัฒนาความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบ
            ยุทธศาสตร์หลัก 6-10                                                               มาตรการสาคัญ
เร่ งพั ฒนาภาคบริ การทางการขนส่ งที่ มี                                        ขจัดข้อจากัดด้านการค้าและบริการสาหรับการ
ประสิทธิภาพและแข่งขันได้ โดยเฉพาะในสาขา                                        ขนส่ง ภายในปี 2013 เร่งเปิดเสรีด้านโทรคมนาคม
โทรคมนาคมและบริการอื่นๆ
                                                                               เร่งดาเนินการใช้ระบบศุลกากรอิเล็คทรอนิกส์ ณ
                                                                               จุดเดียวในระดับประเทศ โดยสมาชิกเดิม ภายในปี
พัฒนาโครงการอานวยความสะดวกทางการค้าใน                                          2008 และ CLMV ภายในปี 2012 และใช้ที่ด่าน
ภูมิภาคอย่างจริงจัง                                                            ภายในปี 2015 ลดขั้นตอนพิธีการด้านศุลกากร
                                                                               จัดทากรอบกฎระเบียบการบริหารพรมแดนที่
                                                                               สอดคล้องกัน ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคธุรกิจล
                                                                               อุตสาหกรรม และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ยกระดั บความสามารถของการบริ หารจั ดการ
พรมแดน                                                                         พัฒนาขั้นตอนการบริหารจัดการพรมแดน (CIQ)
                                                                               บูรณาการขั้นตอนพิธีการศุลกากร ส่งเสริมการ
                                                                               บริหารจัดการร่วมกันระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดจุด
เร่งให้ชาติสมาชิกอาเซียนเปิดรับการลงทุนจาก                                     ตรวจและดาเนินการเดียว ในปี 2013
ภายในและภายนอกภูมิ ภาคภายใต้กฎระเบียบ
การลงทุนที่เป็นธรรม                                                            สร้างรูปแบบการปรับลด/ขจัดอุปสรรคการลงทุน
                                                                               เป็นระยะเพื่อให้มีการลงทุนที่เปิดเสรี
เสริมสร้างความสามารถของสถาบันในพื้นที่ล้า                                      สร้างกระบวนการติดตามในระดับรัฐมนตรี
หลังของภูมิภาคและปรับปรถงการประสานงาน
ด้ า นนโยบาย แผนงาน และโครงการในระดั บ                                         อานวยความสะดวกการให้ความช่วยเหลือทาง
ภูมิภาคและอนุภูมิภาค                                                           วิชาการจากผู้ให้สู่ CLMV ตั้งกลไกและโครงสร้าง
                                                                               เพื่อการประสานของอาเซียนกับ DP อื่นๆ 31
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การส่งเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชน

  1.         ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
            •         จัดตั้งศู นย์ ทรัพ ยากรการเรียนรู้เสมือ นจริง ในด้า นประชาชน วัฒ นธรรม ประวัติ ศาสตร์ และเศรษฐกิจ
                      ภายในปี 2012
            •         สนับสนุนการสร้างหลักสูตร เนื้อ หา สื่อการสอนเกี่ ยวกับอาเซี ยน ภายในปี 2012 และสนับสนุนการ
                      เรียนภาษาของประเทศอาเซี ยนเป็ นภาษาที่สาม
            •         ส่งเสริมการรับรู้ เกี่ยวกับอาเซี ยนตามแผนการสื่อสาร และความเข้าใจอันดีใ นวัฒ นธรรมและ
                      ประวัติศาสตร์ร่วมกั นของอาเซี ยน
            •         สนับสนุนการระดมทุนเพื่อ เสริมสร้างศัก ยภาพของอาเซี ยนร่วมกัน ภายในปี 2013


   1.        ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น




                                                                                                                     32
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญ

              1. ประชาคมอาเซียน
                     1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
                     1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                     1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
              2. แนวทางการเตรียมความพร้อม
              3. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11




                                                                                    33
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
แนวทางการเตรียมความพร้อม

                                   ทาความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน เพื่อให้ เกิ ดความเข้า ใจที่ถูกต้อง
                                    ตรงกัน

                                   สร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ค่านิยมว่าด้วยการไม่
                                    ใช้กาลัง ยึดหลักสันติวิธี และการไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อ
                                    สร้างความสงบ สันติภายในภูมิภาค

                                   เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคง บนพื้นฐาน
                                    ความมั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนการประสานจัดทาข้อมูลกลางในเรื่องอาชญกรรมข้ามชาติ
                                    ในอาเซียน เพื่อใช้แก้ไขปัญหาการก่อการร้าย การค้ายาเสพติด การประพฤติผิดกฎหมาย
                                    และอาชญกรรมข้ามชาติ


                                   เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการทหาร เพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและป้องกัน
                                    ความขัดแย้งที่รนแรง
                                                   ุ


สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
แนวทางการเตรียมความพร้อม
                                   เตรียมความพร้อมสาหรับบุคลากรในสาขาต่างๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่น
                                    เนื่องจากอาเซียนใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประสานงาน ส่วนภาษาท้องถิ่น
                                    ใช้สาหรับการติดต่อสื่อสาร และอานวยความสะดวกต่อประชาชน และนักท่องเที่ยวของ
                                    สมาชิก

                                   ศึกษาข้อมู ลต่า งๆ โดยเฉพาะตัวบทกฎหมายของสมาชิก แต่ละประเทศ เนื่องจากมี
                                    ความแตกต่า งกั น เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ และป้อ งกั น ความ
                                    ขัดแย้งระหว่างประเทศ


                                   ศึ ก ษาวั ฒ นธรรมของสมาชิ ก โดยเฉพาะประเทศที่ มี วั ฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งกั น อาทิ
                                    ชาวมุสลิม เพื่อสร้างความเข้าใจ และการปฏิบัติต่อประชาชนเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง




                                   จัดตั้งสานักงาน/สานัก/ส่วนงาน เพื่อดูแลงานรับผิดชอบงานด้านอาเซียนโดยเฉพาะ ภายใต้
                                    องค์กร


สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญ

              1. ประชาคมอาเซียน
                     1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
                     1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                     1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
              2. แนวทางการเตรียมความพร้อม
              3. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11




                                                                                    36
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
องค์ประกอบยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
     “เน้นการเตรียมพร้อมและปรับตัวสู่บริบทโลกและภูมิภาค สร้างความความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนา
               เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมบทบาทไทยในเวทีระหว่างประเทศ
                      และบรรเทาผลกระทบเชิงลบและประเด็นปัญหาร่วมระหว่างประเทศ”

                              • สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
               

                              • การประเมินความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกัน
               

                              • วัตถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชี้วัด
               

                              • แนวทางการพัฒนา 9 แนวทาง
               

 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie ประชาคมอาเซียน

Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม solarcell2
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558Samran Narinya
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asianApiradee Ae
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPattama Poyangyuen
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECMudhita Ubasika
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3Mudhita Ubasika
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 

Ähnlich wie ประชาคมอาเซียน (20)

Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
58210401112 งาน2ss
58210401112  งาน2ss58210401112  งาน2ss
58210401112 งาน2ss
 
58210401118
5821040111858210401118
58210401118
 
58210401105
5821040110558210401105
58210401105
 
Mix1
Mix1Mix1
Mix1
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 

Mehr von Saran Yuwanna

How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2Saran Yuwanna
 
รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@Saran Yuwanna
 
การแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageการแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageSaran Yuwanna
 
Mobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranMobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranSaran Yuwanna
 
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopเทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopSaran Yuwanna
 
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะการทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะSaran Yuwanna
 
Mobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranMobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranSaran Yuwanna
 
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานการสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานSaran Yuwanna
 
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอการใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอSaran Yuwanna
 
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”Saran Yuwanna
 
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...Saran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นSaran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...Saran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นSaran Yuwanna
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...Saran Yuwanna
 
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 255740 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557Saran Yuwanna
 
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะSaran Yuwanna
 
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Saran Yuwanna
 
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Saran Yuwanna
 
Social media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSocial media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSaran Yuwanna
 

Mehr von Saran Yuwanna (20)

How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2
 
รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@
 
การแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageการแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น page
 
Mobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranMobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaran
 
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopเทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
 
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะการทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
 
Mobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranMobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaran
 
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานการสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
 
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอการใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
 
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
 
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
 
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
 
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
 
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
 
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 255740 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
 
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
 
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
 
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
 
Social media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSocial media for pr สปสช
Social media for pr สปสช
 

ประชาคมอาเซียน

  • 1. ประชาคมอาเซียน นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ บรรยายให้สานักงานตารวจแห่งชาติ วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2554 เวลา 14.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมเดช สนิทวงศ์ อาคาร 1 ชั้น 3 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 2. สาระสาคัญ 1. ประชาคมอาเซียน 1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน 3. แนวทางการเตรียมความพร้อม 4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 2 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 3. ความเป็นมา ก่อตั้ง : 8 สิงหาคม 2510 โดย รมต. กต. อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพ” สมาชิก : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา เป้าหมาย : จัดตั้งประชาคมอาเซียนให้ได้ภายในปี 2558 โดยแบ่ง ออกเป็น 3 เสาหลัก ได้แก่ 1) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และ 3) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 3 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 4. ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมือง ประชาคมการเมือง และความมั่นคง และความมั่นคง ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ประชาคม ประชาคม ประชาคมประชาคม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม One Vision, One Identity, One Community หนึงวิสัยทัศน์, หนึงเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม ่ ่ 4 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 5. สาระสาคัญ 1. ประชาคมอาเซียน 1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน 3. แนวทางการเตรียมความพร้อม 4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 5 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 6. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เป้าหมาย : เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมเป็นเอกภาพ เอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี พัฒนาทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม โดย เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้ การพัฒนามนุษย์ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่ เหมาะสม ส่งเสริม ICT การเข้าถึง ว&ท ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทาง การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม สังคม ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้าน อาหาร การควบคุมโรคติดต่อ คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส แรงงานย้ายถินฐาน ่ ความยุติธรรมและสิทธิ ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ การจัดการปัญหาสิงแวดล้อมของโลก ปัญหามลพิษ ่ ส่งเสริมความยังยืนด้านสิ่งแวดล้อม ่ ทางสิงแวดล้อมข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพ ่ ภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ อนุรักษ์มรดกทาง การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน วัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ดาน้ วัฒนธรรม ลดช่องว่างการพัฒนา 6 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 7. สาระสาคัญ 1. ประชาคมอาเซียน 1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน 3. แนวทางการเตรียมความพร้อม 4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 7 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 8. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหมาย : เพื่อให้ประชาชนของประเทศสมาชิกมีการค้าขายระหว่างกันมากขึ้น มีการไปมาหาสู่ กันได้อย่างสะดวก และมีศักยภาพในการแข่งขันกับโลกภายนอกได้ โดย เน้นการเคลื่อนย้ายสินค้า การบริการ การลงทุน เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว เงินทุน และแรงงานมีฝีมือระหว่างกันอย่างเสรี เน้นการดาเนินนโยบายการแข่งขัน การพัฒนา มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง โครงสร้างพืนฐาน การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ้ การพัฒนา ICT และพลังงาน มีพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการขยายตัวของ SMEs ที่เท่าเทียมกัน ให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกใหม่ (CLMV) เพื่อลด ช่องว่างของระดับการพัฒนา บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ได้อย่างสมบูรณ์ เน้นการจัดทา FTA และ CEP กับประเทศคู่เจรจา 8 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 9. ความก้าวหน้า AEC …สู่ “ตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน” ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ในปี 2553 ส่งเสริมและคุ้มครอง (ยกเว้น CLMV ปี 2558) การลงทุนระหว่าง เปิดเสรีการค้า ประเทศอาเซียนภายใต้ สินค้า หลัก National Treatment เปิดเสรีบริการเร่งรัด 4 สาขา (e-ASEAN, เปิดเสรี เปิดเสรีการค้า สุขภาพ, ท่องเที่ยว, โลจิสติกส์) การลงทุน AEC บริการ เปิดเสรี การเคลื่อนย้าย การเคลื่อนย้าย แรงงานมีฝีมือ ส่งเสริมการเชื่อมโยง เงินทุน อย่างเสรี ลงนาม MRA วิชาชีพ 7 สาขา ตลาดทุนระหว่างกันและ (วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นัก พัฒนาตลาดพันธบัตร สารวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และ มาตรการการเปิดเสรีบัญชีทน ุ นักบัญชี) 9 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 10. การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี : เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) AFTA 1993 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2012 2013 2015 Trade in ASEAN-6 ASEAN-10 Goods  ภาษี 0% ภาษี 0% Normal Track CLMV • ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง <5% • ไทยมี 4 รายการ คือ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรัง เมล็ดกาแฟดิบ (ปัจจุบันอยูที่ ่ ่ 5%) ยกเว้น • ไม่ต้องลดภาษี • มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ มี 1 รายการ คือ สินค้าข้าว และอินโดนีเซียมี 2 รายการ คือ ข้าว และน้้าตาล ASEAN Trade เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี เช่น พิธีการศุลกากร กระบวน Facilitation Framework ทางการค้า สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช เป็นต้น 10 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 11. การเคลื่อนย้ายบริการเสรี : เพิ่มสัดส่วนถือหุ้นของต่างชาติในธุรกิจบริการ 2549 2551 2553 2556 2558 สาขาเร่งรัด 4 สาขา (ICT สุขภาพ ท่องเที่ยว และ 49% 51% 70% การขนส่งทางอากาศ) สาขาโลจิสติกส์ 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ (อาทิ บริการด้านวิชาชีพ ก่อสร้าง 30% 49% 51% 70% จัดจาหน่าย สิ่งแวดล้อม การศึกษา) สัดส่วนการถือครองหุ้นโดยชาวต่างชาติ 11 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 12. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี : จัดทา MRAs วิชาชีพ 2552 2553 2558 Skilled Labors & จัดท้า MRA สาขา Short Term Visits อาชีพที่สาคัญ ้ ลงนาม MRA แล้ว 7 ฉบับคือ วิศวกรรม พยาบาล สถาปนิก การส้ารวจ ทันตแพทย์ AEC แพทย์ บัญชี Sensitive : กระทบ • ยกเว้นวีซ่าส้าหรับ Short Term Visits และจัดท้า ASEAN ตลาดแรงงานใน Business Card ประเทศ • อ้านวยความสะดวกอื่นๆ ด้านการเคลื่อนย้าย Skilled Labors • พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานด้านแรงงานมีฝีมือร่วมกัน หมายเหตุ อยู่ระหว่างการให้สัตยาบันในความตกลงรับรองคุณสมบัตผู้ทางานซึ้งกันและกัน (MRA) ด้านบุคลากรท่องเที่ยว ิ 12 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 13. การเปิดเสรีด้านการลงทุน เปิดเสรีภายใต้หลัก National Treatment อานวยความสะดวก ส่งเสริมการลงทุน และความร่วมมือ หลักการ (โครงสร้างพื้นฐาน / (ข้อมูลนโยบายระหว่าง SMEs / CLMV) รัฐ กฎระเบียบ) คุ้มครองการลงทุนสาขารวมกิจการ บริการ (เคลื่อนย้ายเงินเสรี ได้รับชดเชยจากรัฐ สิทธิในการ ฟ้องร้องรัฐฯ 13 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 14. ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวในกรอบอาเซียน แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 มุ่งปรับโครงสร้างตลาดการท่องเที่ยว ส่งเสริมการพัฒนา ท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ ให้เกิดความเชื่อมโยงเส้นทางในภูมิภาค (ASEAN Tourism Connectivity Corridors) และ สนับสนุนการเดินทางท่องเที่ยวของเยาวชน การท่องเที่ยว ที่มีคุณภาพ ความปลอดภัย ขยายตลาด และความมั่นคง การท่องเที่ยว ของการท่องเที่ยว อานวยความ การตลาดและ สะดวก การส่งเสริมร่วมกัน ด้านการขนส่ง อานวยความ ASEAN as สะดวกการเดินทาง พัฒนา ในอาเซียนและ a Single ทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศ Destination 14 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 15. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก AEC ตลาดขนาด เพิ่มก้าลัง ส่งเสริมแหล่ง ใหญ่ การต่อรอง วัตถุดิบ กลุ่มที่มีวัตถุดิบและแรงงาน เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว ประโยชน์จาก ประชากรขนาดใหญ่ อ้านาจต่อรอง ทรัพยากรใน (580 ล้านคน) เพิ่มขึ้น อาเซียน กลุ่มที่มีความถนัดด้าน เทคโนโลยี วัตถุดิบ & ต้นทุน ต้นทุนการผลิต มีแนวร่วมในการ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย ต่้าลง ขีด ลดลง เจรจาในเวทีโลก ความสามารถสูงขึ้น กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต ดึงดูด ดึงดูด สามารถเลือกหาที่ ไทย มาเลเซีย การลงทุนและการค้า ในการท้า FTA ได้เปรียบที่สุด อินโดนีเซีย เวียดนาม 15 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 16. สาระสาคัญ 1. ประชาคมอาเซียน 1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน 3. แนวทางการเตรียมความพร้อม 4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 16 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 17. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เป้าหมาย : เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิกมีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน มี เสถียรภาพ มีสันติภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน องค์ประกอบ มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และค่านิยมร่วมกัน มีเอกภาพ สงบสุข มีพลวัตร แข็งแกร่ง และรับผิดชอบ คงความเป็นศูนย์กลาง แก้ปัญหาความมั่นคง และบทบาทของอาเซียน 17 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 18. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 1. ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน เป้าหมาย : สร้างความแข็งแกร่งแก่ประชาธิปไตย ส่งเสริมธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม ส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน 1.1 ความร่ ว มมื อ ด้ า นการพั ฒ นาการทาง 1.2 การสร้ า งและแบ่ ง ปั น กฎเกณฑ์ ร่ ว ม การเมือง อาทิ ส่ ง เสริ ม บรรทั ด ฐานแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี  ส่ ง เสริ ม ความเข้ า ใจ การยอมรั บ ระบอบ ระดับภูมิภาค อาทิ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของ  ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนให้เป็นไป สมาชิก ตามกฎบัตรอาเซียน  อานวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล  เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ภ า ย ใ ต้ โดยเสรี เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สนธิสัญญามิตรภาพ และความร่วมมือ  ส่งเสริมธรรมภิบาล ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  ป้องกันและปราบปรามการทุจริต สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 19. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. ภูมิภาคที่มีเอกภาพ สงบสุข และมีความแข็งแกร่ง พร้อมรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติ เป้าหมาย : ยึดหลักความมั่นคง ทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ เช่น มิติเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิงแวดล้อม การป้องกันความ ่ ขัดแย้ง การสร้างความไว้ใจ การทูตเชิงป้องกัน 2.3 สร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง เพื่อวางพื้นฐานการสมานฉันท์ 2.1 ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เพื่อลดความ และสร้ างความมั่ นใจว่ าจะไม่ เกิ ดความรุ นแรงในพื้ นที่ ที่ ได้ รั บ ตึงเครียด อาทิ ผลกระทบ อาทิ การช่วยเหลือทางมนุษยธรรม  เสริมสร้างมาตรการการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ โดยแลกเปลี่ยน เจ้าหน้าที่ทหารและกลาโหม แบ่งปันข้อมูลระหว่างสมาชิกใน 2.4 ตอบสนองภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทั้งอาชญากรรมข้าม การส่งข้อมูลต่อทะเบียนอาวุธตามแบบของสหประชาชาติ ชาติ และความท้าทายข้ามแดน อาทิ  ส่งเสริมความโปร่งใส และความเข้าใจในนโยบายกลาโหม โดย พัฒนาระบบเตือนภัยล่วงหน้า  เสริมสร้างความร่วมมือการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ  เสริมสร้างความร่วมมือด้านการป้องกั นทางทหาร และความ 1) การให้สัตยาบันสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกัน มั่ น คงอาเซี ย น โดยพั ฒ นาโครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ละกั น เรื่ อ งทางอาญาระหว่ า งประเทศ และการมุ่ ง หน่วยงานทหาร ยกระดับให้เป็นสนธิสัญญาอาเซียน 2) เสริมสร้างความยุติธรรมทางอาญาต่ออาชญากรค้ามนุษย์ 3) เสริมสร้างให้อาเซียนปราศจากยาเสพติด ภายใน 2558 2.2 แก้ไขความขัดแย้งและการระงับข้อพิพาทโดยสันติ เพื่อให้เกิด 4) ควบคุมการแพร่ขยายของอาญากรรมทางคอมพิวเตอร์ สันติภาพและความสงบสุขในภูมิภาค ระงับการใช้กาลัง อาทิ  ให้สัตยาบันในการต่อต้านการก่อการร้ายโดยเร็ว  พัฒนารูปแบบการระงับข้อพิพาทโดยสันติเพิ่มเติม โดยจัดตั้งกลไก ระงับข้อพิพาท 2.5 ความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ และการตอบสนองต่อ  เสริม สร้า งกิจ กรรมการค้นคว้า วิจัยเรื่องสันติภาพ การจั ดการและ สถานการณ์ฉุกเฉิน การแก้ไขความขัดแย้ง  ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ในภู มิ ภ าคเพื่ อ ธ ารงไว้ ซึ่ ง สั น ติ ภ าพและ เสถียรภาพ 2.6 การตอบสนองต่อประเด็นเร่งด่วน หรือสถานการณ์วิกฤตที่ ส่งผลกระทบอาเซียน สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 20. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 3. ภูมิภาคที่มีพลวัตร คงความเป็นศุนย์กลาง และบทบาทของอาเซียน เป้าหมาย : ส่งเสริมและรักษาความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรและเป็นประโยชน์กับประเทศภายนอก เพื่อ สันติภาพในโลก และดาเนินบทบาทที่สาคัญในเวทีระดับภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศ เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน 3.1 ส่ ง เสริ ม อาเซี ย นให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางใน 3.2 ส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศภายนอก ความร่วมมือระดับภูมิภาคและการสร้าง 3.3 เสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ในประเด็ น ประชาคม พหุภาคีที่เป็นความกังวลร่วมกัน สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 21. สาระสาคัญ 1. ประชาคมอาเซียน 1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน 3. แนวทางการเตรียมความพร้อม 4. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 21 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 22. Master plan on ASEAN Connectivity ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมือง ประชาคมสังคม ประชาคมเศรษฐกิจ และความมั่นคง และวัฒนธรรม ความเชื่อมโยงด้าน ความเชื่อมโยงด้าน ความเชื่อมโยงด้าน โครงสร้างพี้นฐาน กฎระเบียบ ประชาชน • คมนาคม • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก • การศึกษาและวัฒนธรรม • ICT ทางการค้า • การท่องเที่ยว • พลังงาน • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก ในการบริการและการลงทุน • ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับ ร่วมกัน • ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค • พิธีการในการข้ามพรมแดน • โครงการเสริมสร้างศักยภาพ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 23. องค์ประกอบหลักของความเชือมโยงระหว่างกันในอาเซียน ่ • คมนาคม  เพิ่มพูนการรวมตัวและความ ด้านโครงสร้าง • เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ร่วมมือของอาเซียน พื้นฐาน และการสื่อสาร  เพิ่มความสามารถการแข่งขัน • พลังงาน ในระดับโลกของอาเซียน จาก เครือข่ายการผลิตในภูมิภาคที่ • การเปิดเสรีการอานวย เข้มแข็ง ความสะดวกทางการค้า  วิถีชีวิตของประชาชนดีขนึ้ การบริการและการลงทุน • ความตกลง/ข้อตกลง  ปรับปรุงกฎระเบียบและธรร ด้านกฎระเบียบ ยอมรับร่วมกัน มาภิบาลของอาเซียน • ความตกลงการขนส่งใน  เชื่อมต่อศูนย์กลางเศรษฐกิจ ภูมิภาค • พิธีการในการข้าม และลดช่องว่างการพัฒนา พรมแดน  ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ • โครงการเสริมสร้าง และสังคมของท้องถิน่ ศักยภาพ  เพิ่มพูนความพยายามในการ • การศึกษาและวัฒนธรรม จัดการกับ และส่งเสริมการ ด้านประชาชน • การท่องเที่ยว พัฒนายังยืน ่  สามารถจัดการกับผลกระทบ ทางลบที่เกิดจากความเชื่อมโยง 23 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 24. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ก่อสร้างโครงข่ายทางหลวงอาเซียนให้แล้วเสร็จ สถานะ - การด าเนิ น งานตามบั น ทึ ก ความเข้ า ใจ ระดับรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาโครงการทางหลวง อาเซียน เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1999 ยังไม่มีความ คืบหน้าเท่าที่ควร ปัญหาอุปสรรค เส้นทางเชื่อมต่อไม่สมบูรณ์ 227 กม. ในพม่า ถนนที่ ยั ง ต่ ากว่ า มาตรฐานกว่ า 5,300 กม. ใน 6 ประเทศ ได้แก่ลาว พม่า เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโด นิเซีย และมาเลเซีย โครงการทางหลวงอาเซียน 23 เส้นทาง 38400 กิโลเมตร ภายในปี ภายในปี ค.ศ. 2015 ภายในปี ค.ศ. 2020 ภายในปี ค.ศ.2012 ค.ศ. 2013 ศึกษาเพื่อเชื่อมโยงประเทศที่เป็น ปรับปรุงถนนส่วนที่ ปรับปรุงถนนให้ได้ ติดตั้งป้าย เกาะกับแผ่นดินใหญ่ของอาเซียน มีการจราจร มาตรฐานชั้นที่ 3 เป็น จราจรใน และเชื่อมโยงทางหลวงอาเซียนไป หนาแน่นให้เป็น อย่างน้อย ถนนทุกสาย ยังจีน/อินเดีย โดยเฉพาะช่วง มาตรฐานชั้นที่ 1 ที่กาหนด ฮานอย-ลาวตอนเหนือ-พม่า-อินเดีย 24 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 25. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ด้าเนินโครงการเส้นทางรถไฟสิงค์โปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ ให้ ค วามส าคั ญ ล าดั บ สู ง กั บ การพั ฒ นาเส้ น ทางรถไฟฝั่ ง ตะวั น ออก (ไทย กั ม พู ช า เวียดนาม) และมีทางเชื่อมสปป.ลาว-เวียดนาม โดยดาเนินการ ดังนี้ 1. ก่อสร้างเส้นทางช่วงที่ขาดหาย ภายในปี 2013 7 • ปอยเปต-ศรีโสภณ 48กม. -- กัมพูชา 4 ภายในปี 2014 • อรัญประเทศ-คลองลึก 6 กม. -- ไทย 3 ภายในปี 2015 • พนมเปญ-ล็อกนิน 254 กม. -- กัมพูชา 6 ภายในปี 2020 5 • ด่านเจดีย์สามองค์-น้าตก 153 กม. – ไทย 2 • ธันบูซายัต- ด่านเจดีย์สามองค์ 110 กม. – พม่า 1 • เวียงจันทน์-ท่าแขก-มูเกีย 466 กม. – สปป.ลาว • ล็อกนิน-โฮจิมินห์ 129 กม. – เวียดนาม • มูเกีย –ทันอับ –วุงอัง 119 กม. -- เวียดนาม 2. จัดทายุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเส้นทางรถไฟสิงค์โปร์ -คุนหมิง ภายในปี 2013 3. ระดมทุน และความช่วยเหลือทางวิชาการจากหุ้นส่วนภายนอก ในระดับทวิภาคี หรือ ADB 4. ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อต่อขยายเส้นทางไปเมืองสุราบายา อินโดนิเซีย 1. Singapore–Malaysia – Bangkok – Aranyaprathet – Cambodia – Vietnam – China 2. Singapore – Malaysia – Bangkok – Three Pagodas Pass – Myanmar – China 3. Singapore – Malaysia – Bangkok – Nong Khai – Lao PDR – Vietnam – China 4. Singapore – Malaysia – Bangkok – Nong Khai – Lao PDR – China 5. Singapore – Malaysia – Bangkok – Ubon Ratchathani – Lao PDR – Vietnam – China 6. Singapore – Malaysia – Bangkok – Bua Yai – Mukdaharn – Lao PDR – Vietnam - China 25 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วั7. ่ Singapore–Malaysia–Bangkok–Chiang Rai–Chiang Khong/Houy Sai - Lao PDR – China นที 16 มิถุนายน 2554
  • 26. ยุทธศาสตร์ที่ 3: สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้้าบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกัน สถานะ – เป็นการขนส่งที่คุ้มค่า เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าการขนส่งรูปแบบอื่นๆ ข้อจากัด – ขาดการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่เพียงพอ และขาดการกาหนดกรอบนโยบายระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาบริการขนส่งทางน้า มาตรการสาคัญ – กาหนดแผนพัฒนาเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้าภาคพื้นทวีปในอาเซียน ภายในปี 2012 และเริ่มดาเนินการ ยุทธศาสตร์ที่ 4: สร้างระบบการขนส่งทางทะเลที่ เชี่อมโยง มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้ • พัฒนาสมรรถนะ/ศักยภาพท่าเรือ 47 แห่งภายในปี 2015 • ก้าหนดเส้นทางเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ และน่าเชื่อถือ ที่เชื่อมระหว่างหมู่เกาะ และแผ่นดินใหญ่ สอดคล้องกับข้อตกลง และเส้นทางระหว่างประเทศที่ส้าคัญ • เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้เส้นทาง เดินเรือที่เชื่อมโยงกับโลกและภูมิภาค และเส้นทางเดินเรือในประเทศ • ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อจัดตั้งเครือข่าย ระบบการเดินเรือทางทะเลของอาเซียน เส้นทางขนส่งสินค้าสาคัญในอาเซียน 26 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 27. ยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป็นศูนย์กลาง การขนส่งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอื่นๆ ก่อสร้างเส้นทางที่ขาด ศึกษาเกี่ยวกับศักยภาพของแนว หายไปในพม่าตามแนว เส้นทางการขนส่งต่อเนืองหลาย ่ รูปแบบเพื่อให้พื้นที่ต่างๆ เป็น EWEC สะพานเศรษฐกิจในเส้นทางการ ขนส่งของโลก พัฒนา/ปรับปรุงท่าเรือขอบ นอก เช่น ย่างกุ้ง ดานัง กาหนดและพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่ายสินค้า อาเซียน โดยเฉพาะที่มีอยู่แล้ว ได้แก่ ทางหลวงอาเซียน และเส้นทางรถไฟ สิงค์โปร์-คุนหมิง การพัฒนาท่าเรือน้าลึกทวาย (2020) ทางหลวงเชื่อมโยงกาญจนบุรี และทวาย (2020) ก่อสร้างสะพานข้ามโขงที่เมือง ศึกษา F/S ระบบรางรถไฟระหว่าง เนีอกเลือง บนทางหลวงหมาย กาญจนบุรีและทวาย เลข 1 กัมพูชา 27 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 28. ยุทธศาสตร์ที่ 6 : เร่งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชาติสมาชิก สถานะ - หลายประเทศในอาเซี ย นได้ รั บ การยกย่ อ งระดั บ โลกในด้ า น ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อพัฒนา อาเซียนเป็นตลาดเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศและการสือสารเดียว ่ ปัญหาและข้อจากัด – ความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงสารสนเทศ โดยเฉพาะ ภายหลังปี 2015 ในบริบทของการ ระหว่ า งพื้ นที่ล้ า หลัง และตั ว เมื อง ซึ่งต้ องได้ รับ การแก้ ไ ขเพื่อลดช่ อ งว่ า ง เปิดเสรีสินค้า บริการ การลงทุน และทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศสมาชิก จัดลาดับความสาคัญและกระตุ้นการ ใช้โครงสร้างพื้นฐานที่ใช้งานกับ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในโรงเรียน ทบทวนข้อบังคับการให้บริการระดับ สากลและนโยบายอื่นๆ เพื่อให้เอื้อต่อ การใช้งานอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง เสริมสร้างความมั่นคง ความเที่ยงตรงของเครือข่าย การป้องกันข้อมูล และการประสานงานระหว่างศูนย์ รักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ โดยการพัฒนา กรอบและมาตรฐานขั้นต่าร่วมกัน ส่งเสริมความหลากหลายของการ ภายในปี 2015 เชื่อมโยงระหว่างประเทศในอาเซียน สร้างแนวเส้นทางอินเตอร์เน็ตความเร็ว สูงในอาเซียน โดยกาหนดและพัฒนา สถานที่ในแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อสร้าง ภายในปี 2014 การเชื่อมโยงที่มีคุณภาพ จัดตั้งศูนย์แม่ข่ายอินเตอร์เน็ต อาเซียน ภายในปี 2013 28 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 29. ยุทธศาสตร์ที่ 7 : ให้ความส้าคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน Trans-ASEAN Gas Pipeline ASEAN Power Grid • ปรับปรุงกฎหมายและกรอบการควบคุมการค้าและการ • จัดท้าแบบจ้าลองการร่วมลงทุนท่อส่งก๊าซในอาเซียน เชื่อมโยงไฟฟ้าระดับทวิภาคีและพรมแดน (2008-2010) • รับรองมาตรฐานทางเทคนิคร่วมส้าหรับการออกแบบก่อสร้าง • ปรับปรุงแนวปฏิบัติหรือหลักเกณฑ์มาตรฐานด้านเทคนิควม และบ้ารุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน กันในด้านการออกแบบ การเดินระบบ และบ้ารุงรักษา (2008- • รับรองแบบจ้าลองทางธุรกิจของท่อส่งก๊าซอาเซียน 2012) • ก้าหนดและเสนอรูปแบบการระดมเงินทุนส้าหรับโครงข่าย • ด้าเนินแผนความปลอดภัยและความมั่นคงส้าหรับการเชื่อมโยง ระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน (2008-2011) ระบบท่อส่งก๊าซ • พัฒนาความเชื่อมโยงระดับทวิภาคี/พหุภาคีและรายงานที่ • ปรับปรุงและด้าเนินโครงการเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซ ประชุม (2008-2015) • ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อขยายระบบท่อส่งก๊าซไปสู่ BIMP-EAGA 29 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 30. การพัฒนาความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบ ยุทธศาสตร์หลัก 1-5 มาตรการสาคัญ ให้สัตยาบัน เร่งจัดทาพิธีสารให้เสร็จสมบูรณ์และลง ดาเนินการตามกรอบความตกลง 3 กรอบว่าด้วย นามโดยประเทศสมาชิกในปี 2011 และ การขนส่ง (การขนส่งสินค้าผ่านแดน สินค้าข้าม เริ่มดาเนินการตามความตกลงฯในปี 2014-2015 แดน และการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ) เร่งดาเนินการตามข้อตกลงในระดับทวิภาคีและอนุ เริ่มดาเนินโครงการการอานวยความสะดวกด้าน ภูมิภาคที่มีอยู่ เช่น ในกรอบ GMS และ BIMP- ขนส่งผู้โดยสาร ในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐ EAGA ภายในปี 2013 ต่างๆ เพื่อขจัดปัจจัยขัดขวางการเคลื่อนย้ายเสรี และจัดทาข้อตกลงของอาเซียนว่าด้วยการอานวย ของยานพาหนะ สินค้า และบุคคลข้ามแดน ความสะดวการขนส่งผูโดยสารทางบก ในปี 2015 ้ เร่งกระบวนการเพื่อให้ความตกลงพหุภาคีในเรื่องที่ เกี่ยวข้องมีผลบังคับใช้โดยเร็ว จัดทาความตกลงฯ สร้างตลาดการบินเดียวในอาเซียน กับจีนในปี 2010 จัดทาแผนงานตั้งตลาดการบิน เดียวอาเซียนในปี 2011 และดาเนินงานในปี 2015 สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน จัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาให้เสร็จในปี 2012 และ พัฒนากรอบการดาเนินงานให้แล้วเสร็จในปี 2015 เพิ่ ม การเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า อย่ า งเสรี ภ ายใน ลดมาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี กาหนดมาตรฐาน ภู มิ ภ าคอาเซี ย น โดยการลดอุ ป สรรคทาง ระดับภูมิภาคร่วมกัน และเพิ่มประสิทธิภาพการ การค้าภายในระดับภูมิภาค ตรวจสอบรับรอง ปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกาเนิด สินค้า และประสานกับประเทศคู่เจรจา 30 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 31. การพัฒนาความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบ ยุทธศาสตร์หลัก 6-10 มาตรการสาคัญ เร่ งพั ฒนาภาคบริ การทางการขนส่ งที่ มี ขจัดข้อจากัดด้านการค้าและบริการสาหรับการ ประสิทธิภาพและแข่งขันได้ โดยเฉพาะในสาขา ขนส่ง ภายในปี 2013 เร่งเปิดเสรีด้านโทรคมนาคม โทรคมนาคมและบริการอื่นๆ เร่งดาเนินการใช้ระบบศุลกากรอิเล็คทรอนิกส์ ณ จุดเดียวในระดับประเทศ โดยสมาชิกเดิม ภายในปี พัฒนาโครงการอานวยความสะดวกทางการค้าใน 2008 และ CLMV ภายในปี 2012 และใช้ที่ด่าน ภูมิภาคอย่างจริงจัง ภายในปี 2015 ลดขั้นตอนพิธีการด้านศุลกากร จัดทากรอบกฎระเบียบการบริหารพรมแดนที่ สอดคล้องกัน ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคธุรกิจล อุตสาหกรรม และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยกระดั บความสามารถของการบริ หารจั ดการ พรมแดน พัฒนาขั้นตอนการบริหารจัดการพรมแดน (CIQ) บูรณาการขั้นตอนพิธีการศุลกากร ส่งเสริมการ บริหารจัดการร่วมกันระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดจุด เร่งให้ชาติสมาชิกอาเซียนเปิดรับการลงทุนจาก ตรวจและดาเนินการเดียว ในปี 2013 ภายในและภายนอกภูมิ ภาคภายใต้กฎระเบียบ การลงทุนที่เป็นธรรม สร้างรูปแบบการปรับลด/ขจัดอุปสรรคการลงทุน เป็นระยะเพื่อให้มีการลงทุนที่เปิดเสรี เสริมสร้างความสามารถของสถาบันในพื้นที่ล้า สร้างกระบวนการติดตามในระดับรัฐมนตรี หลังของภูมิภาคและปรับปรถงการประสานงาน ด้ า นนโยบาย แผนงาน และโครงการในระดั บ อานวยความสะดวกการให้ความช่วยเหลือทาง ภูมิภาคและอนุภูมิภาค วิชาการจากผู้ให้สู่ CLMV ตั้งกลไกและโครงสร้าง เพื่อการประสานของอาเซียนกับ DP อื่นๆ 31 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 32. การส่งเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชน 1. ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น • จัดตั้งศู นย์ ทรัพ ยากรการเรียนรู้เสมือ นจริง ในด้า นประชาชน วัฒ นธรรม ประวัติ ศาสตร์ และเศรษฐกิจ ภายในปี 2012 • สนับสนุนการสร้างหลักสูตร เนื้อ หา สื่อการสอนเกี่ ยวกับอาเซี ยน ภายในปี 2012 และสนับสนุนการ เรียนภาษาของประเทศอาเซี ยนเป็ นภาษาที่สาม • ส่งเสริมการรับรู้ เกี่ยวกับอาเซี ยนตามแผนการสื่อสาร และความเข้าใจอันดีใ นวัฒ นธรรมและ ประวัติศาสตร์ร่วมกั นของอาเซี ยน • สนับสนุนการระดมทุนเพื่อ เสริมสร้างศัก ยภาพของอาเซี ยนร่วมกัน ภายในปี 2013 1. ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น 32 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 33. สาระสาคัญ 1. ประชาคมอาเซียน 1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. แนวทางการเตรียมความพร้อม 3. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 33 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 34. แนวทางการเตรียมความพร้อม  ทาความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน เพื่อให้ เกิ ดความเข้า ใจที่ถูกต้อง ตรงกัน  สร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ค่านิยมว่าด้วยการไม่ ใช้กาลัง ยึดหลักสันติวิธี และการไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อ สร้างความสงบ สันติภายในภูมิภาค  เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคง บนพื้นฐาน ความมั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนการประสานจัดทาข้อมูลกลางในเรื่องอาชญกรรมข้ามชาติ ในอาเซียน เพื่อใช้แก้ไขปัญหาการก่อการร้าย การค้ายาเสพติด การประพฤติผิดกฎหมาย และอาชญกรรมข้ามชาติ  เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการทหาร เพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและป้องกัน ความขัดแย้งที่รนแรง ุ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 35. แนวทางการเตรียมความพร้อม  เตรียมความพร้อมสาหรับบุคลากรในสาขาต่างๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่น เนื่องจากอาเซียนใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประสานงาน ส่วนภาษาท้องถิ่น ใช้สาหรับการติดต่อสื่อสาร และอานวยความสะดวกต่อประชาชน และนักท่องเที่ยวของ สมาชิก  ศึกษาข้อมู ลต่า งๆ โดยเฉพาะตัวบทกฎหมายของสมาชิก แต่ละประเทศ เนื่องจากมี ความแตกต่า งกั น เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ และป้อ งกั น ความ ขัดแย้งระหว่างประเทศ  ศึ ก ษาวั ฒ นธรรมของสมาชิ ก โดยเฉพาะประเทศที่ มี วั ฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งกั น อาทิ ชาวมุสลิม เพื่อสร้างความเข้าใจ และการปฏิบัติต่อประชาชนเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง  จัดตั้งสานักงาน/สานัก/ส่วนงาน เพื่อดูแลงานรับผิดชอบงานด้านอาเซียนโดยเฉพาะ ภายใต้ องค์กร สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 36. สาระสาคัญ 1. ประชาคมอาเซียน 1.1 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. แนวทางการเตรียมความพร้อม 3. ร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 36 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 37. องค์ประกอบยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม “เน้นการเตรียมพร้อมและปรับตัวสู่บริบทโลกและภูมิภาค สร้างความความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนา เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมบทบาทไทยในเวทีระหว่างประเทศ และบรรเทาผลกระทบเชิงลบและประเด็นปัญหาร่วมระหว่างประเทศ” • สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง  • การประเมินความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกัน  • วัตถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชี้วัด  • แนวทางการพัฒนา 9 แนวทาง  สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554