SlideShare a Scribd company logo
1
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
ใช้เทคโนโลยีเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งสู่
‘ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองสามน้ำ�’
บทความ Article
ที่ปรึกษา ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ, อรรถกร ศิริสุวรรณ
กองบรรณาธิการ ชนานันท์ คงธนาฤทธิ์, อาทิตย์ ลมูลปลั่ง, ศราวุธ โต๊ะเจริญ
ศิลปกรรม ชุมพล พินิจธนสาร
ทีมงาน NSTDA e-newsletter
ผู้ผลิต
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ายเผยแพร่วิทยาศาสตร์
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 71725 โทรสาร 0 2564 7078
http://www.nstda.or.th/
อีเมล pr@nstda.or.th
2
7
3
8
5
10
6
11
12
13
14
20
15
21
16
22
17
23
18
24
19
25
4
9
ในเล่ม Insight
26
ข่าว News
ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจาก ‘เปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่’
สวทช. จัดงาน NAC2023 โชว์ขุมพลังวิจัย เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG จัด
ยิ่งใหญ่ 28-31 มี.ค. 66 ณ อุทยานวิทย์ฯ จ.ปทุมธานี
วช. สวทช. สกสว. นำ�ทัพงานวิจัยเพื่อ SMEs จัดแสดงในงาน Innovative House
Awards 2023 สร้างสินค้านวัตกรรมขับเคลื่อนธุรกิจ
สวทช. รับโล่รางวัล "คุณธรรมต้นแบบโดดเด่น" ต่อเนื่อง 2 ปีซ้อน (ปี 2564-2565)
สวทช. ประกาศผลรางวัล YSC2023 การประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์
ครั้งที่ 25
ไบโอเทค สวทช. เปิดโรงงานต้นแบบชีวกระบวนการไบโอเทค มาตรฐานสากล ตอบโจทย์
อุตสาหกรรมฐานชีวภาพ
สวทช. ผนึกกำ�ลัง ดีป้า หนุนผู้ประกอบการ-สตาร์ตอัป เปิดตัว “ศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบ
รวดเร็ว-TD-X Center” เร่งสปีดงานวิจัยสู่ตลาด
สวทช. ร่วมกับ วช. จัดกิจกรรมโครงการรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายฝึกทักษะ
วิจัย/ครูวิทยาศาสตร์
นาโนเทค สวทช. พัฒนาอนุภาคนาโนนำ�ส่งสารกลุ่มกัญชา-กัญชง ติดปีกอุตสาหกรรม
เวชสำ�อาง
นาโนเทค สวทช. พัฒนาสเปรย์เติมความ “สด” ให้พืช ‘iPlant Multipurpose Spray’
ตอบโจทย์ธุรกิจส่งออกพืชเมืองหนาว
นาโนเทค สวทช. ต่อยอด Nano Coating สู่น้ำ�ยาเคลือบพื้นผิวโซลาร์เซลล์ “ลดฝุ่น
เกาะ-สะท้อนน้ำ�” นวัตกรรมตอบโมเดลเศรษฐกิจ BCG ด้านเศรษฐกิจสีเขียว
ผู้บริหาร สวทช. ร่วมแสดงความยินดีกับศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
ประจําปี 2565
สวทช. ร่วมกับ กสทช. เปิดตัว “โครงการยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์
หุ่นยนต์บริการ และผลิตภัณฑ์ IoT ของไทยสู่อาเซียน”
สปสช. ผนึกความร่วมมือ สวทช. รุกพัฒนา “นวัตกรรมบริการสุขภาพระบบบัตรทอง”
สวทช. ร่วมผนึกกำ�ลัง มข. เสริมแกร่งทางวิชาการ เดินหน้าการวิจัย สร้างและขยายนวัตกรรม
การตรวจโรควัณโรค
การประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช. ครั้งที่ 18 ‘NAC2023’ โชว์ขุมพลังวิจัย ‘ขับเคลื่อน BCG
สู่ความยั่งยืน’ เริ่มแล้ว 28-31 มี.ค. ที่ อุทยานวิทยาศาสตร์ฯ ปทุมธานี
สวทช. เปิดสูตรสำ�เร็จโครงการ “TIME” ยกระดับขีดความสามารถ พัฒนา ‘บุคลากรทักษะสูง’
ตอบโจทย์อุตสาหกรรม
ไบโอเทค สวทช. จับมือกรมประมง ในการคัดกรอง ทดสอบและพัฒนาวิธีการผลิตเชื้อจุลินทรีย์
สำ�หรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� เพื่อแจกจ่ายให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์จริง
ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. ได้รับการรับรองมาตรฐานสถานที่จัดงาน
ประเทศไทย ‘TMVS’ จากทีเส็บ
สวทช. ต้อนรับผู้ประกอบการ-เครือข่ายเกษตรกร จ.ปทุมธานี เยี่ยมชมโรงงานต้นแบบผลิตพืช
สวทช. จัดสัมมนาวิชาการและส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์อวกาศ ให้สถาบันการศึกษา 20 แห่ง
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำ�หรับเยาวชนไทย
สวทช. จัดสัมมนาเรื่อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านโอมิกส์ ที่นำ�ไปสู่การปรับปรุงพันธุ์
แบบแม่นยำ� และโอกาสของประเทศไทย ในการเป็นผู้นำ�การส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชระดับโลก
สวทช. ชวน ‘คนดัง’ สายกรีน เปิดมุมมองส่งเสริมแนวคิด Circular economy เพื่อวิถีชีวิตที่ยั่งยืน
สำ�หรับเยาวชนคนรุ่นใหม่
เอ็มเทค สวทช. เปิดตัวนวัตกรรม ชุดเอ็กโซสูท (Exosuits) “เรเชล (Rachel)” และ “รอส
(Ross)” นวัตกรรมชุดบอดี้สูทสำ�หรับสังคมอายุยืน ตัวช่วยผู้สูงอายุและผู้ดูแล
สวทช. มอบประกาศนียบัตรผู้สอบผ่านโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE)
2 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(1 มีีนาคม 2566) ที่่�ห้้องแถลงข่่าว ชั้้�น 1 กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อว.): ศาสตราจารย์์ ดร.ชููกิิจ
ลิิมปิิจำนงค์์ ผู้้�อำนวยการสำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ (สวทช.) ดร.วรรณพ วิิเศษสงวน ผู้้�อำนวยการศููนย์์พัันธุุ
วิิศวกรรมและเทคโนโลยีีชีีวภาพแห่่งชาติิ (ไบโอเทค) สวทช. พร้้อมด้้วย ดร.จุุฬารััตน์์ ตัันประเสริิฐ รองผู้้�อำนวยการ สวทช. นำทีีมนัักวิิจััย
สวทช. และหน่่วยงานพัันธมิิตร โดยมีี ดร.ดนุุช ตัันเทอดทิิตย์์ เลขานุุการรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวง อว. ร่่วมเป็็นเกีียรติิในงานแถลงข่่าวการ
จััดการประชุุมวิิชาการประจำปีี สวทช. ครั้้�งที่่� 18 (18th NSTDA Annual Conference: NAC2023) ภายใต้้แนวคิิด “สวทช. : ขุุมพลัังหลััก
วทน. เร่่งการขัับเคลื่่�อนโมเดลเศรษฐกิิจ BCG สู่่�ความยั่่�งยืืน” (NSTDA: STI powerhouse to drive BCG economy for Thailand's
sustainabledevelopment) โดยจััดออนไซต์์เต็็มรููปแบบที่่�อุุทยานวิิทยาศาสตร์์ประเทศไทย ต.คลองหนึ่่�ง อ.คลองหลวง จ.ปทุุมธานีี ระหว่่าง
วัันที่่� 28-31 มีีนาคม 2566
อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�มเติิม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nac2023-press/
สวทช. จัดงาน NAC2023 โชว์ขุมพลังวิจัย
เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG
จัดยิ่งใหญ่ 28-31 มี.ค. 66 ณ อุทยานวิทย์ฯ จ.ปทุมธานี
3
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(1 มีีนาคม2566) ณ โรงละครเคแบงก์์สยามพิิฆเนศ กรุุงเทพมหานคร: ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วีีรชััย อาจหาญ ผู้้�ช่่วยผู้้�อำนวยการสำนัักงาน
พััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ(สวทช.) นางสุุภาพร โชคเฉลิิมวงศ์์ ผู้้�อำนวยการกองบริิหารทุุนวิิจััยและนวััตกรรม1 สำนัักงาน
การวิิจััยแห่่งชาติิ (วช.) และ ดร.อติิชาต พฤฒิิกััลป์์ ที่่�ปรึึกษาสำนัักงานคณะกรรมการส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (สกสว.)
ภายใต้้กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อว.) เข้้าร่่วมพิิธีีเปิิดงาน INNOVATIVE HOUSE WE MAKE IT CHANGE
BYNRCT+NSTDA+TSRI ซึ่่�งเป็็นกิิจกรรมภายใต้้โครงการ “การสนัับสนุุนการวิิจััยเพื่่�อพััฒนาศัักยภาพของผู้้�ประกอบการขนาดเล็็กและขนาด
กลางในกลุ่่�มอุุตสาหกรรมอาหารและอุุตสาหกรรมอื่่�นที่่�เกี่่�ยวข้้อง” ที่่�มุ่่�งเน้้นให้้ความช่่วยเหลืือผู้้�ประกอบการ SMEs ในด้้านการสนัับสนุุนทุุน
วิิจััยด้้วยการสร้้างองค์์ความรู้้�ที่่�เหมาะสม ผ่่านกระบวนการวิิจััยทางวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี ร่่วมกัับการจััดการด้้านธุุรกิิจและการออกแบบ
พััฒนาบรรจุุภััณฑ์์ ซึ่่�งจะทำให้้ผู้้�ประกอบการที่่�เข้้าร่่วมโครงการได้้เข้้าถึึงองค์์ความรู้้� เทคโนโลยีีและนำนวััตกรรมที่่�ได้้ไปใช้้ในการแก้้ไข
ปรัับปรุุง และพััฒนาผลิิตภััณฑ์์จนสามารถผลัักดัันสิินค้้าไปสู่่�เชิิงพาณิิชย์์
อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�มเติิม https://www.nstda.or.th/home/news_post/innovative-house-awards-2023/
วช. สวทช. สกสว. นำ�ทัพงานวิจัยเพื่อ SMEs
จัดแสดงในงาน Innovative House Awards 2023
สร้างสินค้านวัตกรรมขับเคลื่อนธุรกิจ
4 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(3 มีีนาคม 2566) ณ ห้้องนิิทรรศการ 5 ชั้้�น 1 อาคารหอศิิลป์์แห่่งชาติิ กระทรวงวััฒนธรรม: สำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี
แห่่งชาติิ (สวทช.) โดย ดร.จุุฬารััตน์์ ตัันประเสริิฐ รองผู้้�อำนวยการสำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ เป็็นผู้้�แทน
หน่่วยงาน เข้้ารัับโล่่รางวััลองค์์กรคุุณธรรมต้้นแบบโดดเด่่น ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีีนายอิิทธิิพล คุุณปลื้้�ม รััฐมนตรีีว่่าการ
กระทรวงวััฒนธรรม ประธานในพิิธีีเป็็นผู้้�มอบโล่่รางวััล
อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�มเติิม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-nmpc-20230303/
สวทช. รัับโล่่รางวััล "คุุณธรรมต้้นแบบโดดเด่่น" ต่่อเนื่่�อง 2 ปีีซ้้อน
(ปีี 2564-2565)
5
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(4 มีีนาคม 2566) ณ อุุทยานวิิทยาศาสตร์์ประเทศไทย จ.ปทุุมธานีี: กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อว.)
สำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ (สวทช.) ร่่วมกัับมหาวิิทยาลััยศููนย์์ประสานงานภููมิิภาค ภายใต้้การสนัับสนุุนโดย
สำนัักงานการวิิจััยแห่่งชาติิ (วช.) และธนาคารไทยพาณิิชย์์ จำกััด (มหาชน) จััดการประกวดโครงงานของนัักวิิทยาศาสตร์์รุ่่�นเยาว์์
ครั้้�งที่่� 25 รอบชิิงชนะเลิิศ (The 25th Young Scientist Competition: YSC 2023) เมื่่�อวัันที่่� 3 - 4 มีีนาคม 2566 ชิิงถ้้วยพระราชทานฯ
สมเด็็จพระกนิิษฐาธิิราชเจ้้า กรมสมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ สยามบรมราชกุุมารีี และโอกาสในการเข้้าร่่วมการประกวดโครงงาน
วิิทยาศาสตร์์ วิิศกรรมศาสตร์์ ระดัับนานชาติิ พร้้อมเงิินรางวััลและตั๋๋�วเครื่่�องบิินเดิินทางและที่่�พัักมููลค่่ารวมกว่่า 3 ล้้านบาท ทั้้�งนี้้�ได้้รัับ
เกีียรติิจาก ศาสตราจารย์์ ดร.ชููกิิจ ลิิมปิิจำนงค์์ ผู้้�อำนวยการ สวทช. พร้้อมด้้วย ดร.วิิภารััตน์์ ดีีอ่่อง ผู้้�อำนวยการ วช. ดร.ศรััณย์์ สััมฤทธิ์์�
เดชขจร รัักษาการรองผู้้�อำนวยการ สวทช. ดร.สมบุุญ สหสิิทธิิวััฒน์์ รัักษาการผู้้�ช่่วยผู้้�อำนวยการ สวทช. นางสาวอารยา ภู่่�พานิิช
รองผู้้�จััดการใหญ่่ ผู้้�บริิหารสายงานกิิจกรรมเพื่่�อสัังคม ธนาคารไทยพาณิิชย์์ จำกััด(มหาชน) และผู้้�บริิหาร มหาวิิทยาลััยศููนย์์ประสานงาน
ภููมิิภาค ร่่วมมอบโล่่รางวััลทีีมที่่�ชนะการแข่่งขัันในครั้้�งนี้้�
อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-ysc2023/
สวทช. ประกาศผลรางวััล YSC2023
การประกวดโครงงานของนัักวิิทยาศาสตร์์รุ่่�นเยาว์์ ครั้้�งที่่� 25
6 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(8 มีนาคม 2566) ห้องแถลงข่าว ชั้น 1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.): - กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) โดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) เปิดตัวโรงงานต้นแบบชีวกระบวนการไบโอเทค (BIOTEC Bioprocessing Facility) หรือ BBF ซึ่งเป็นโครงสร้าง
พื้นฐานที่สำ�คัญสำ�หรับการดำ�เนินงานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในระดับกึ่งอุตสาหกรรมที่ได้รับมาตรฐานระดับสากลอย่าง
Codex GHPs และ HACCP รองรับการทำ�วิจัยร่วมกับภาคเอกชน และงานให้บริการ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
และเร่งผลักดันการนำ�งานวิจัยไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนตามนโยบาย
โมเดลเศรษฐกิจ BCG
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-bbf-08032566/
ไบโอเทค สวทช. เปิดโรงงานต้นแบบ
ชีวกระบวนการไบโอเทค มาตรฐานสากล
7
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(10 มีนาคม 2566) ณ โถงอาคารกลุ่มนวัตกรรม 1 (INC1) อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. จ.ปทุมธานี: ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ
ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำ�นวยการใหญ่สำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ
depa ร่วมแถลงข่าวเปิดศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบรวดเร็ว (TD-X Center: Thailand Science Park & depa Acceleration Center) โดยมี
คุณฉัตรชัย คุณปิติลักษณ์ รองผู้อำ�นวยการใหญ่(กลุ่มงานส่งเสริมระบบนิเวศเศรษฐกิจดิจิทัล)depa ดร.ชินาวุธ ชินะประยูร ผู้ช่วยผู้อำ�นวย
การ(กลุ่มงานส่งเสริมระบบนิเวศเศรษฐกิจดิจิทัล) depa ดร.เจนกฤษณ์ คณาธารณา รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. ร่วมงาน โดยศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบรวดเร็ว จัดตั้งขึ้นและดำ�เนินงานร่วมกันระหว่าง สวทช.
และ depa เพื่อพัฒนา Platform และสร้าง Ecosystem ในการเร่งการพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs Startup สำ�หรับผลิตภัณฑ์หรือบริการ
ด้านนวัตกรรม ตั้งแต่การออกแบบและพัฒนาต้นแบบที่ครบวงจรอย่างรวดเร็ว โดยอาศัยPlatform เป็นศูนย์กลางในการดำ�เนินการประสาน
ความร่วมมือระหว่างเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/10032566-td-x-center/
สวทช. ผนึกกำ�ลัง ดีป้า หนุนผู้ประกอบการ-สตาร์ตอัป
เปิดตัว “ศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบรวดเร็ว-TD-X Center”
เร่งสปีดงานวิจัยสู่ตลาด
8 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(13 มีนาคม2566) ณ ห้องออดิทอเรียม บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) สำ�นักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ สำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดกิจกรรม โครงการรับนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายฝึกทักษะวิจัย/ครูวิทยาศาสตร์ ณ ห้องปฏิบัติการวิจัยของศูนย์วิจัยแห่งชาติ สวทช. ภาคฤดูร้อน ประจำ�ปี 2566
(ปีที่6) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร์
หรือในโครงการพิเศษสำ�หรับผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมและครูวิทยาศาสตร์ ได้มีโอกาส
เข้ามาฝึกฝนทักษะการวิจัยในห้องปฏิบัติการวิจัยของศูนย์วิจัยแห่งชาติของ สวทช.
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-14032566/
สวทช. ร่วมกับ วช. จัดกิจกรรม โครงการรับนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายฝึกทักษะวิจัย/ครูวิทยาศาสตร์
9
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(14 มีนาคม 2566) นักวิจัยนาโนเทค สวทช. พัฒนากระบวนการสังเคราะห์อนุภาคนาโน ช่วยนำ�ส่ง CBD หรือสารสกัดจากพืชกลุ่ม
กัญชา-กัญชง ลดข้อจำ�กัด เพิ่มความสามารถในการละลายน้ำ� และเพิ่มประสิทธิภาพทางเภสัชวิทยา ขยายการนำ�ไปต่อยอดใช้งาน
ในเชิงอุตสาหกรรมได้หลากหลาย เพิ่มโอกาสต่อยอดเชิงพาณิชย์ รับเทรนด์ตลาดกัญชา-กัญชงโลก และตลาดกัญชงไทยที่จะโตถึง 126%
ในปี 2568 ซึ่ง Cannabidiol (CBD) คือสารสกัดจากพืชตระกูลกัญชง-กัญชา (Cannabis sativa L.) ซึ่งได้รับความสนใจมากขึ้นอย่างต่อ
เนื่องทั้งการนำ�ไปใช้ทางการแพทย์และการวิจัยทางคลินิก เนื่องจากมีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาทางการบำ�บัด รวมทั้งการออกฤทธิ์ต้าน
อนุมูลอิสระและลดการอักเสบ ซึ่งสารสกัด CBD ไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและมีความเป็นพิษต่อระบบประสาทต่ำ�
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nano-cbd/
นาโนเทค สวทช. พัฒนาอนุภาคนาโน
นำ�ส่งสารกลุ่มกัญชา-กัญชง ติดปีกอุตสาหกรรมเวชสำ�อาง
10 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(15 มีนาคม 2566) นักวิจัยนาโนเทค สวทช. พัฒนาสเปรย์ทำ�ความเย็นอัดแก๊สแรงดันสูงที่มีส่วนประกอบของสารสกัดจากธรรมชาติ
รวมถึงธาตุอาหารเสริมและรอง ในชื่อ ‘iPlantMultipurposeSpray’ ช่วยลดอุณหภูมิภายในของพืช ลดการคายน้ำ�จากอากาศร้อน ช่วยให้
พืชสดชื่น ไม่เหี่ยวเฉา ตอบความต้องการธุรกิจไม้ดอก ไม้ประดับ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมไม้เมืองหนาวราคาสูงที่นำ�มาปลูกในประเทศไทย
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/iplant-multipurpose-spray/
นาโนเทค สวทช. พัฒนาสเปรย์เติมความ “สด” ให้พืช
‘iPlant Multipurpose Spray’
ตอบโจทย์ธุรกิจส่งออกพืชเมืองหนาว
11
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
นาโนเทค สวทช. ต่อยอด Nano Coating
สู่น้ำ�ยาเคลือบพื้นผิวโซลาร์เซลล์ "ลดฝุ่นเกาะ-สะท้อนน้ำ�"
นวัตกรรมตอบโมเดลเศรษฐกิจ BCG ด้านเศรษฐกิจสีเขียว
(17 มีนาคม2566) นักวิจัยนาโนเทค สวทช. พัฒนาน้ำ�ยาเคลือบผิวโซลาร์เซลล์ ด้วยเทคโนโลยีเคลือบนาโน(NanoCoating) ลดการเกาะ
ของฝุ่น เพิ่มสมบัติสะท้อนน้ำ� พร้อมขยับสู่ดีพเทคสตาร์ตอัปในชื่อ “นาโน โค๊ตติ้ง เทค” นำ�นวัตกรรมหนุนอุตสาหกรรมพลังงานทางเลือก
โดยเฉพาะโซลาร์เซลล์และโซลาร์ฟาร์ม ช่วยลดก๊าซเรือนกระจก เพิ่มความยั่งยืนทางพลังงาน รับโมเดลเศรษฐกิจ BCG
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nano-coating/
12 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
(18 มีนาคม 2566) ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์: ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมแสดงความยินดีกับ ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และกรรมการบริหารศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
พร้อมด้วย ศาสตราจารย์คลินิก พญ.โฉมศรี โฆษิตชัยวัฒน์ อธิการบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
และกรรมการบริหารศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ(ไบโอเทค) และ ดร.นำ�ชัย ชีววิวรรธน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์
สื่อและผลิตภัณฑ์ สวทช. ในโอกาสที่ได้รับโล่และประกาศเกียรติคุณศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำ�ปี 2565
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-18032566/
ผู้บริหาร สวทช. ร่วมแสดงความยินดีกับศิษย์เก่าดีเด่น
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2565
13
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. ร่วมกับ กสทช. เปิดตัว
“โครงการยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์
หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์ IoT ของไทยสู่อาเซียน”
(23 มีนาคม 2566) ณ อาคารซอฟต์แวร์พาร์ค: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยเขตอุตสาหกรรม
ซอฟต์แวร์ประเทศไทย ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) และห้องปฏิบัติการทดสอบซอฟต์แวร์ (SQUAT) ศูนย์
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) โดยกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
เพื่อประโยชน์สาธารณะ (กทปส.) จัดสัมมนาเปิดตัว “โครงการยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์
InternetofThings(IoT) ของไทยสู่อาเซียน”UpliftThai’sServiceRobotsandInternetofThings(IOT)toASEAN เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ
เสริมศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน อีกทั้งเป็นการผลักดันให้อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์
หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์InternetofThings(IoT) ของไทยแข็งแกร่งและทัดเทียมนานาประเทศ โดยนำ�ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีมาช่วยให้เพิ่มประสิทธิภาพให้กับภาคอุตสาหกรรม โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการ สวทช.
เป็นประธานเปิดงาน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/uplift-iot/
14 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สปสช. ผนึกความร่วมมือ สวทช. รุกพัฒนา
“นวัตกรรมบริการสุขภาพระบบบัตรทอง”
(23 มีนาคม 2566) สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ลงนามความร่วมมือเพื่อดำ�เนินการศึกษา การวิจัยพัฒนา และการประยุกต์ใช้นวัตกรรม เพื่อการให้บริการด้านสุขภาพของภาครัฐในระบบ
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยมีผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของทั้ง2 หน่วยงานเข้าร่วมงาน ภายใต้ความร่วมมือนี้มีระยะเวลา2 ปี ประกอบ
ด้วยการดำ�เนินงานใน 5 ด้าน ได้แก่ 1. การส่งข้อมูลสำ�หรับเบิกจ่ายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Claim Gateway) 2. การรับเรื่องร้องเรียนระดับ
เขต และระดับจังหวัด (Traffy Fondue) และจับคู่ความต้องการรักษาพยาบาลกับโรงพยาบาล 3. การให้ปรึกษาด้านการออกแบบคลาวน์
(CloudComputing)4. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลจำ�นวนมากและปัญญาประดิษฐ์(BigData&AI) รวมทั้งDashboard สำ�หรับการบริหาร
จัดการ และ5. การพัฒนาRoadmap สำ�หรับการวิจัยพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์และอวัยวะเทียมในรายการสิทธิประโยชน์2 ปี
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mou-nhso/
15
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. ร่วมผนึกกำ�ลัง มข. เสริมแกร่งทางวิชาการ
เดินหน้าการวิจัย สร้างและขยายนวัตกรรมการตรวจโรควัณโรค
(24 มีนาคม2566) ณ ห้องแถลงข่าว ชั้น1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.): สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ลงนามความร่วมมือทางวิชาการร่วมกับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้าน
นวัตกรรมทางการแพทย์และชีววิทยา ด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปัญญาประดิษฐ์(AI)
พร้อมเสริมทัพนวัตกรรมสมัยใหม่ ช่วยในการขับเคลื่อนประเทศ โดยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชาญชัย พานทองวิริยะกุล อธิการบดี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) ร่วมลงนาม พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์เกียรติไชย ฟักศรี คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยและบริการตรวจ
วินิจฉัยโรคติดเชื้อระบาดใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ ดร.ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร รองผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นสักขีพยาน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-mou-24032566/
16 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
การประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช. ครั้งที่ 18 ‘NAC2023’
โชว์ขุมพลังวิจัย ‘ขับเคลื่อน BCG สู่ความยั่งยืน’
เริ่มแล้ว 28-31 มี.ค. ที่ อุทยานวิทยาศาสตร์ฯ ปทุมธานี
(28 มีนาคม 2566) ณ อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระกนิษฐา
ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการ สวทช. ประจำ�ปี 2566
(NSTDA Annual Conference: NAC2023) ภายใต้แนวคิด “สวทช. : ขุมพลังหลัก วทน. เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG สู่ความ
ยั่งยืน” (NSTDA: STI powerhouse to drive BCG economy for Thailand's sustainable development) ระหว่างวันที่ 28 -31 มีนาคม
2566 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี โดยมี นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี นายไชยรัตน์
บุตรเทพ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดธัญบุรี พลตรีปัญญา ตั้งความเพียร ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่11 พล.ต.ต.ชุมพล ชาญชนะโยธิน
ผู้บังคับการตำ�รวจภูธรจังหวัดปทุมธานี ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม (อว.) ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
พร้อมคณะผู้บริหารและพนักงานกระทรวง อว. และ สวทช. ร่วมรับเสด็จฯ
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nac2023-opening/
17
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. เปิดสูตรสำ�เร็จโครงการ “TIME” ยกระดับขีดความสามารถ
พัฒนา ‘บุคลากรทักษะสูง’ ตอบโจทย์อุตสาหกรรม
(28 มีนาคม 2566) ที่อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย: สถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต (CFA) ภายใต้สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดสัมมนา ความสำ�เร็จโครงการ TIME
& WiL ยกระดับขีดความสามารถ พัฒนาคนตอบโจทย์อุตสาหกรรมภายใต้โครงการ Total Innovation Management Enterprise (TIME)
and Work-integrated Learning (WiL) Project Success ซึ่งเป็นหนึ่งในกลไกสำ�คัญที่เชื่อมโยงสถานประกอบการกับสถานศึกษาและ
หน่วยงานวิจัยในการบูรณาการการพัฒนาบุคลากร พร้อมจัดพิธีมอบโล่ “รางวัลนวัตกรรมการศึกษาเพื่อสังคม” ให้กับ 3 สถานประกอบ
การที่เข้าร่วมในโครงการ ได้แก่ บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำ�กัด บริษัท พีรพัฒน์ เทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัท คอมแพ็ค
อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จำ�กัด ซึ่งเป็นสถานประกอบการตัวอย่างที่แสดงถึงศักยภาพในการพัฒนากระบวนการยกระดับความสามารถ
ทางนวัตกรรมของอุตสาหกรรมไทย ผ่านการพัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการกระบวนการสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/time-nac2023/
18 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
ไบโอเทค สวทช. จับมือกรมประมง ในการคัดกรอง ทดสอบ
และพัฒนาวิธีการผลิตเชื้อจุลินทรีย์ สำ�หรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ�
เพื่อแจกจ่ายให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์จริง
(29 มีนาคม 2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
โดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) และกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมแถลงความสำ�เร็จ
ในการคัดเลือกและพัฒนาสายพันธุ์จุลินทรีย์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� โดยจุลินทรีย์ดังกล่าวสามารถยับยั้งการสร้าง
ไบโอฟิล์มของเชื้อก่อโรคทำ�ให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรค และลดความจำ�เป็นในการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ�ลงได้ โดยมีความพร้อม
ในการถ่ายทอดวิธีการผลิตหัวเชื้อสำ�หรับแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรเพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/biotec-mou-fisheries/
19
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช.
ได้รับการรับรองมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย ‘TMVS’
จากทีเส็บ
(29 มีนาคม 2566) ณ อาคารอาเซียน รัชดา กรุงเทพฯ: ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เข้ารับตราสัญลักษณ์การรับรองมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย (Thailand MICE Venue Standard:
TMVS) จาก ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ประธานกรรมการสำ�นักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเส็บ
(TCEB) ในงานMICEStandardDay2023 เพื่อส่งเสริมมาตรฐานสถานที่จัดงานของไทยและอาเซียน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
รองรับตลาดธุรกิจไมซ์ในอนาคต ทั้งนี้ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ซึ่งอยู่ภายใต้การบริหารงานโดย สวทช. ได้เข้าร่วมการ
ประเมินและผ่านการรับรองมาตรฐาน TMVS ประเภทห้องประชุม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมาจนครบทุกห้องตามเกณฑ์ และมีการ
ประเมินเพื่อต่ออายุทุก ๆ 3 ปี จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ตราสัญลักษณ์ดังกล่าวใช้ยืนยันว่าสถานที่จัดงานต่าง ๆ ในสถานที่ราชการและเอกชน
ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้า โรงแรม รีสอร์ท มีความเหมาะสมตามมาตรฐานการจัดงานในระดับสากล เพิ่มความมั่นใจในคุณภาพ
ของผู้ประกอบธุรกิจไมซ์ในไทยให้กับกลุ่มนักธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-29032566/
20 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. ต้อนรับผู้ประกอบการ-เครือข่ายเกษตรกร
จ.ปทุมธานี เยี่ยมชมโรงงานต้นแบบผลิตพืช
(30 มีนาคม2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ให้การต้อนรับกลุ่มนักธุรกิจและกลุ่มเกษตรกรจังหวัดปทุมธานี เพื่อเข้าเยี่ยมชมโรงงานต้นแบบผลิต
พืช (Plant factory) ของ สวทช. โดยมี ดร.เกรียงไกร โมสาลียานนท์ ทีมวิจัยนวัตกรรมโรงงานผลิตพืช ไบโอเทค พาคณะเข้าเยี่ยมชม
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเทคโนโลยีและหาแนวทางการทำ�งานร่วมกันระหว่างนักวิจัย นักธุรกิจและเครือข่ายเกษตรกรปทุมธานี รวมทั้ง
นำ�เทคโนโลยีดังกล่าวไปถ่ายทอดในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีและกลุ่มผู้สนใจต่อไป
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-plant-factory/
21
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. จัดสัมมนาวิชาการและส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์อวกาศ
ให้สถาบันการศึกษา 20 แห่ง
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำ�หรับเยาวชนไทย
(30 มีนาคม 2566) ณ อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง
ชาติ (สวทช.) จัดสัมมนาวิชาการหัวข้อ “ราชพฤกษ์อวกาศ เมล็ดพันธุ์อวกาศสู่ต้นกล้าเพื่อการเรียนรู้” พร้อมส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์
ที่ปลูกโดยเมล็ดที่ผ่านการท่องอวกาศนาน 7 เดือน ให้แก่สถาบันการศึกษา จำ�นวน 20 แห่งทั่วประเทศนำ�ไปปลูก เพื่อต่อยอดสู่การเรียนรู้
วิทยาศาสตร์จากการศึกษาเปรียบเทียบการเติบโตระหว่างต้นราชพฤกษ์อวกาศที่ปลูกด้วยเมล็ดจากอวกาศกับต้นราชพฤกษ์ที่ปลูกด้วยเมล็ด
ปกติ โดยมี ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และนายทาเคฮิโระ นากามูระ ผู้อำ�นวยการองค์การสำ�รวจอวกาศญี่ปุ่น
สำ�นักงานกรุงเทพฯ ร่วมส่งมอบต้นราชพฤกษ์อวกาศ
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-asian-herb-in-space/
22 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. จัดสัมมนาเรื่อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านโอมิกส์
ที่นำ�ไปสู่การปรับปรุงพันธุ์แบบแม่นยำ� และโอกาสของประเทศไทย
ในการเป็นผู้นำ�การส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชระดับโลก
(30 มี.ค. 2566) ณ อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดงานสัมมนาพิเศษเรื่อง “ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านโอมิกส์ที่นำ�ไปสู่การปรับปรุงพันธุ์แบบแม่นยำ�
และโอกาสของประเทศไทยในการเป็นผู้นำ�การส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชระดับโลก” เป็นการนำ�เสนอความพร้อมทางด้านข้อมูลQTL ที่สำ�คัญและ
เครื่องหมายโมเลกุลที่สามารถนำ�ไปใช้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความแม่นยำ�ในการคัดเลือกในพืชสำ�คัญของประเทศ เช่น ข้าว ข้าวโพด
มะเขือเทศ พืชสมุนไพร (กัญชา กัญชง บัวบก) พืชผัก (แตง มะระ) และไม้ผล (มะพร้าว) ทั้งนี้ได้รับเกียรติจาก ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา
รักษาการ รองผู้อำ�นวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. กล่าวเปิดงาน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-30032566/
23
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. ชวน ‘คนดัง’ สายกรีน เปิดมุมมองส่งเสริมแนวคิด
Circular economy
เพื่อวิถีชีวิตที่ยั่งยืนสำ�หรับเยาวชนคนรุ่นใหม่
(30 มีนาคม2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.ศรันย์ สัมฤทธิ์เดชขจร รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นประธานเปิดงาน สัมมนาการส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อวิถีชีวิตที่ยั่งยืนสำ�หรับเยาวชน
คนรุ่นใหม่ "Promoting the concept of circular economy for sustainable living of the new generation." โดยได้รับเกียรติจาก
ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำ�นวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมบรรยาย
ภาพรวม ในหัวข้อ “ทำ�ไม ประเทศเราถึงต้องเริ่มทำ�ธุรกิจที่ยั่งยืน” สำ�หรับงานสัมมนาวิชาการครั้งนี้ เพื่อหาแนวทางการส่งเสริม
แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ให้กับคนรุ่นใหม่ โดยการแชร์ประสบการณ์จากผู้ปฏิบัติจริงในด้านธุรกิจสีเขียว ได้แก่
คุณเชอรี่ เข็มอัปสร นักแสดงสาวสวยมากความสามารถ กับธุรกิจรักษ์โลก แบรนด์ "สิริไท" คุณณภัทร พงษ์แพทย์ ผู้แทนมูลนิธิเอสโอเอส
(SOS Thailand) และคุณชณัฐ วุฒิวิกัยการ เจ้าของช่อง ‘KongGreenGreen’ อินฟลูเอนเซอร์สายกรีน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-30032566-2/
24 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
เอ็มเทค สวทช. เปิดตัวนวัตกรรม ชุดเอ็กโซสูท (Exosuits)
นวัตกรรมชุดบอดี้สูทสำ�หรับสังคมอายุยืน ตัวช่วยผู้สูงอายุและผู้ดูแล
(31 มีนาคม 2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สำ�นักงานคณะกรรม
การส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
(บพข.) และ สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ(เอ็มเทค) สวทช. จัดสัมมนาเปิดตัวนวัตกรรม
ชุดเอ็กโซสูท(Exosuits) “เรเชล(Rachel)” และ “รอส(Ross)” โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ร่วมให้ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mtec-exosuits/
25
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
สวทช. มอบประกาศนียบัตร
ผู้สอบผ่านโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE)
(31 มีนาคม 2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี: สถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต (CFA) ภายใต้สำ�นักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรผู้สอบผ่านโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE) มอบโล่
ประกาศเกียรติคุณโครงการเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภาคผลิต
และบริการ โดย ดร.ศิริชัย กิตติวราพงศ์ ผู้อำ�นวยการสถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต สวทช. เป็นประธาน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-itpe/
26 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
เรียบเรียง: วัชราภรณ์ สนทนา
จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นเมืองที่มีลักษณะโดดเด่นทางภูมิศาสตร์ใน
ฐานะ ‘เมืองสามน้ำ�’ คือมีทั้งระบบนิเวศน้ำ�จืด น้ำ�เค็ม และน้ำ�กร่อย ในพื้นที่
เดียวกัน กลายเป็นความสมบูรณ์ที่เอื้อต่อการทำ�ประมงและการเกษตร ยิ่งเฉพาะ
‘มะพร้าว’ ถือว่าเป็นแหล่งปลูกขนาดใหญ่ และขึ้นชื่อว่ามีรสชาติหวานหอมเป็น
อัตลักษณ์ หนึ่งในพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดสมุทรสงคราม ทว่าในช่วงภาวะ
ผลผลิตราคาตกต่ำ� เกษตรกรผู้ปลูกต้องประสบปัญหาภาวะขาดทุนอยู่ไม่น้อย
ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจาก
‘เปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่’
ใช้เทคโนโลยีเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งสู่
‘ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองสามน้ำ�’
27
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
วิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก ต.บางยี่รงค์ อ.บางคนที คือกลุ่ม
ชาวบ้านที่มีอาชีพหลักดั้งเดิมคือการทำ�สวนมะพร้าว แต่ด้วยปัญหาความเดือด
ร้อนจากราคามะพร้าวผลที่ตกต่ำ�อย่างมาก ได้กลายเป็นแรงผลักดันให้พวกเขา
ลุกขึ้นมารวมกลุ่มพัฒนาแปรรูปสู่ผลิตภัณฑ์ ‘น้ำ�มันมะพร้าวสกัดเย็น’ เพื่อให้มี
รายได้เลี้ยงปากท้อง
บุปผา ไวยเจริญ ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก
จ.สมุทรสงคราม เล่าว่า เดิมทีชาวบ้านปลูกมะพร้าวผลแก่ขาย แต่ในช่วงนั้นราคา
ขายตกต่ำ�มาก จากขายลูกละ 15 บาท เหลือลูกละ 3 บาท เกษตรกรแทบอยู่ไม่
ได้เลย เพราะแค่การเก็บมะพร้าว ต้องมีรายจ่ายทั้งค่าสอย ค่าวางมะพร้าว และ
ค่านำ�มะพร้าวขึ้นรถเข็น รายได้จากการขายมะพร้าวแทบไม่พอจ่ายค่าจ้างด้วยซ้ำ�
จึงคิดกันว่าจะเพิ่มมูลค่ามะพร้าวได้อย่างไร กระทั่งมีโอกาสไปดูงานการแปรรูป
มะพร้าว ก็เลยได้แนวคิดการทำ�น้ำ�มันมะพร้าวสกัดเย็น ซึ่งตอนนั้นมีการรวมกลุ่ม
เล็ก ๆ ช่วยกันทำ�ในโรงเรือน เป็นสินค้าแปรรูปชิ้นแรก และได้รับการตอบรับอย่าง
ดีจากลูกค้า
ทั้งนี้ในกระบวนการผลิตน้ำ�มันมะพร้าวสกัดเย็นจะมีเปลือกมะพร้าว
เหลือทิ้งอยู่มาก แม้จะนำ�ไปขายต่อให้เกษตรกรในพื้นที่นำ�ไปใช้ปลูกต้นไม้ได้บ้าง
แต่ก็ยังจำ�หน่ายได้ในราคาถูกและเหลือปริมาณมาก บุปผา จึงเกิดแนวคิด
นำ�มาเป็นวัตถุดิบทำ� ‘ผ้ามัดย้อมจากเปลือกมะพร้าว’ โดยอาศัยภูมิปัญญาดั้งเดิม
ผสานกับนวัตกรรมจากสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทช.)
บุปผา ไวยเจริญ
ประธานกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก
จ.สมุทรสงคราม
28 NSTDA • Apirl 2023
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
“เราชอบผ้ามัดย้อมเป็นทุนเดิม เริ่มแรกลองใช้ความรู้ที่มี นำ�เปลือก
มะพร้าวมาแช่น้ำ� พอมีสีออกมา ก็ใช้ย้อมผ้า ปรากฏว่าผ้าติดสีไม่ค่อยดี
สีไม่สม่ำ�เสมอ แถมพอซักแล้วสีซีดจางหรือไม่ก็หลุดหมดเลย ไม่ได้ผล
ตอนนั้นจึงไปติดต่ออุตสาหกรรมจังหวัด ซึ่งทางหน่วยงานได้ช่วยประสาน
งานให้ทางสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) และ
นักวิจัยจากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เข้ามา
“เราชอบผ้ามัดย้อมเป็นทุนเดิม
เริ่มแรกลองใช้ความรู้ที่มี นำ�เปลือก
มะพร้าวมาแช่น้ำ� พอมีสีออกมา
ก็ใช้ย้อมผ้า ปรากฏว่าผ้าติดสีไม่ค่อย
ดี สีไม่สม่ำ�เสมอ แถมพอซักแล้ว
สีซีดจางหรือไม่ก็หลุดหมดเลย
ไม่ได้ผล ตอนนั้นจึงไปติดต่อ
อุตสาหกรรมจังหวัด ซึ่งทางหน่วย
งานได้ช่วยประสานงานให้ทาง
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร (สท.) และนักวิจัย
จากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ
แห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เข้ามา
ช่วย ซึ่งทางทีมวิจัยลงพื้นที่มาสอน
การผลิตตั้งแต่ต้นน้ำ�ถึงปลายน้ำ�
เลย ให้ความรู้ตั้งแต่การเลือกผ้าว่า
ผ้าประเภทไหนติดสี การทำ�ความ
สะอาดผ้าด้วยเทคโนโลยีเอนไซม์
เอนอีซ ซึ่งช่วยทำ�ความสะอาดและ
ลอกแป้งออกจากผ้าในขั้นตอนเดียว
แค่แช่ผ้าก็สะอาดหมดจดทำ�ให้
ติดสีได้ดีขึ้น
29
เมษายน 2566 •
เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1
มาผลิตสีดู ปรากฏว่าสีจากใบลิ้นจี่จะสว่างกว่าสีจากเปลือก
มะพร้าว สีจากใบลิ้นจี่จะได้โทนส้ม น้ำ�ตาลและเทา ส่วนสี
จากเปลือกมะพร้าวจะได้สีโทนน้ำ�ตาลเข้ม
“ทุกวันนี้ผ้ามัดย้อมสีเปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่
เป็นสินค้าอัตลักษณ์ชุมชนที่ช่วยสร้างอาชีพและรายได้ให้
คนในพื้นที่อย่างมาก จากแทนที่ปีหนึ่งเก็บลิ้นจี่ได้ปีละ
1 ครั้ง ตอนนี้เก็บใบมาทำ�ผ้ามัดย้อมขายได้ทั้งปี ที่สำ�คัญ
ทั้งใบลิ้นจี่ และเปลือกมะพร้าวเป็นทุนที่มีอยู่แล้วในพื้นที่
จึงนำ�มาสกัดสีได้โดยไม่ต้องซื้อจากที่อื่น ทำ�ให้ลดต้นทุน
และเพิ่มรายได้คนในพื้นที่ประมาณ 15% อีกทั้งการนำ�
ของเหลือทิ้งมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ยังเป็นการ
ใช้ทรัพยากรในพื้นที่ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและ
ลดปริมาณขยะให้เหลือน้อยที่สุด ดีต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน”
	ปัจจุบันกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก
นำ� ‘ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจากเปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่’
มาต่อยอดตัดเย็บเป็นเสื้อผ้า หมวก ผ้าพันคอ กระเป๋า
ผ้าผืน ฯลฯ เพื่อให้ตอบโจทย์ครอบคลุมความต้องการ
ของลูกค้าที่หลากหลาย มีการจำ�หน่ายทั้งที่ร้านของ
วิสาหกิจฯ และส่งขายให้แก่ห้างสรรพสินค้า นอกจากนี้
ยังเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้ด้าน ‘การแปรรูปผลิตภัณฑ์จาก
มะพร้าวและการทำ�ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ’ ให้แก่
นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่สนใจ นับเป็นหนึ่งใน ‘ต้นแบบ
การพัฒนาสินค้าที่ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG’ ด้วย
การนำ�วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มายก
ระดับวัตถุดิบในพื้นที่สู่ผลิตภัณฑ์สร้างอาชีพให้คนในชุมชน
ได้อย่างยั่งยืน
ช่วย ซึ่งทางทีมวิจัยลงพื้นที่มาสอนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำ�ถึง
ปลายน้ำ�เลย ให้ความรู้ตั้งแต่การเลือกผ้าว่าผ้าประเภทไหน
ติดสี การทำ�ความสะอาดผ้าด้วยเทคโนโลยีเอนไซม์เอนอีซ
ซึ่งช่วยทำ�ความสะอาดและลอกแป้งออกจากผ้าในขั้นตอน
เดียว แค่แช่ผ้าก็สะอาดหมดจดทำ�ให้ติดสีได้ดีขึ้น
นอกจากนี้ยังได้ความรู้เรื่องเทคนิคและ
กระบวนการสกัดสี วิธีย้อมสีจากเปลือกมะพร้าว ทีมวิจัย
สอนตั้งแต่การชั่ง ตวง วัด การผลิตสี การตรวจเช็คความ
เข้มสีก่อนย้อม การออกแบบลายมัดย้อม การพิมพ์สกรีน
สีธรรมชาติ ตลอดจนถึงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วย
นาโนเทคโนโลยี ซึ่งองค์ความรู้ทั้งหมดนี้ทำ�ให้เราพัฒนา
ผ้ามัดย้อมสีเปลือกมะพร้าวที่มีคุณภาพและยังมีความเป็น
อัตลักษณ์ของชุมชน”
	ความสำ�เร็จของวิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก
ไม่ได้มีเพียงการยกระดับเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์เปลือก
มะพร้าวที่เป็นของเหลือทิ้งสู่สินค้าภูมิปัญญาที่แฝงด้วย
นวัตกรรม แต่พวกเขายังนำ�องค์ความรู้มาขยายผลแก้ปัญหา
‘ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม’ ผลไม้ที่เป็น ‘สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หรือ
GeographicalIndications:GI’ ของจังหวัดสมุทรสงคราม
ซึ่งกำ�ลังประสบปัญหา ‘ผลผลิตน้อย’
บุปผา เล่าว่า ปัญหาใหญ่ของลิ้นจี่พันธุ์ค่อมคือ
ผลผลิตออกน้อยมากว่า 10 ปีแล้ว ตอนนี้มีผลผลิตไม่ถึง
20% เพราะความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ เกษตรกร
หลายคนตัดสินใจฟันต้นทิ้งและหันมาปลูกมะพร้าวน้ำ�หอม
แทนเพราะไม่มีรายได้ น่าเสียดายว่าถ้าชาวบ้านตัดทิ้งหมด
ต่อไปคนจะไม่รู้จักลิ้นจี่พันธุ์ค่อมของจังหวัดสมุทรสงคราม
จึงปรึกษากับทาง สวทช. ทีมนักวิจัย จึงลองนำ�เอาใบลิ้นจี่

More Related Content

Similar to NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
rattapol
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566 (20)

59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
Nstda 55 final
Nstda 55 finalNstda 55 final
Nstda 55 final
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
V 274
V 274V 274
V 274
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Annual Report 2015
NSTDA Annual Report 2015NSTDA Annual Report 2015
NSTDA Annual Report 2015
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e news
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (17)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566

  • 1. 1 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ใช้เทคโนโลยีเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งสู่ ‘ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองสามน้ำ�’ บทความ Article ที่ปรึกษา ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ, อรรถกร ศิริสุวรรณ กองบรรณาธิการ ชนานันท์ คงธนาฤทธิ์, อาทิตย์ ลมูลปลั่ง, ศราวุธ โต๊ะเจริญ ศิลปกรรม ชุมพล พินิจธนสาร ทีมงาน NSTDA e-newsletter ผู้ผลิต ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ายเผยแพร่วิทยาศาสตร์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 71725 โทรสาร 0 2564 7078 http://www.nstda.or.th/ อีเมล pr@nstda.or.th 2 7 3 8 5 10 6 11 12 13 14 20 15 21 16 22 17 23 18 24 19 25 4 9 ในเล่ม Insight 26 ข่าว News ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจาก ‘เปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่’ สวทช. จัดงาน NAC2023 โชว์ขุมพลังวิจัย เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG จัด ยิ่งใหญ่ 28-31 มี.ค. 66 ณ อุทยานวิทย์ฯ จ.ปทุมธานี วช. สวทช. สกสว. นำ�ทัพงานวิจัยเพื่อ SMEs จัดแสดงในงาน Innovative House Awards 2023 สร้างสินค้านวัตกรรมขับเคลื่อนธุรกิจ สวทช. รับโล่รางวัล "คุณธรรมต้นแบบโดดเด่น" ต่อเนื่อง 2 ปีซ้อน (ปี 2564-2565) สวทช. ประกาศผลรางวัล YSC2023 การประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ ครั้งที่ 25 ไบโอเทค สวทช. เปิดโรงงานต้นแบบชีวกระบวนการไบโอเทค มาตรฐานสากล ตอบโจทย์ อุตสาหกรรมฐานชีวภาพ สวทช. ผนึกกำ�ลัง ดีป้า หนุนผู้ประกอบการ-สตาร์ตอัป เปิดตัว “ศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบ รวดเร็ว-TD-X Center” เร่งสปีดงานวิจัยสู่ตลาด สวทช. ร่วมกับ วช. จัดกิจกรรมโครงการรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายฝึกทักษะ วิจัย/ครูวิทยาศาสตร์ นาโนเทค สวทช. พัฒนาอนุภาคนาโนนำ�ส่งสารกลุ่มกัญชา-กัญชง ติดปีกอุตสาหกรรม เวชสำ�อาง นาโนเทค สวทช. พัฒนาสเปรย์เติมความ “สด” ให้พืช ‘iPlant Multipurpose Spray’ ตอบโจทย์ธุรกิจส่งออกพืชเมืองหนาว นาโนเทค สวทช. ต่อยอด Nano Coating สู่น้ำ�ยาเคลือบพื้นผิวโซลาร์เซลล์ “ลดฝุ่น เกาะ-สะท้อนน้ำ�” นวัตกรรมตอบโมเดลเศรษฐกิจ BCG ด้านเศรษฐกิจสีเขียว ผู้บริหาร สวทช. ร่วมแสดงความยินดีกับศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2565 สวทช. ร่วมกับ กสทช. เปิดตัว “โครงการยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ หุ่นยนต์บริการ และผลิตภัณฑ์ IoT ของไทยสู่อาเซียน” สปสช. ผนึกความร่วมมือ สวทช. รุกพัฒนา “นวัตกรรมบริการสุขภาพระบบบัตรทอง” สวทช. ร่วมผนึกกำ�ลัง มข. เสริมแกร่งทางวิชาการ เดินหน้าการวิจัย สร้างและขยายนวัตกรรม การตรวจโรควัณโรค การประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช. ครั้งที่ 18 ‘NAC2023’ โชว์ขุมพลังวิจัย ‘ขับเคลื่อน BCG สู่ความยั่งยืน’ เริ่มแล้ว 28-31 มี.ค. ที่ อุทยานวิทยาศาสตร์ฯ ปทุมธานี สวทช. เปิดสูตรสำ�เร็จโครงการ “TIME” ยกระดับขีดความสามารถ พัฒนา ‘บุคลากรทักษะสูง’ ตอบโจทย์อุตสาหกรรม ไบโอเทค สวทช. จับมือกรมประมง ในการคัดกรอง ทดสอบและพัฒนาวิธีการผลิตเชื้อจุลินทรีย์ สำ�หรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� เพื่อแจกจ่ายให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์จริง ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. ได้รับการรับรองมาตรฐานสถานที่จัดงาน ประเทศไทย ‘TMVS’ จากทีเส็บ สวทช. ต้อนรับผู้ประกอบการ-เครือข่ายเกษตรกร จ.ปทุมธานี เยี่ยมชมโรงงานต้นแบบผลิตพืช สวทช. จัดสัมมนาวิชาการและส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์อวกาศ ให้สถาบันการศึกษา 20 แห่ง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำ�หรับเยาวชนไทย สวทช. จัดสัมมนาเรื่อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านโอมิกส์ ที่นำ�ไปสู่การปรับปรุงพันธุ์ แบบแม่นยำ� และโอกาสของประเทศไทย ในการเป็นผู้นำ�การส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชระดับโลก สวทช. ชวน ‘คนดัง’ สายกรีน เปิดมุมมองส่งเสริมแนวคิด Circular economy เพื่อวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สำ�หรับเยาวชนคนรุ่นใหม่ เอ็มเทค สวทช. เปิดตัวนวัตกรรม ชุดเอ็กโซสูท (Exosuits) “เรเชล (Rachel)” และ “รอส (Ross)” นวัตกรรมชุดบอดี้สูทสำ�หรับสังคมอายุยืน ตัวช่วยผู้สูงอายุและผู้ดูแล สวทช. มอบประกาศนียบัตรผู้สอบผ่านโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE)
  • 2. 2 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (1 มีีนาคม 2566) ที่่�ห้้องแถลงข่่าว ชั้้�น 1 กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อว.): ศาสตราจารย์์ ดร.ชููกิิจ ลิิมปิิจำนงค์์ ผู้้�อำนวยการสำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ (สวทช.) ดร.วรรณพ วิิเศษสงวน ผู้้�อำนวยการศููนย์์พัันธุุ วิิศวกรรมและเทคโนโลยีีชีีวภาพแห่่งชาติิ (ไบโอเทค) สวทช. พร้้อมด้้วย ดร.จุุฬารััตน์์ ตัันประเสริิฐ รองผู้้�อำนวยการ สวทช. นำทีีมนัักวิิจััย สวทช. และหน่่วยงานพัันธมิิตร โดยมีี ดร.ดนุุช ตัันเทอดทิิตย์์ เลขานุุการรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวง อว. ร่่วมเป็็นเกีียรติิในงานแถลงข่่าวการ จััดการประชุุมวิิชาการประจำปีี สวทช. ครั้้�งที่่� 18 (18th NSTDA Annual Conference: NAC2023) ภายใต้้แนวคิิด “สวทช. : ขุุมพลัังหลััก วทน. เร่่งการขัับเคลื่่�อนโมเดลเศรษฐกิิจ BCG สู่่�ความยั่่�งยืืน” (NSTDA: STI powerhouse to drive BCG economy for Thailand's sustainabledevelopment) โดยจััดออนไซต์์เต็็มรููปแบบที่่�อุุทยานวิิทยาศาสตร์์ประเทศไทย ต.คลองหนึ่่�ง อ.คลองหลวง จ.ปทุุมธานีี ระหว่่าง วัันที่่� 28-31 มีีนาคม 2566 อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�มเติิม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nac2023-press/ สวทช. จัดงาน NAC2023 โชว์ขุมพลังวิจัย เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG จัดยิ่งใหญ่ 28-31 มี.ค. 66 ณ อุทยานวิทย์ฯ จ.ปทุมธานี
  • 3. 3 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (1 มีีนาคม2566) ณ โรงละครเคแบงก์์สยามพิิฆเนศ กรุุงเทพมหานคร: ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วีีรชััย อาจหาญ ผู้้�ช่่วยผู้้�อำนวยการสำนัักงาน พััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ(สวทช.) นางสุุภาพร โชคเฉลิิมวงศ์์ ผู้้�อำนวยการกองบริิหารทุุนวิิจััยและนวััตกรรม1 สำนัักงาน การวิิจััยแห่่งชาติิ (วช.) และ ดร.อติิชาต พฤฒิิกััลป์์ ที่่�ปรึึกษาสำนัักงานคณะกรรมการส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (สกสว.) ภายใต้้กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อว.) เข้้าร่่วมพิิธีีเปิิดงาน INNOVATIVE HOUSE WE MAKE IT CHANGE BYNRCT+NSTDA+TSRI ซึ่่�งเป็็นกิิจกรรมภายใต้้โครงการ “การสนัับสนุุนการวิิจััยเพื่่�อพััฒนาศัักยภาพของผู้้�ประกอบการขนาดเล็็กและขนาด กลางในกลุ่่�มอุุตสาหกรรมอาหารและอุุตสาหกรรมอื่่�นที่่�เกี่่�ยวข้้อง” ที่่�มุ่่�งเน้้นให้้ความช่่วยเหลืือผู้้�ประกอบการ SMEs ในด้้านการสนัับสนุุนทุุน วิิจััยด้้วยการสร้้างองค์์ความรู้้�ที่่�เหมาะสม ผ่่านกระบวนการวิิจััยทางวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี ร่่วมกัับการจััดการด้้านธุุรกิิจและการออกแบบ พััฒนาบรรจุุภััณฑ์์ ซึ่่�งจะทำให้้ผู้้�ประกอบการที่่�เข้้าร่่วมโครงการได้้เข้้าถึึงองค์์ความรู้้� เทคโนโลยีีและนำนวััตกรรมที่่�ได้้ไปใช้้ในการแก้้ไข ปรัับปรุุง และพััฒนาผลิิตภััณฑ์์จนสามารถผลัักดัันสิินค้้าไปสู่่�เชิิงพาณิิชย์์ อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�มเติิม https://www.nstda.or.th/home/news_post/innovative-house-awards-2023/ วช. สวทช. สกสว. นำ�ทัพงานวิจัยเพื่อ SMEs จัดแสดงในงาน Innovative House Awards 2023 สร้างสินค้านวัตกรรมขับเคลื่อนธุรกิจ
  • 4. 4 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (3 มีีนาคม 2566) ณ ห้้องนิิทรรศการ 5 ชั้้�น 1 อาคารหอศิิลป์์แห่่งชาติิ กระทรวงวััฒนธรรม: สำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี แห่่งชาติิ (สวทช.) โดย ดร.จุุฬารััตน์์ ตัันประเสริิฐ รองผู้้�อำนวยการสำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ เป็็นผู้้�แทน หน่่วยงาน เข้้ารัับโล่่รางวััลองค์์กรคุุณธรรมต้้นแบบโดดเด่่น ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีีนายอิิทธิิพล คุุณปลื้้�ม รััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงวััฒนธรรม ประธานในพิิธีีเป็็นผู้้�มอบโล่่รางวััล อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�มเติิม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-nmpc-20230303/ สวทช. รัับโล่่รางวััล "คุุณธรรมต้้นแบบโดดเด่่น" ต่่อเนื่่�อง 2 ปีีซ้้อน (ปีี 2564-2565)
  • 5. 5 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (4 มีีนาคม 2566) ณ อุุทยานวิิทยาศาสตร์์ประเทศไทย จ.ปทุุมธานีี: กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อว.) สำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ (สวทช.) ร่่วมกัับมหาวิิทยาลััยศููนย์์ประสานงานภููมิิภาค ภายใต้้การสนัับสนุุนโดย สำนัักงานการวิิจััยแห่่งชาติิ (วช.) และธนาคารไทยพาณิิชย์์ จำกััด (มหาชน) จััดการประกวดโครงงานของนัักวิิทยาศาสตร์์รุ่่�นเยาว์์ ครั้้�งที่่� 25 รอบชิิงชนะเลิิศ (The 25th Young Scientist Competition: YSC 2023) เมื่่�อวัันที่่� 3 - 4 มีีนาคม 2566 ชิิงถ้้วยพระราชทานฯ สมเด็็จพระกนิิษฐาธิิราชเจ้้า กรมสมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ สยามบรมราชกุุมารีี และโอกาสในการเข้้าร่่วมการประกวดโครงงาน วิิทยาศาสตร์์ วิิศกรรมศาสตร์์ ระดัับนานชาติิ พร้้อมเงิินรางวััลและตั๋๋�วเครื่่�องบิินเดิินทางและที่่�พัักมููลค่่ารวมกว่่า 3 ล้้านบาท ทั้้�งนี้้�ได้้รัับ เกีียรติิจาก ศาสตราจารย์์ ดร.ชููกิิจ ลิิมปิิจำนงค์์ ผู้้�อำนวยการ สวทช. พร้้อมด้้วย ดร.วิิภารััตน์์ ดีีอ่่อง ผู้้�อำนวยการ วช. ดร.ศรััณย์์ สััมฤทธิ์์� เดชขจร รัักษาการรองผู้้�อำนวยการ สวทช. ดร.สมบุุญ สหสิิทธิิวััฒน์์ รัักษาการผู้้�ช่่วยผู้้�อำนวยการ สวทช. นางสาวอารยา ภู่่�พานิิช รองผู้้�จััดการใหญ่่ ผู้้�บริิหารสายงานกิิจกรรมเพื่่�อสัังคม ธนาคารไทยพาณิิชย์์ จำกััด(มหาชน) และผู้้�บริิหาร มหาวิิทยาลััยศููนย์์ประสานงาน ภููมิิภาค ร่่วมมอบโล่่รางวััลทีีมที่่�ชนะการแข่่งขัันในครั้้�งนี้้� อ่่านรายละเอีียดเพิ่่�ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-ysc2023/ สวทช. ประกาศผลรางวััล YSC2023 การประกวดโครงงานของนัักวิิทยาศาสตร์์รุ่่�นเยาว์์ ครั้้�งที่่� 25
  • 6. 6 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (8 มีนาคม 2566) ห้องแถลงข่าว ชั้น 1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.): - กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) โดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) เปิดตัวโรงงานต้นแบบชีวกระบวนการไบโอเทค (BIOTEC Bioprocessing Facility) หรือ BBF ซึ่งเป็นโครงสร้าง พื้นฐานที่สำ�คัญสำ�หรับการดำ�เนินงานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในระดับกึ่งอุตสาหกรรมที่ได้รับมาตรฐานระดับสากลอย่าง Codex GHPs และ HACCP รองรับการทำ�วิจัยร่วมกับภาคเอกชน และงานให้บริการ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และเร่งผลักดันการนำ�งานวิจัยไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนตามนโยบาย โมเดลเศรษฐกิจ BCG อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-bbf-08032566/ ไบโอเทค สวทช. เปิดโรงงานต้นแบบ ชีวกระบวนการไบโอเทค มาตรฐานสากล
  • 7. 7 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (10 มีนาคม 2566) ณ โถงอาคารกลุ่มนวัตกรรม 1 (INC1) อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. จ.ปทุมธานี: ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำ�นวยการใหญ่สำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ depa ร่วมแถลงข่าวเปิดศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบรวดเร็ว (TD-X Center: Thailand Science Park & depa Acceleration Center) โดยมี คุณฉัตรชัย คุณปิติลักษณ์ รองผู้อำ�นวยการใหญ่(กลุ่มงานส่งเสริมระบบนิเวศเศรษฐกิจดิจิทัล)depa ดร.ชินาวุธ ชินะประยูร ผู้ช่วยผู้อำ�นวย การ(กลุ่มงานส่งเสริมระบบนิเวศเศรษฐกิจดิจิทัล) depa ดร.เจนกฤษณ์ คณาธารณา รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. ร่วมงาน โดยศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบรวดเร็ว จัดตั้งขึ้นและดำ�เนินงานร่วมกันระหว่าง สวทช. และ depa เพื่อพัฒนา Platform และสร้าง Ecosystem ในการเร่งการพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs Startup สำ�หรับผลิตภัณฑ์หรือบริการ ด้านนวัตกรรม ตั้งแต่การออกแบบและพัฒนาต้นแบบที่ครบวงจรอย่างรวดเร็ว โดยอาศัยPlatform เป็นศูนย์กลางในการดำ�เนินการประสาน ความร่วมมือระหว่างเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/10032566-td-x-center/ สวทช. ผนึกกำ�ลัง ดีป้า หนุนผู้ประกอบการ-สตาร์ตอัป เปิดตัว “ศูนย์เร่งพัฒนาต้นแบบรวดเร็ว-TD-X Center” เร่งสปีดงานวิจัยสู่ตลาด
  • 8. 8 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (13 มีนาคม2566) ณ ห้องออดิทอเรียม บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) สำ�นักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ สำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดกิจกรรม โครงการรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายฝึกทักษะวิจัย/ครูวิทยาศาสตร์ ณ ห้องปฏิบัติการวิจัยของศูนย์วิจัยแห่งชาติ สวทช. ภาคฤดูร้อน ประจำ�ปี 2566 (ปีที่6) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร์ หรือในโครงการพิเศษสำ�หรับผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมและครูวิทยาศาสตร์ ได้มีโอกาส เข้ามาฝึกฝนทักษะการวิจัยในห้องปฏิบัติการวิจัยของศูนย์วิจัยแห่งชาติของ สวทช. อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-14032566/ สวทช. ร่วมกับ วช. จัดกิจกรรม โครงการรับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายฝึกทักษะวิจัย/ครูวิทยาศาสตร์
  • 9. 9 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (14 มีนาคม 2566) นักวิจัยนาโนเทค สวทช. พัฒนากระบวนการสังเคราะห์อนุภาคนาโน ช่วยนำ�ส่ง CBD หรือสารสกัดจากพืชกลุ่ม กัญชา-กัญชง ลดข้อจำ�กัด เพิ่มความสามารถในการละลายน้ำ� และเพิ่มประสิทธิภาพทางเภสัชวิทยา ขยายการนำ�ไปต่อยอดใช้งาน ในเชิงอุตสาหกรรมได้หลากหลาย เพิ่มโอกาสต่อยอดเชิงพาณิชย์ รับเทรนด์ตลาดกัญชา-กัญชงโลก และตลาดกัญชงไทยที่จะโตถึง 126% ในปี 2568 ซึ่ง Cannabidiol (CBD) คือสารสกัดจากพืชตระกูลกัญชง-กัญชา (Cannabis sativa L.) ซึ่งได้รับความสนใจมากขึ้นอย่างต่อ เนื่องทั้งการนำ�ไปใช้ทางการแพทย์และการวิจัยทางคลินิก เนื่องจากมีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาทางการบำ�บัด รวมทั้งการออกฤทธิ์ต้าน อนุมูลอิสระและลดการอักเสบ ซึ่งสารสกัด CBD ไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและมีความเป็นพิษต่อระบบประสาทต่ำ� อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nano-cbd/ นาโนเทค สวทช. พัฒนาอนุภาคนาโน นำ�ส่งสารกลุ่มกัญชา-กัญชง ติดปีกอุตสาหกรรมเวชสำ�อาง
  • 10. 10 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (15 มีนาคม 2566) นักวิจัยนาโนเทค สวทช. พัฒนาสเปรย์ทำ�ความเย็นอัดแก๊สแรงดันสูงที่มีส่วนประกอบของสารสกัดจากธรรมชาติ รวมถึงธาตุอาหารเสริมและรอง ในชื่อ ‘iPlantMultipurposeSpray’ ช่วยลดอุณหภูมิภายในของพืช ลดการคายน้ำ�จากอากาศร้อน ช่วยให้ พืชสดชื่น ไม่เหี่ยวเฉา ตอบความต้องการธุรกิจไม้ดอก ไม้ประดับ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมไม้เมืองหนาวราคาสูงที่นำ�มาปลูกในประเทศไทย อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/iplant-multipurpose-spray/ นาโนเทค สวทช. พัฒนาสเปรย์เติมความ “สด” ให้พืช ‘iPlant Multipurpose Spray’ ตอบโจทย์ธุรกิจส่งออกพืชเมืองหนาว
  • 11. 11 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 นาโนเทค สวทช. ต่อยอด Nano Coating สู่น้ำ�ยาเคลือบพื้นผิวโซลาร์เซลล์ "ลดฝุ่นเกาะ-สะท้อนน้ำ�" นวัตกรรมตอบโมเดลเศรษฐกิจ BCG ด้านเศรษฐกิจสีเขียว (17 มีนาคม2566) นักวิจัยนาโนเทค สวทช. พัฒนาน้ำ�ยาเคลือบผิวโซลาร์เซลล์ ด้วยเทคโนโลยีเคลือบนาโน(NanoCoating) ลดการเกาะ ของฝุ่น เพิ่มสมบัติสะท้อนน้ำ� พร้อมขยับสู่ดีพเทคสตาร์ตอัปในชื่อ “นาโน โค๊ตติ้ง เทค” นำ�นวัตกรรมหนุนอุตสาหกรรมพลังงานทางเลือก โดยเฉพาะโซลาร์เซลล์และโซลาร์ฟาร์ม ช่วยลดก๊าซเรือนกระจก เพิ่มความยั่งยืนทางพลังงาน รับโมเดลเศรษฐกิจ BCG อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nano-coating/
  • 12. 12 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (18 มีนาคม 2566) ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์: ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมแสดงความยินดีกับ ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และกรรมการบริหารศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) พร้อมด้วย ศาสตราจารย์คลินิก พญ.โฉมศรี โฆษิตชัยวัฒน์ อธิการบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และกรรมการบริหารศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ(ไบโอเทค) และ ดร.นำ�ชัย ชีววิวรรธน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์ สื่อและผลิตภัณฑ์ สวทช. ในโอกาสที่ได้รับโล่และประกาศเกียรติคุณศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำ�ปี 2565 อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-18032566/ ผู้บริหาร สวทช. ร่วมแสดงความยินดีกับศิษย์เก่าดีเด่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2565
  • 13. 13 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. ร่วมกับ กสทช. เปิดตัว “โครงการยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์ IoT ของไทยสู่อาเซียน” (23 มีนาคม 2566) ณ อาคารซอฟต์แวร์พาร์ค: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยเขตอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ประเทศไทย ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) และห้องปฏิบัติการทดสอบซอฟต์แวร์ (SQUAT) ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) โดยกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ (กทปส.) จัดสัมมนาเปิดตัว “โครงการยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์ InternetofThings(IoT) ของไทยสู่อาเซียน”UpliftThai’sServiceRobotsandInternetofThings(IOT)toASEAN เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ เสริมศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน อีกทั้งเป็นการผลักดันให้อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์InternetofThings(IoT) ของไทยแข็งแกร่งและทัดเทียมนานาประเทศ โดยนำ�ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมาช่วยให้เพิ่มประสิทธิภาพให้กับภาคอุตสาหกรรม โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการ สวทช. เป็นประธานเปิดงาน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/uplift-iot/
  • 14. 14 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สปสช. ผนึกความร่วมมือ สวทช. รุกพัฒนา “นวัตกรรมบริการสุขภาพระบบบัตรทอง” (23 มีนาคม 2566) สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ลงนามความร่วมมือเพื่อดำ�เนินการศึกษา การวิจัยพัฒนา และการประยุกต์ใช้นวัตกรรม เพื่อการให้บริการด้านสุขภาพของภาครัฐในระบบ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยมีผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของทั้ง2 หน่วยงานเข้าร่วมงาน ภายใต้ความร่วมมือนี้มีระยะเวลา2 ปี ประกอบ ด้วยการดำ�เนินงานใน 5 ด้าน ได้แก่ 1. การส่งข้อมูลสำ�หรับเบิกจ่ายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Claim Gateway) 2. การรับเรื่องร้องเรียนระดับ เขต และระดับจังหวัด (Traffy Fondue) และจับคู่ความต้องการรักษาพยาบาลกับโรงพยาบาล 3. การให้ปรึกษาด้านการออกแบบคลาวน์ (CloudComputing)4. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลจำ�นวนมากและปัญญาประดิษฐ์(BigData&AI) รวมทั้งDashboard สำ�หรับการบริหาร จัดการ และ5. การพัฒนาRoadmap สำ�หรับการวิจัยพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์และอวัยวะเทียมในรายการสิทธิประโยชน์2 ปี อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mou-nhso/
  • 15. 15 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. ร่วมผนึกกำ�ลัง มข. เสริมแกร่งทางวิชาการ เดินหน้าการวิจัย สร้างและขยายนวัตกรรมการตรวจโรควัณโรค (24 มีนาคม2566) ณ ห้องแถลงข่าว ชั้น1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.): สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ลงนามความร่วมมือทางวิชาการร่วมกับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้าน นวัตกรรมทางการแพทย์และชีววิทยา ด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปัญญาประดิษฐ์(AI) พร้อมเสริมทัพนวัตกรรมสมัยใหม่ ช่วยในการขับเคลื่อนประเทศ โดยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชาญชัย พานทองวิริยะกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมลงนาม พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์เกียรติไชย ฟักศรี คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยและบริการตรวจ วินิจฉัยโรคติดเชื้อระบาดใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ ดร.ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร รองผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นสักขีพยาน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-mou-24032566/
  • 16. 16 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 การประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช. ครั้งที่ 18 ‘NAC2023’ โชว์ขุมพลังวิจัย ‘ขับเคลื่อน BCG สู่ความยั่งยืน’ เริ่มแล้ว 28-31 มี.ค. ที่ อุทยานวิทยาศาสตร์ฯ ปทุมธานี (28 มีนาคม 2566) ณ อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการ สวทช. ประจำ�ปี 2566 (NSTDA Annual Conference: NAC2023) ภายใต้แนวคิด “สวทช. : ขุมพลังหลัก วทน. เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG สู่ความ ยั่งยืน” (NSTDA: STI powerhouse to drive BCG economy for Thailand's sustainable development) ระหว่างวันที่ 28 -31 มีนาคม 2566 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี โดยมี นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี นายไชยรัตน์ บุตรเทพ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดธัญบุรี พลตรีปัญญา ตั้งความเพียร ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่11 พล.ต.ต.ชุมพล ชาญชนะโยธิน ผู้บังคับการตำ�รวจภูธรจังหวัดปทุมธานี ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พร้อมคณะผู้บริหารและพนักงานกระทรวง อว. และ สวทช. ร่วมรับเสด็จฯ อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nac2023-opening/
  • 17. 17 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. เปิดสูตรสำ�เร็จโครงการ “TIME” ยกระดับขีดความสามารถ พัฒนา ‘บุคลากรทักษะสูง’ ตอบโจทย์อุตสาหกรรม (28 มีนาคม 2566) ที่อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย: สถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต (CFA) ภายใต้สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดสัมมนา ความสำ�เร็จโครงการ TIME & WiL ยกระดับขีดความสามารถ พัฒนาคนตอบโจทย์อุตสาหกรรมภายใต้โครงการ Total Innovation Management Enterprise (TIME) and Work-integrated Learning (WiL) Project Success ซึ่งเป็นหนึ่งในกลไกสำ�คัญที่เชื่อมโยงสถานประกอบการกับสถานศึกษาและ หน่วยงานวิจัยในการบูรณาการการพัฒนาบุคลากร พร้อมจัดพิธีมอบโล่ “รางวัลนวัตกรรมการศึกษาเพื่อสังคม” ให้กับ 3 สถานประกอบ การที่เข้าร่วมในโครงการ ได้แก่ บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำ�กัด บริษัท พีรพัฒน์ เทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัท คอมแพ็ค อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จำ�กัด ซึ่งเป็นสถานประกอบการตัวอย่างที่แสดงถึงศักยภาพในการพัฒนากระบวนการยกระดับความสามารถ ทางนวัตกรรมของอุตสาหกรรมไทย ผ่านการพัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการกระบวนการสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/time-nac2023/
  • 18. 18 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ไบโอเทค สวทช. จับมือกรมประมง ในการคัดกรอง ทดสอบ และพัฒนาวิธีการผลิตเชื้อจุลินทรีย์ สำ�หรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� เพื่อแจกจ่ายให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์จริง (29 มีนาคม 2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) และกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมแถลงความสำ�เร็จ ในการคัดเลือกและพัฒนาสายพันธุ์จุลินทรีย์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� โดยจุลินทรีย์ดังกล่าวสามารถยับยั้งการสร้าง ไบโอฟิล์มของเชื้อก่อโรคทำ�ให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรค และลดความจำ�เป็นในการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ�ลงได้ โดยมีความพร้อม ในการถ่ายทอดวิธีการผลิตหัวเชื้อสำ�หรับแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรเพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/biotec-mou-fisheries/
  • 19. 19 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. ได้รับการรับรองมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย ‘TMVS’ จากทีเส็บ (29 มีนาคม 2566) ณ อาคารอาเซียน รัชดา กรุงเทพฯ: ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เข้ารับตราสัญลักษณ์การรับรองมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย (Thailand MICE Venue Standard: TMVS) จาก ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ประธานกรรมการสำ�นักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเส็บ (TCEB) ในงานMICEStandardDay2023 เพื่อส่งเสริมมาตรฐานสถานที่จัดงานของไทยและอาเซียน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน รองรับตลาดธุรกิจไมซ์ในอนาคต ทั้งนี้ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ซึ่งอยู่ภายใต้การบริหารงานโดย สวทช. ได้เข้าร่วมการ ประเมินและผ่านการรับรองมาตรฐาน TMVS ประเภทห้องประชุม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมาจนครบทุกห้องตามเกณฑ์ และมีการ ประเมินเพื่อต่ออายุทุก ๆ 3 ปี จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ตราสัญลักษณ์ดังกล่าวใช้ยืนยันว่าสถานที่จัดงานต่าง ๆ ในสถานที่ราชการและเอกชน ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้า โรงแรม รีสอร์ท มีความเหมาะสมตามมาตรฐานการจัดงานในระดับสากล เพิ่มความมั่นใจในคุณภาพ ของผู้ประกอบธุรกิจไมซ์ในไทยให้กับกลุ่มนักธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-29032566/
  • 20. 20 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. ต้อนรับผู้ประกอบการ-เครือข่ายเกษตรกร จ.ปทุมธานี เยี่ยมชมโรงงานต้นแบบผลิตพืช (30 มีนาคม2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ให้การต้อนรับกลุ่มนักธุรกิจและกลุ่มเกษตรกรจังหวัดปทุมธานี เพื่อเข้าเยี่ยมชมโรงงานต้นแบบผลิต พืช (Plant factory) ของ สวทช. โดยมี ดร.เกรียงไกร โมสาลียานนท์ ทีมวิจัยนวัตกรรมโรงงานผลิตพืช ไบโอเทค พาคณะเข้าเยี่ยมชม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเทคโนโลยีและหาแนวทางการทำ�งานร่วมกันระหว่างนักวิจัย นักธุรกิจและเครือข่ายเกษตรกรปทุมธานี รวมทั้ง นำ�เทคโนโลยีดังกล่าวไปถ่ายทอดในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีและกลุ่มผู้สนใจต่อไป อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-plant-factory/
  • 21. 21 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. จัดสัมมนาวิชาการและส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์อวกาศ ให้สถาบันการศึกษา 20 แห่ง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำ�หรับเยาวชนไทย (30 มีนาคม 2566) ณ อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ชาติ (สวทช.) จัดสัมมนาวิชาการหัวข้อ “ราชพฤกษ์อวกาศ เมล็ดพันธุ์อวกาศสู่ต้นกล้าเพื่อการเรียนรู้” พร้อมส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์ ที่ปลูกโดยเมล็ดที่ผ่านการท่องอวกาศนาน 7 เดือน ให้แก่สถาบันการศึกษา จำ�นวน 20 แห่งทั่วประเทศนำ�ไปปลูก เพื่อต่อยอดสู่การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์จากการศึกษาเปรียบเทียบการเติบโตระหว่างต้นราชพฤกษ์อวกาศที่ปลูกด้วยเมล็ดจากอวกาศกับต้นราชพฤกษ์ที่ปลูกด้วยเมล็ด ปกติ โดยมี ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และนายทาเคฮิโระ นากามูระ ผู้อำ�นวยการองค์การสำ�รวจอวกาศญี่ปุ่น สำ�นักงานกรุงเทพฯ ร่วมส่งมอบต้นราชพฤกษ์อวกาศ อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-asian-herb-in-space/
  • 22. 22 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. จัดสัมมนาเรื่อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านโอมิกส์ ที่นำ�ไปสู่การปรับปรุงพันธุ์แบบแม่นยำ� และโอกาสของประเทศไทย ในการเป็นผู้นำ�การส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชระดับโลก (30 มี.ค. 2566) ณ อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดงานสัมมนาพิเศษเรื่อง “ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านโอมิกส์ที่นำ�ไปสู่การปรับปรุงพันธุ์แบบแม่นยำ� และโอกาสของประเทศไทยในการเป็นผู้นำ�การส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชระดับโลก” เป็นการนำ�เสนอความพร้อมทางด้านข้อมูลQTL ที่สำ�คัญและ เครื่องหมายโมเลกุลที่สามารถนำ�ไปใช้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความแม่นยำ�ในการคัดเลือกในพืชสำ�คัญของประเทศ เช่น ข้าว ข้าวโพด มะเขือเทศ พืชสมุนไพร (กัญชา กัญชง บัวบก) พืชผัก (แตง มะระ) และไม้ผล (มะพร้าว) ทั้งนี้ได้รับเกียรติจาก ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา รักษาการ รองผู้อำ�นวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. กล่าวเปิดงาน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-30032566/
  • 23. 23 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. ชวน ‘คนดัง’ สายกรีน เปิดมุมมองส่งเสริมแนวคิด Circular economy เพื่อวิถีชีวิตที่ยั่งยืนสำ�หรับเยาวชนคนรุ่นใหม่ (30 มีนาคม2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.ศรันย์ สัมฤทธิ์เดชขจร รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นประธานเปิดงาน สัมมนาการส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อวิถีชีวิตที่ยั่งยืนสำ�หรับเยาวชน คนรุ่นใหม่ "Promoting the concept of circular economy for sustainable living of the new generation." โดยได้รับเกียรติจาก ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำ�นวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมบรรยาย ภาพรวม ในหัวข้อ “ทำ�ไม ประเทศเราถึงต้องเริ่มทำ�ธุรกิจที่ยั่งยืน” สำ�หรับงานสัมมนาวิชาการครั้งนี้ เพื่อหาแนวทางการส่งเสริม แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ให้กับคนรุ่นใหม่ โดยการแชร์ประสบการณ์จากผู้ปฏิบัติจริงในด้านธุรกิจสีเขียว ได้แก่ คุณเชอรี่ เข็มอัปสร นักแสดงสาวสวยมากความสามารถ กับธุรกิจรักษ์โลก แบรนด์ "สิริไท" คุณณภัทร พงษ์แพทย์ ผู้แทนมูลนิธิเอสโอเอส (SOS Thailand) และคุณชณัฐ วุฒิวิกัยการ เจ้าของช่อง ‘KongGreenGreen’ อินฟลูเอนเซอร์สายกรีน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-30032566-2/
  • 24. 24 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เอ็มเทค สวทช. เปิดตัวนวัตกรรม ชุดเอ็กโซสูท (Exosuits) นวัตกรรมชุดบอดี้สูทสำ�หรับสังคมอายุยืน ตัวช่วยผู้สูงอายุและผู้ดูแล (31 มีนาคม 2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สำ�นักงานคณะกรรม การส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) และ สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ(เอ็มเทค) สวทช. จัดสัมมนาเปิดตัวนวัตกรรม ชุดเอ็กโซสูท(Exosuits) “เรเชล(Rachel)” และ “รอส(Ross)” โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ร่วมให้ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mtec-exosuits/
  • 25. 25 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สวทช. มอบประกาศนียบัตร ผู้สอบผ่านโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE) (31 มีนาคม 2566) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี: สถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต (CFA) ภายใต้สำ�นักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรผู้สอบผ่านโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE) มอบโล่ ประกาศเกียรติคุณโครงการเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภาคผลิต และบริการ โดย ดร.ศิริชัย กิตติวราพงศ์ ผู้อำ�นวยการสถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต สวทช. เป็นประธาน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-nstda-itpe/
  • 26. 26 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เรียบเรียง: วัชราภรณ์ สนทนา จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นเมืองที่มีลักษณะโดดเด่นทางภูมิศาสตร์ใน ฐานะ ‘เมืองสามน้ำ�’ คือมีทั้งระบบนิเวศน้ำ�จืด น้ำ�เค็ม และน้ำ�กร่อย ในพื้นที่ เดียวกัน กลายเป็นความสมบูรณ์ที่เอื้อต่อการทำ�ประมงและการเกษตร ยิ่งเฉพาะ ‘มะพร้าว’ ถือว่าเป็นแหล่งปลูกขนาดใหญ่ และขึ้นชื่อว่ามีรสชาติหวานหอมเป็น อัตลักษณ์ หนึ่งในพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดสมุทรสงคราม ทว่าในช่วงภาวะ ผลผลิตราคาตกต่ำ� เกษตรกรผู้ปลูกต้องประสบปัญหาภาวะขาดทุนอยู่ไม่น้อย ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจาก ‘เปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่’ ใช้เทคโนโลยีเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งสู่ ‘ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองสามน้ำ�’
  • 27. 27 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก ต.บางยี่รงค์ อ.บางคนที คือกลุ่ม ชาวบ้านที่มีอาชีพหลักดั้งเดิมคือการทำ�สวนมะพร้าว แต่ด้วยปัญหาความเดือด ร้อนจากราคามะพร้าวผลที่ตกต่ำ�อย่างมาก ได้กลายเป็นแรงผลักดันให้พวกเขา ลุกขึ้นมารวมกลุ่มพัฒนาแปรรูปสู่ผลิตภัณฑ์ ‘น้ำ�มันมะพร้าวสกัดเย็น’ เพื่อให้มี รายได้เลี้ยงปากท้อง บุปผา ไวยเจริญ ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก จ.สมุทรสงคราม เล่าว่า เดิมทีชาวบ้านปลูกมะพร้าวผลแก่ขาย แต่ในช่วงนั้นราคา ขายตกต่ำ�มาก จากขายลูกละ 15 บาท เหลือลูกละ 3 บาท เกษตรกรแทบอยู่ไม่ ได้เลย เพราะแค่การเก็บมะพร้าว ต้องมีรายจ่ายทั้งค่าสอย ค่าวางมะพร้าว และ ค่านำ�มะพร้าวขึ้นรถเข็น รายได้จากการขายมะพร้าวแทบไม่พอจ่ายค่าจ้างด้วยซ้ำ� จึงคิดกันว่าจะเพิ่มมูลค่ามะพร้าวได้อย่างไร กระทั่งมีโอกาสไปดูงานการแปรรูป มะพร้าว ก็เลยได้แนวคิดการทำ�น้ำ�มันมะพร้าวสกัดเย็น ซึ่งตอนนั้นมีการรวมกลุ่ม เล็ก ๆ ช่วยกันทำ�ในโรงเรือน เป็นสินค้าแปรรูปชิ้นแรก และได้รับการตอบรับอย่าง ดีจากลูกค้า ทั้งนี้ในกระบวนการผลิตน้ำ�มันมะพร้าวสกัดเย็นจะมีเปลือกมะพร้าว เหลือทิ้งอยู่มาก แม้จะนำ�ไปขายต่อให้เกษตรกรในพื้นที่นำ�ไปใช้ปลูกต้นไม้ได้บ้าง แต่ก็ยังจำ�หน่ายได้ในราคาถูกและเหลือปริมาณมาก บุปผา จึงเกิดแนวคิด นำ�มาเป็นวัตถุดิบทำ� ‘ผ้ามัดย้อมจากเปลือกมะพร้าว’ โดยอาศัยภูมิปัญญาดั้งเดิม ผสานกับนวัตกรรมจากสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทช.) บุปผา ไวยเจริญ ประธานกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก จ.สมุทรสงคราม
  • 28. 28 NSTDA • Apirl 2023 เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 “เราชอบผ้ามัดย้อมเป็นทุนเดิม เริ่มแรกลองใช้ความรู้ที่มี นำ�เปลือก มะพร้าวมาแช่น้ำ� พอมีสีออกมา ก็ใช้ย้อมผ้า ปรากฏว่าผ้าติดสีไม่ค่อยดี สีไม่สม่ำ�เสมอ แถมพอซักแล้วสีซีดจางหรือไม่ก็หลุดหมดเลย ไม่ได้ผล ตอนนั้นจึงไปติดต่ออุตสาหกรรมจังหวัด ซึ่งทางหน่วยงานได้ช่วยประสาน งานให้ทางสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) และ นักวิจัยจากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เข้ามา “เราชอบผ้ามัดย้อมเป็นทุนเดิม เริ่มแรกลองใช้ความรู้ที่มี นำ�เปลือก มะพร้าวมาแช่น้ำ� พอมีสีออกมา ก็ใช้ย้อมผ้า ปรากฏว่าผ้าติดสีไม่ค่อย ดี สีไม่สม่ำ�เสมอ แถมพอซักแล้ว สีซีดจางหรือไม่ก็หลุดหมดเลย ไม่ได้ผล ตอนนั้นจึงไปติดต่อ อุตสาหกรรมจังหวัด ซึ่งทางหน่วย งานได้ช่วยประสานงานให้ทาง สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร (สท.) และนักวิจัย จากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ แห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เข้ามา ช่วย ซึ่งทางทีมวิจัยลงพื้นที่มาสอน การผลิตตั้งแต่ต้นน้ำ�ถึงปลายน้ำ� เลย ให้ความรู้ตั้งแต่การเลือกผ้าว่า ผ้าประเภทไหนติดสี การทำ�ความ สะอาดผ้าด้วยเทคโนโลยีเอนไซม์ เอนอีซ ซึ่งช่วยทำ�ความสะอาดและ ลอกแป้งออกจากผ้าในขั้นตอนเดียว แค่แช่ผ้าก็สะอาดหมดจดทำ�ให้ ติดสีได้ดีขึ้น
  • 29. 29 เมษายน 2566 • เมษายน 2566 ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มาผลิตสีดู ปรากฏว่าสีจากใบลิ้นจี่จะสว่างกว่าสีจากเปลือก มะพร้าว สีจากใบลิ้นจี่จะได้โทนส้ม น้ำ�ตาลและเทา ส่วนสี จากเปลือกมะพร้าวจะได้สีโทนน้ำ�ตาลเข้ม “ทุกวันนี้ผ้ามัดย้อมสีเปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่ เป็นสินค้าอัตลักษณ์ชุมชนที่ช่วยสร้างอาชีพและรายได้ให้ คนในพื้นที่อย่างมาก จากแทนที่ปีหนึ่งเก็บลิ้นจี่ได้ปีละ 1 ครั้ง ตอนนี้เก็บใบมาทำ�ผ้ามัดย้อมขายได้ทั้งปี ที่สำ�คัญ ทั้งใบลิ้นจี่ และเปลือกมะพร้าวเป็นทุนที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ จึงนำ�มาสกัดสีได้โดยไม่ต้องซื้อจากที่อื่น ทำ�ให้ลดต้นทุน และเพิ่มรายได้คนในพื้นที่ประมาณ 15% อีกทั้งการนำ� ของเหลือทิ้งมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ยังเป็นการ ใช้ทรัพยากรในพื้นที่ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและ ลดปริมาณขยะให้เหลือน้อยที่สุด ดีต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน” ปัจจุบันกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก นำ� ‘ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจากเปลือกมะพร้าวและใบลิ้นจี่’ มาต่อยอดตัดเย็บเป็นเสื้อผ้า หมวก ผ้าพันคอ กระเป๋า ผ้าผืน ฯลฯ เพื่อให้ตอบโจทย์ครอบคลุมความต้องการ ของลูกค้าที่หลากหลาย มีการจำ�หน่ายทั้งที่ร้านของ วิสาหกิจฯ และส่งขายให้แก่ห้างสรรพสินค้า นอกจากนี้ ยังเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้ด้าน ‘การแปรรูปผลิตภัณฑ์จาก มะพร้าวและการทำ�ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ’ ให้แก่ นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่สนใจ นับเป็นหนึ่งใน ‘ต้นแบบ การพัฒนาสินค้าที่ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG’ ด้วย การนำ�วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มายก ระดับวัตถุดิบในพื้นที่สู่ผลิตภัณฑ์สร้างอาชีพให้คนในชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ช่วย ซึ่งทางทีมวิจัยลงพื้นที่มาสอนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำ�ถึง ปลายน้ำ�เลย ให้ความรู้ตั้งแต่การเลือกผ้าว่าผ้าประเภทไหน ติดสี การทำ�ความสะอาดผ้าด้วยเทคโนโลยีเอนไซม์เอนอีซ ซึ่งช่วยทำ�ความสะอาดและลอกแป้งออกจากผ้าในขั้นตอน เดียว แค่แช่ผ้าก็สะอาดหมดจดทำ�ให้ติดสีได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังได้ความรู้เรื่องเทคนิคและ กระบวนการสกัดสี วิธีย้อมสีจากเปลือกมะพร้าว ทีมวิจัย สอนตั้งแต่การชั่ง ตวง วัด การผลิตสี การตรวจเช็คความ เข้มสีก่อนย้อม การออกแบบลายมัดย้อม การพิมพ์สกรีน สีธรรมชาติ ตลอดจนถึงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วย นาโนเทคโนโลยี ซึ่งองค์ความรู้ทั้งหมดนี้ทำ�ให้เราพัฒนา ผ้ามัดย้อมสีเปลือกมะพร้าวที่มีคุณภาพและยังมีความเป็น อัตลักษณ์ของชุมชน” ความสำ�เร็จของวิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอก ไม่ได้มีเพียงการยกระดับเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์เปลือก มะพร้าวที่เป็นของเหลือทิ้งสู่สินค้าภูมิปัญญาที่แฝงด้วย นวัตกรรม แต่พวกเขายังนำ�องค์ความรู้มาขยายผลแก้ปัญหา ‘ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม’ ผลไม้ที่เป็น ‘สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หรือ GeographicalIndications:GI’ ของจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งกำ�ลังประสบปัญหา ‘ผลผลิตน้อย’ บุปผา เล่าว่า ปัญหาใหญ่ของลิ้นจี่พันธุ์ค่อมคือ ผลผลิตออกน้อยมากว่า 10 ปีแล้ว ตอนนี้มีผลผลิตไม่ถึง 20% เพราะความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ เกษตรกร หลายคนตัดสินใจฟันต้นทิ้งและหันมาปลูกมะพร้าวน้ำ�หอม แทนเพราะไม่มีรายได้ น่าเสียดายว่าถ้าชาวบ้านตัดทิ้งหมด ต่อไปคนจะไม่รู้จักลิ้นจี่พันธุ์ค่อมของจังหวัดสมุทรสงคราม จึงปรึกษากับทาง สวทช. ทีมนักวิจัย จึงลองนำ�เอาใบลิ้นจี่