SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การปฏิรูปการศึกษา คงเป็นเรื่องหนึ่งที่สาคัญมาก อาจจะกล่าวว่า
มากที่สุดเสียด้วยซา เราปฏิรูปการศึกษามาแล้วหลายรอบซึ่งก็เป็นที่
วิพากษ์วิจารณ์กันมากถึงความสัมฤทธิ์ผล ในมุมมองของคนที่อยู่ในโลกนีมาหก
สิบกว่าปี เห็นว่าเรื่องที่นาเสนอนีน่าจะพอเป็นอุทาหรณ์ได้
เรื่อง “ทาศึกบนแผ่นกระดาษ” เกิดขึนที่ประเทศจีนเมื่อประมาณ
พ.ศ. 280 ก่อนที่ จิ๋นซี ฮ่องเต้ จะรวมแคว้นต่างๆ เข้าด้วยกันและสถาปนา
ประเทศจีนขึน ประเทศจีนขณะนันประกอบด้วยแคว้นซึ่งมีเจ้าผู้ครองนคร (อ๋อง)
ปกครอง และต่างก็ทาสงครามรบพุ่งกันอยู่มิได้ขาด แคว้นใหญ่ที่มีอานาจมาก
ที่สุดคือ ฉิน ซึ่งมีเมืองหลวงอยู่ที่ เสียนหยาง
ประมาณ พ.ศ. 279 แคว้นฉินกับแคว้นจ้าวทาศึกกัน แคว้นจ้าวมี
จ้าวเซอ เป็นนักการทหารผู้เชี่ยวชาญกลศึก ตีทัพฉินแตกยับเยินที่เมืองเอ๋อ
แคว้นฉินลิมรสแห่งความพ่ายแพ้เป็นครังแรก จ้าวคว่อ บุตรชายของจ้าวเซอ
อ่านหนังสือกับบิดามาตังแต่เด็ก ชอบสนทนาเรื่องศึกสงคราม บางครังบิดาก็ไม่
อาจโต้เถียงเอาชนะเขาได้ จ้าวคว่อ จึงหลงตนเองว่าเชี่ยวชาญการสงคราม ไร้ผู้
ต่อต้าน จ้าวเซอ ผู้เป็นบิดา รู้ดีว่าบุตรชายของตนหามีความสามารถทาง
การทหารอย่างแท้จริงไม่ จ้าวเซอพูดกับภรรยาว่า “การศึกสงครามเป็นเรื่อง
ซับซ้อนมีอันตราย แต่ลูกเรากลับดูเบาว่าเป็นเรื่องง่าย เขาไม่ได้เป็นแม่ทัพก็แล้ว
ไป แต่ถ้าได้เป็นแม่ทัพแล้วละก็ จะทาให้ทัพจ้าวพินาศอย่างแน่นอน”
พ.ศ. 281 ไป๋ฉี่ แม่ทัพแคว้นฉินตีแคว้นหานได้ แล้วยกทัพมาประชิด
เมืองฉางผิงของแคว้นจ้าว ขณะนันจ้าวเซอถึงแก่กรรมแล้ว มีเพียงเหลียนผ่อ
เสาหลักด้านการรบของแคว้นจ้าว ยกทัพไปต้านศึก เหลียนผ่อผู้นี คือขุนศึก
แคว้นจ้าวที่ร่วมรบมากับจ้าวเซอ เหลียนผ่อประมาณการว่าทัพฉินเข้มแข็ง ยาก
จะเอาชนะ จึงใช้ยุทธวิธีตังรับ รบติดพันกันอยู่ 3 ปี
ฉินอ๋อง ร้อนใจจะเผด็จศึก จึงส่งสายลับมาปล่อยข่าวในแคว้นจ้าว
ว่า สิ่งที่แคว้นฉินเกรงกลัวคือ จ้าวคว่อ บุตรจ้าวเซอจะได้เป็นแม่ทัพ ลาพัง
เหลียนผ่อนันรับมือง่าย อีกไม่ช้าเขาก็จะยอมแพ้แล้ว จ้าวเซี่ยงเฉิงอ๋อง ไม่เห็น
ด้วยกับยุทธวิธีตังรับของเหลียนผ่อมานานแล้ว ทังยังหลงเชื่อคาโจษขานที่ปล่อย
ออกมาต่อๆกัน จึงแต่งตังจ้าวคว่อ ไปเป็นแม่ทัพรับศึกฉินแทนเหลียนผ่อ ลิ่น
เซี่ยงหยู อัครมหาเสนาผู้คาจุนแคว้นจ้าวอีกผู้หนึ่ง ทักท้วงจ้าวอ๋องว่า “จ้าวคว่อ
เป็นเพียงนักท่องตาราพิชัยสงคราม ไม่เข้าใจวิธีประยุกต์ใช้ ดีแต่อภิปรายตาม
หนังสือ ไม่สมควรเป็นแม่ทัพ” แต่จ้าวอ๋องไม่เชื่อฟัง
ก่อนจ้าวคว่อจะยกทัพออกไป จ้าวฮูหยิน มารดาของจ้าวคว่อรีบเข้า
มาพบจ้าวอ๋อง บอกว่า “นิสัยของจ้าวคว่อไม่เหมือนจ้าวเซอ ผู้บิดาเลย จ้าวเซอ
อ่อนน้อมถ่อมตนและมีใจใฝ่ศึกษา สิ่งของที่ท่านอ๋องปูนบาเหน็จให้ ก็เอาไป
แจกจ่ายแก่ไพร่พลจนหมดสิน ช่วงเวลาทาราชการจะไม่สนใจเรื่องของ
ครอบครัวตัวเองเลย แต่จ้าวคว่อเป็นแม่ทัพ กลับลาพองใจเย่อหยิ่ง เหยียด
หยามผู้อื่น ใจมุ่งแต่จะแสวงหาผลประโยชน์” จ้าวฮูหยิน คัดค้านจ้าวอ๋องว่า อย่า
ตังจ้าวคว่อเป็นแม่ทัพ แต่จ้าวอ๋องไม่เชื่อฟัง จ้าวฮูหยินจึงกล่าวว่า “ในเมื่อท่าน
จะให้จ้าวคว่อเป็นแม่ทัพอย่างแน่นอนเช่นนี ก็ขอเพียงว่า ถ้าเขาทาหน้าที่
บกพร่อง โปรดอย่าได้ลงโทษพวกเราทังครอบครัว” จ้าวอ๋องก็ตกลง
พ.ศ. 283 จ้าวคว่อไปรับตาแหน่งที่เมืองฉางผิง ทาการเปลี่ยนแปลง
ระเบียบ โยกย้ายทหาร ฮึกเหิมออกทาศึก โดยไม่ประมาณกาลังของตนและศัตรู
ฉินอ๋อง ดีใจยิ่งนัก ส่งขุนพล ไป๋ฉี่ มาเป็นแม่ทัพ ไป๋ฉี่แสร้งทาแพ้ถอยทัพ ล่อกอง
กาลังสาคัญของฝ่ายจ้าวให้ตามไปถึงที่มั่นของทัพฉิน ซึ่งเข้มแข็งมั่นคง ยากที่จะตี
หักเอาชนะได้ ไป๋ฉี่ ใช้ไพร่พลสองหมื่นห้าพันคนมาเป็นทัพซุ่มตีสกัดการล่าถอย
ของทัพจ้าว แล้วใช้ทหารฝีมือดีห้าพันคนตีทะลวงแยกทัพจ้าวออกเป็นสองส่วน
และตัดทางส่งเสบียงของทัพจ้าวหมดทุกทาง
ฉินอ๋องเดินทางมายังเหอเน่ย ให้รางวัลราษฎร รับชายฉกรรจ์อายุ
15 ปีขึนไปเป็นทหาร ยกมาสมทบ ไป๋ฉี่ ที่ฉางผิง
ทัพจ้าวถูกล้อมขาดเสบียงอาหารอยู่ 46 วัน ก็เกิดการจราจลฆ่าฟัน
แย่งชิงอาหารกันเอง จ้าวคว่อจนตรอก จึงจาแบ่งทหารเป็น 4 กอง ตีฝ่าวงล้อม
แต่ก็ไม่สาเร็จ ในที่สุดจ้าวคว่อถูกธนูข้าศึกตาย ทหารแคว้นจ้าว 400,000 คน
ยอมสวามิภักดิ์ต่อทัพฉิน
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 777 ประจาเดือนธันวาคม 2557ประจาเดือนธันวาคม 2557ประจาเดือนธันวาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1
ประทีปนำทำง :ประทีปนำทำง :ประทีปนำทำง :
ทำศึกบนแผ่นกระดำษกับปฏิรูปกำรศึกษำ
โครงการจัดตังสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ เริ่มต้นดาเนินการใน
ปี 2554 จากจุดเริ่มต้นที่ไม่มีอะไรเลย คือเริ่มจาก ศูนย์ ในปีนันก็เกิด วศร.1 (วิศวกรรมระบบขนส่ง
ทางราง รุ่นที่ 1) เมื่อขึนปีที่สอง หนทางข้างหน้าก็ยังค่อนข้างมืดมน เกิดคาถามมากมายถึงอนาคตที่
ยังไม่มีคาตอบ ขึนปีใหม่ 2555 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงส่ง ส.ค.ส. ถึงประชาชน คาอวยพร
หรืออาจจะกล่าวว่าเป็นคติสอนใจก็คือ
“ถึงจะมองไม่เห็นฝั่ง เราก็ต้องพยายามว่ายอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร โภคะทั้งหลายมิได้
สาเร็จด้วยเพียงคิดเท่านั้น”
ส.ค.ส. นี แปะอยู่ข้างฝาหน้าโต๊ะทางาน เป็นประทีปนาทางมาจนบัดนี ปี 2557 กาลังจะ
ผ่านพ้นไปและเข้าสู่ปีใหม่ พ.ศ. 2558 ถึงแม้ยังมองไม่เห็นฝั่ง แต่เชื่อว่าเราแข็งแกร่งขึน
บทบรรณำธิกำร :บทบรรณำธิกำร :บทบรรณำธิกำร :
บทนา
รถไฟมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมการขนส่งที่สะดวก อย่างไร
ก็ตามการดาเนินงานรถไฟค่อนข้างแตกต่างกันระหว่างประเทศญี่ปุ่นและ
ประเทศในยุโรป ประเทศญี่ปุ่นรถไฟมีความชัดเจนในการแยกความ
รับผิดชอบ ในการบูรณาการร่วมดาเนินงานระหว่างบริษัทรถไฟ ซึ่งต่างจาก
หลักการดาเนินงานของรถไฟในยุโรป ซึ่งใช้โครงสร้างแยกส่วนบริหารงาน
รับผิดชอบ โดยมีภาครัฐเป็นผู้ลงทุนในสาธารณูปโภคโครงสร้างพืนฐานทาง
รถไฟ บทความนีแสดงให้เห็นถึงลักษณะการให้บริการที่แตกต่างของรถไฟ
ในประเทศญี่ปุ่นและประเทศในยุโรป
ปกิณกะระบบรำง :ปกิณกะระบบรำง :ปกิณกะระบบรำง :
การให้บริการรถไฟร่วม
การให้บริการรถไฟร่วมมีประโยชน์คือผู้โดยสารไม่ต้องเปลี่ยน
ขบวนรถ ซึ่งสร้างความสะดวกสบายและลดเวลาการเดินทางลง รวมทังลด
ความแออัดของผู้โดยสารและขบวนรถไฟในสถานี และเป็นการลดมูลค่าการ
ลงทุนในส่วนของโครงสร้างพืนฐาน โดยผลลัพธ์สุดท้ายทาให้มีการเพิ่ม
จานวนเส้นทางการให้บริการรถไฟร่วม โดยเฉพาะในพืนที่เขตเมืองของ
ประเทศญี่ปุ่นจะเห็นลักษณะของผู้ประกอบการเดินรถร่วมหลายราย
การให้บริการรถไฟในญี่ปุ่น
บนพืนฐานของเมืองที่มีความหนาแน่นของผู้โดยสารจานวนมาก รถไฟในญี่ปุ่นจะ
เป็นเจ้าของของโครงสร้างพืนฐานรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายในการให้บริการและการบารุงรักษา
รวมทังระบบ อาณัติสัญญาณและการควบคุมรถไฟ โดยปราศจากเงินสนับสนุนจากรัฐบาล
โดยมีจุดเด่น คือ การให้ผู้ประกอบการเดินรถร่วมกันของผู้ประกอบการข้ามเขตพืนที่
กำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของกำรให้บริกำรระหว่ำงรถไฟญี่ปุ่ นและรถไฟยุโรป
ญี่ปุ่ นเน้นดูแลพื้นที่ ยุโรปเน้นดูแลขบวนรถ
จากวารสาร IRTR: Japan Railway & Transport Review
ฉบับที่ 63 March 2014
ผู้แต่ง Dr.Fumio Kurosaki
เรียบเรียง คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล
20 ธ.ค. 57 การประชุมเครือข่ายวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง ประจาเดือน ธันวาคม ครังที่
12/2557 โดยจะมีการหารือกันถึงเรื่อง การจัดงานปีใหม่ ของเครือข่าย วศร. ในวันเสาร์ที่ 24
มกราคม 2558 ขอเรียนเชิญ วศร.ทุกรุ่นเข้าร่วมประชุม เพื่อหารือ ณ ห้อง 103 อาคาร สวทช.
โยธี ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ปฏิทินรำง :ปฏิทินรำง :ปฏิทินรำง :
18-19 ธ.ค. 57 ขอเชิญเข้าร่วมฟังเวทีเสวนาทางวิชาการนานาชาติด้าน
ระบบขนส่งทางราง “1st International Symposium on Railway
System(ISRS)” โดยความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ Waseda University ที่
ตึก 4 ชัน 2 ผู้ที่สนใจสามารถลงทะเบียน "ฟรี" ได้ที่ http://
www.ee.eng.chula.ac.th/site/
30 มี.ค. - 1 เม.ย. 58 งาน AsiaPacificRail
2015: The leading event for Asia
Pacific’s Rail Industry จัดขึนที่ Hong
Kong Convention & Exhibition Centre, Hong Kong พบกับ บูธ
แสดงนิทรรศการกว่า 70 บูธ ผู้บรรยายกว่า 100 คน และผู้เชี่ยวชาญ
ด้านระบบรางที่มาร่วมงานกว่า 1,000 คน ลงทะเบียนและดู
รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.terrapinn.com/aprail2015pre
8-9 ม.ค. 58 กิจกรรมค่ายสานสัมพันธ์นักศึกษาระบบรางรุ่นที่ 2 แนะ
เส้นทางสู่การพัฒนา และพบผู้ประกอบการ ภายใต้ “โครงการส่งเสริม
การศึกษาและวิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง (สวทช.- มหิดล)”
รูปที่ 1 แสดงการให้บริการในประเทศญี่ปุ่นโดยรถไฟทางด้านซ้ายจะวิ่งอยู่ในทางของ
ผู้ประกอบการเดินรถ A ซึ่งจะใช้การบริหารจัดการของบริษัท A และเมื่อได้ผ่านจุดข้ามเขต
แดน (Border Station) จะดาเนินการเปลี่ยนพนักงานขับรถไฟที่สถานีเชื่อมต่อ เป็น
พนักงานขับรถไฟของผู้ประกอบการเดินรถ B ซึ่งจะใช้การบริหารจัดการของบริษัท B การ
ให้บริการในลักษณะนีจะมีลักษณะเด่นในเรื่องของพืนที่ การแบ่งค่าใช้จ่ายสาหรับการเดินรถ
และมีความปลอดภัย เพราะผู้ขับชานาญเส้นทาง
ไป๋ฉี่ ริบอาวุธยุทโธปกรณ์ของทหารจ้าว แล้วสั่งให้จับทหารฝังดินทั้งเป็น
จนหมดสิ้น
“ศึกฉางผิง” กินเวลาเนิ่นนานและก่อความพินาศย่อยยับยิ่งกว่าศึกครังใด
ในยุคจั้นกว๋อ แคว้นจ้าวบอบชามาก ส่อเค้าว่าจะสินชาติ จากนันแคว้นนีก็ค่อยๆ ทรุด
โทรมลง จนกระทัง พ.ศ. 321 ก็ถูกแคว้นฉินพิชิตได้อย่างเด็ดขาด
เห็นปฏิรูปและยกเครื่องการศึกษาไทยกันมาหลายรอบ ก็พอเห็นเค้า
ลาง เพียงแต่สมัยนีเปลี่ยนจากทาศึกบนแผ่นกระดาษมาเป็นนักรบ พาวเวอร์
พ้อยท์ ถือโน๊ตบุ๊ค!
อ้างอิง: หนังสือแลหลังแดนมังกร เล่ม 2
Page | 2
กองบรรณำธิกำร
การประชุมวิชาการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 9
20-21 พ.ย. 57 การประชุม
วิชาการขนส่งแห่งชาติ ครังที่ 9
ภายใต้หัวข้อ “การพัฒนา การ
ขนส่งเพื่อขับเคลื่อนประเทศ
ไทย” ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์
กรุงเทพฯ ปีนีมีผลงานด้านการ
ขนส่งระบบราง นาเสนอด้วย 8
เรื่อง จากนักศึกษาในสังกัดของ
เครือข่าย โครงการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้าน
วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) โดยโครงการจัดตัง
สถาบันฯ ได้ร่วมไปจัดบูธด้วย
กิจกรรมโครงกำรและกิจกรรมโครงกำรและกิจกรรมโครงกำรและ
การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางของประเทศไทย”
24 - 25 พ.ย. 57 สำนักปลัดกระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (สป.วท.) ร่วมกับสถำบันวิจัยวิทยำศำสตร์
และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยโครงการ
จัดตังสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมวิชาการเรื่อง “แนวทางการพัฒนา
อุตสาหกรรมระบบรางของประเทศไทย” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว บางกอก ฟอร์จูน กรุงเทพฯ
การจัดสัมมนาครังนีได้รับเกียรติจาก ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ
เจ้าหน้าที่ชันผู้ใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้แก่ H.E. NING Fukui เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจาประเทศไทย
WANG Jun Vice President จาก China South Railway Corporation (CSR) มาเข้าร่วมงาน โดยได้ผู้เชี่ยวชาญจาก CSR
มหาวิทยาลัย Beijing Jiaotong สาธารณรัฐประชาชนจีน ผู้เข้าร่วมโครงการ Talented Young Scientist Program ผู้แทน วว. และ
ผู้แทน สวทช. ที่เข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตรรถไฟความเร็วสูง เป็นวิทยากรบรรยายถ่ายทอดองค์ความรู้ระบบขนส่งทางราง ให้แก่
ผู้เข้าร่วมงานทังจากภาครัฐ เอกชน สถานศึกษา บุคคลทั่วไป รวมกว่า 200 คน
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ปกิณกะระบบรำง : (ต่อ)ปกิณกะระบบรำง : (ต่อ)ปกิณกะระบบรำง : (ต่อ)
เปิดที่ทาการเพื่อเตรียมการจัดตั้งศูนย์วิจัยร่วมรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน
24 พ.ย. 57 พิธีเปิดป้าย "ที่ทาการเพื่อเตรียมการจัดตังศูนย์วิจัยร่วม
รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (Preparation Office for Thai-China Joint
Research Center on High-speed Railway)" ณ อาคาร สวทช.โยธี
ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ ซึ่งหลังจากนีฝ่ายจีนจะจัดส่ง
เจ้าหน้าที่มาประจา ตามที่รัฐบาลของราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนได้ลงนามความตกลงเพื่อร่วมมือในการพัฒนาระบบขนส่ง
ทางราง ได้แก่ความตกลงเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 56 ซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีของไทยและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน
จะดาเนินโครงการความร่วมมือ ๔ ด้าน ซึ่งรวมถึงโครงการจัดตัง “ศูนย์วิจัยร่วมรถไฟความเร็วสูงไทย-
จีน” (Thailand-China Joint Research Center on High-Speed Railway)
รูปที่ 2 แสดงการให้บริการในประเทศในยุโรป ซึ่งโดยทั่วไปภาครัฐเป็นเจ้าของโครงการสร้างพืนฐานและ
ผู้ประกอบการเดินรถเสียค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานเพื่อให้บริการรถไฟ รูปการเดินรถไฟร่วมนีปรากฎในการ
ให้บริการขนส่งสินค้าในยุโรป และบางส่วนสาหรับการบริการขนส่งผู้โดยสารระหว่างเมือง เพื่อเป็นการสร้าง
การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ อย่างไรก็ตามรูปแบบนียังประสบปัญหาการประสานงานระหว่างหน่วยงาน
ผู้ดูแลบารุงรักษาโครงสร้างพืนฐานและการดาเนินงานเพราะมีการแยกความรับผิดชอบ สาหรับการให้บริการ
เดินรถไฟแต่ละเรื่องแยกออกเป็นประเด็นย่อยๆ ภายในพืนที่การเดินรถเดียวกัน ซึ่งเป็นลักษณะที่แตกต่างจาก
การให้บริการรถไฟของญี่ปุ่นอย่างชัดเจน
การให้บริการรถไฟในยุโรป
การดาเนินงานรถไฟยุโรปมีลักษณะที่
โดดเด่นแตกต่างจากประเทศญี่ปุ่น กล่าวคือใช้การ
ส่งเสริมให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการเดิน
รถเพื่อให้บริการผู้โดยสาร โดยใช้โครงสร้างแยก
ส่วน ทังนีมีสาเหตุมาจาก มีความต้องการของ
ปริมาณผู้โดยสารไม่เพียงพอต่อความต้องการของ
เงินลงทุน ดังนันเพื่อให้ผู้ประกอบการเดินรถ
สามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนจึงต้องได้รับการ
สนับสนุนจากภาครัฐ
Page | 3
คุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ประธาน
เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ช.ทวี ดอลลา
เชียน จากัด และ วศร.รุ่นที่ 1 หนึ่งใน
นักธุรกิจที่ประกอบการในจังหวัด
ขอนแก่น เป็นผู้ร่วมบรรยาย เรื่อง การ
จัดตังกองทุนรวมโครงสร้างพืนฐาน เพื่อ
ระดมทุนมาก่อสร้างระบบขนส่งมวลชน
ขนาดใหญ่ในจังหวัดขอนแก่น
ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร
กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล
ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th website www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
นิทรรศการเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบราง SmartRail Asia 2014
26-28 พ.ย. 57 SmartRail Asia 2014
ณ ศูนย์นิทรรศการและประชุมไบเทค
บางนา กรุงเทพฯ ในงานมีการจัดแสดง
นิทรรศการ ของ การรถไฟฟ้าขนส่ง
มวลชนแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่ง
ประเทศไทย รวมทังเทคโนโลยีหัวรถจักร
ระบบราง และระบบควบคุมรถไฟฟ้า
จากบริษัทนานาชาติที่มีความเชี่ยวชาญ
ด้านรถไฟ ผลงานประตูกันชานชาลาบน
สถานีรถไฟฟ้าจาก KURAIL รวมถึง
ผลงานระบบรถไฟฟ้าจาลอง เพิ่มความ
ปลอดภัยการเดินรถในอนาคต จาก
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง (สจล.) โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการคือ ดร.วันวิสา
ชัชวงษ์ อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมสารสนเทศ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ สจล. และ วศร.รุ่นที่ 4
รศ.ดร.กัณวีร์ กนิษฐ์พงศ์ วศร.1
ขณะนีเป็นอาจารย์หัวหน้า
ภาควิชาวิศวกรรมขนส่ง อยู่ที่
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
หรือ AIT และเป็นสมาชิกสมาคม
Thai Road ซึ่งมีหน้าที่ในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางถนน และ
เคยได้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่น
ที่ 1 อาจารย์เล่าให้ฟังว่า “ก่อนหน้านีไม่เคยรู้เรื่องอะไร
เกี่ยวกับระบบรางเลย พอมาเรียนจึงได้รู้ว่าเกี่ยวกับระบบราง
นันมีการดาเนินการในเรื่องใดบ้าง จะมีการพัฒนาในด้านไหน
ทางด้านเทคนิคอาจติดไปไม่ได้มาก แต่ที่ได้คือการพัฒนา
ตนเอง ได้ประสบการณ์การดูงานจากทังในและต่างประเทศ
และได้รู้ว่ามีกลุ่มบุคคลที่พยายามผลักดันในเรื่องระบบรางนี
อยู่ แต่จบไปจะทาในด้านถนนซะเสียส่วนใหญ่ ก็จะมีเกี่ยวข้อง
กับระบบรางก็ตรงที่มีอุบัติเหตุทางรถไฟเกิดขึน จากการที่ได้
ศึกษาเรื่องเครื่องกันทางรถไฟ ว่ามีกี่รูปแบบแต่ละแบบเป็น
อย่างไร เวลาเกิดเหตุจะมีหลายคนชอบตังคาถามในเรื่องนี
และยังได้รู้จักผู้คนในแวดวงนีมากมาย รวมทังอาจารย์หลายๆ
ท่านด้วย”
กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
กิจกรรมโครงกำรและเครือข่ำย :กิจกรรมโครงกำรและเครือข่ำย :กิจกรรมโครงกำรและเครือข่ำย :
อาจารย์มีแผนที่จะทาอะไรเกี่ยวกับระบบ
รางในอนาคตหรือไม่ครับ “ขณะนีทาง AIT มีความสนใจ
ที่จะเปิดโปรแกรมปริญญาโทด้านระบบราง ซึ่ง AIT มี
Position ที่เป็นศูนย์กลางของอาเซียน และซึ่งประเทศ
รอบข้างให้ความสนใจ แต่ไม่ค่อยมีการสอนในโปรแกรม
ทางด้านนี ตอนนีสิ่งที่ทาง AIT ยังขาดคือบุคลากร ทาง
เราเองต้องการพันธมิตรในการร่วมมือกัน และเมื่อไม่นาน
มานี ได้มี วศร. มาทาบทามเรื่องจุดตัดรถไฟอยู่
เหมือนกัน” อาจารย์ยังบอกต่อว่า “สิ่งที่คาดหวังในการ
เปิดโปรแกรมทางด้านนีคือ หวังให้มีการพัฒนาบุคลากร
ทางด้านระบบรางให้มากขึน ไม่เพียงแต่ในประเทศเราแต่
หมายถึงทังในอาเซียน จากที่ทราบมา ประเทศรอบข้างก็
มีความสนใจที่จะส่งบุคลากรมาศึกษาด้านนี”
สุดท้ายนี้อาจารย์อยากจะฝากถึง วศร. รุ่น
ต่อๆไปว่าอย่างไรครับ “อยากจะบอกว่า พยายามเก็บ
เกี่ยวความรู้ประสบการณ์ให้คุ้มค่ากับการที่ได้รับคัดเลือก
เข้ามาเป็นผู้เข้าอบรม วศร. นะคะ”
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
การเสวนาระบบรางในงานวิศวกรรม’57
29 พ.ย.57 09.00-16.50 น. ห้อง MR 211-212 ณ ศูนย์
นิทรรศการและประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ มีการเสวนา
เรื่อง ระบบรางทางออกเพื่ออนาคตการขนส่งประเทศ
ไทย “ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนทางออกของการ
พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน” โดย ผู้แทนจากหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง ผู้แทนจากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของงาน วิศวกรรม’57 และในงานนิทรรศการ
ทางสมาคมวิชาการและเทคนิคไทย-ฝรั่งเศส (TFTA) ได้ร่วม
จัดบูธแสดงผลงานความร่วมมือกับ ETR (VINCI Group) หนึ่งในผู้นาด้านอุตสาหกรรมระบบ
รางของโลก ด้วย
Page | 4
สังคมระบบรำง :สังคมระบบรำง :สังคมระบบรำง :
ในงานเสวนา นายนคร จันทศร ยังได้พบปะพูดคุยกับ นาย
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ในการพบกันที่งานวิศวกรรม’57 โดยได้มอบชุด
หนังสือของโครงการจัดตังสถาบันฯ เป็นที่ระลึกด้วย
สัมภำษณ์บุคคลระบบรำง :สัมภำษณ์บุคคลระบบรำง :สัมภำษณ์บุคคลระบบรำง :

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch (6)

NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
 
MongoDB_Spark
MongoDB_SparkMongoDB_Spark
MongoDB_Spark
 
Netflix API: Keynote at Disney Tech Conference
Netflix API: Keynote at Disney Tech ConferenceNetflix API: Keynote at Disney Tech Conference
Netflix API: Keynote at Disney Tech Conference
 
What is Partner Sales Enablement?
What is Partner Sales Enablement?What is Partner Sales Enablement?
What is Partner Sales Enablement?
 
NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015
 
كتاب نهاية اسرائيل
كتاب نهاية اسرائيلكتاب نهاية اسرائيل
كتاب نهاية اسرائيل
 

Mehr von National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Mehr von National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 7

  • 1. การปฏิรูปการศึกษา คงเป็นเรื่องหนึ่งที่สาคัญมาก อาจจะกล่าวว่า มากที่สุดเสียด้วยซา เราปฏิรูปการศึกษามาแล้วหลายรอบซึ่งก็เป็นที่ วิพากษ์วิจารณ์กันมากถึงความสัมฤทธิ์ผล ในมุมมองของคนที่อยู่ในโลกนีมาหก สิบกว่าปี เห็นว่าเรื่องที่นาเสนอนีน่าจะพอเป็นอุทาหรณ์ได้ เรื่อง “ทาศึกบนแผ่นกระดาษ” เกิดขึนที่ประเทศจีนเมื่อประมาณ พ.ศ. 280 ก่อนที่ จิ๋นซี ฮ่องเต้ จะรวมแคว้นต่างๆ เข้าด้วยกันและสถาปนา ประเทศจีนขึน ประเทศจีนขณะนันประกอบด้วยแคว้นซึ่งมีเจ้าผู้ครองนคร (อ๋อง) ปกครอง และต่างก็ทาสงครามรบพุ่งกันอยู่มิได้ขาด แคว้นใหญ่ที่มีอานาจมาก ที่สุดคือ ฉิน ซึ่งมีเมืองหลวงอยู่ที่ เสียนหยาง ประมาณ พ.ศ. 279 แคว้นฉินกับแคว้นจ้าวทาศึกกัน แคว้นจ้าวมี จ้าวเซอ เป็นนักการทหารผู้เชี่ยวชาญกลศึก ตีทัพฉินแตกยับเยินที่เมืองเอ๋อ แคว้นฉินลิมรสแห่งความพ่ายแพ้เป็นครังแรก จ้าวคว่อ บุตรชายของจ้าวเซอ อ่านหนังสือกับบิดามาตังแต่เด็ก ชอบสนทนาเรื่องศึกสงคราม บางครังบิดาก็ไม่ อาจโต้เถียงเอาชนะเขาได้ จ้าวคว่อ จึงหลงตนเองว่าเชี่ยวชาญการสงคราม ไร้ผู้ ต่อต้าน จ้าวเซอ ผู้เป็นบิดา รู้ดีว่าบุตรชายของตนหามีความสามารถทาง การทหารอย่างแท้จริงไม่ จ้าวเซอพูดกับภรรยาว่า “การศึกสงครามเป็นเรื่อง ซับซ้อนมีอันตราย แต่ลูกเรากลับดูเบาว่าเป็นเรื่องง่าย เขาไม่ได้เป็นแม่ทัพก็แล้ว ไป แต่ถ้าได้เป็นแม่ทัพแล้วละก็ จะทาให้ทัพจ้าวพินาศอย่างแน่นอน” พ.ศ. 281 ไป๋ฉี่ แม่ทัพแคว้นฉินตีแคว้นหานได้ แล้วยกทัพมาประชิด เมืองฉางผิงของแคว้นจ้าว ขณะนันจ้าวเซอถึงแก่กรรมแล้ว มีเพียงเหลียนผ่อ เสาหลักด้านการรบของแคว้นจ้าว ยกทัพไปต้านศึก เหลียนผ่อผู้นี คือขุนศึก แคว้นจ้าวที่ร่วมรบมากับจ้าวเซอ เหลียนผ่อประมาณการว่าทัพฉินเข้มแข็ง ยาก จะเอาชนะ จึงใช้ยุทธวิธีตังรับ รบติดพันกันอยู่ 3 ปี ฉินอ๋อง ร้อนใจจะเผด็จศึก จึงส่งสายลับมาปล่อยข่าวในแคว้นจ้าว ว่า สิ่งที่แคว้นฉินเกรงกลัวคือ จ้าวคว่อ บุตรจ้าวเซอจะได้เป็นแม่ทัพ ลาพัง เหลียนผ่อนันรับมือง่าย อีกไม่ช้าเขาก็จะยอมแพ้แล้ว จ้าวเซี่ยงเฉิงอ๋อง ไม่เห็น ด้วยกับยุทธวิธีตังรับของเหลียนผ่อมานานแล้ว ทังยังหลงเชื่อคาโจษขานที่ปล่อย ออกมาต่อๆกัน จึงแต่งตังจ้าวคว่อ ไปเป็นแม่ทัพรับศึกฉินแทนเหลียนผ่อ ลิ่น เซี่ยงหยู อัครมหาเสนาผู้คาจุนแคว้นจ้าวอีกผู้หนึ่ง ทักท้วงจ้าวอ๋องว่า “จ้าวคว่อ เป็นเพียงนักท่องตาราพิชัยสงคราม ไม่เข้าใจวิธีประยุกต์ใช้ ดีแต่อภิปรายตาม หนังสือ ไม่สมควรเป็นแม่ทัพ” แต่จ้าวอ๋องไม่เชื่อฟัง ก่อนจ้าวคว่อจะยกทัพออกไป จ้าวฮูหยิน มารดาของจ้าวคว่อรีบเข้า มาพบจ้าวอ๋อง บอกว่า “นิสัยของจ้าวคว่อไม่เหมือนจ้าวเซอ ผู้บิดาเลย จ้าวเซอ อ่อนน้อมถ่อมตนและมีใจใฝ่ศึกษา สิ่งของที่ท่านอ๋องปูนบาเหน็จให้ ก็เอาไป แจกจ่ายแก่ไพร่พลจนหมดสิน ช่วงเวลาทาราชการจะไม่สนใจเรื่องของ ครอบครัวตัวเองเลย แต่จ้าวคว่อเป็นแม่ทัพ กลับลาพองใจเย่อหยิ่ง เหยียด หยามผู้อื่น ใจมุ่งแต่จะแสวงหาผลประโยชน์” จ้าวฮูหยิน คัดค้านจ้าวอ๋องว่า อย่า ตังจ้าวคว่อเป็นแม่ทัพ แต่จ้าวอ๋องไม่เชื่อฟัง จ้าวฮูหยินจึงกล่าวว่า “ในเมื่อท่าน จะให้จ้าวคว่อเป็นแม่ทัพอย่างแน่นอนเช่นนี ก็ขอเพียงว่า ถ้าเขาทาหน้าที่ บกพร่อง โปรดอย่าได้ลงโทษพวกเราทังครอบครัว” จ้าวอ๋องก็ตกลง พ.ศ. 283 จ้าวคว่อไปรับตาแหน่งที่เมืองฉางผิง ทาการเปลี่ยนแปลง ระเบียบ โยกย้ายทหาร ฮึกเหิมออกทาศึก โดยไม่ประมาณกาลังของตนและศัตรู ฉินอ๋อง ดีใจยิ่งนัก ส่งขุนพล ไป๋ฉี่ มาเป็นแม่ทัพ ไป๋ฉี่แสร้งทาแพ้ถอยทัพ ล่อกอง กาลังสาคัญของฝ่ายจ้าวให้ตามไปถึงที่มั่นของทัพฉิน ซึ่งเข้มแข็งมั่นคง ยากที่จะตี หักเอาชนะได้ ไป๋ฉี่ ใช้ไพร่พลสองหมื่นห้าพันคนมาเป็นทัพซุ่มตีสกัดการล่าถอย ของทัพจ้าว แล้วใช้ทหารฝีมือดีห้าพันคนตีทะลวงแยกทัพจ้าวออกเป็นสองส่วน และตัดทางส่งเสบียงของทัพจ้าวหมดทุกทาง ฉินอ๋องเดินทางมายังเหอเน่ย ให้รางวัลราษฎร รับชายฉกรรจ์อายุ 15 ปีขึนไปเป็นทหาร ยกมาสมทบ ไป๋ฉี่ ที่ฉางผิง ทัพจ้าวถูกล้อมขาดเสบียงอาหารอยู่ 46 วัน ก็เกิดการจราจลฆ่าฟัน แย่งชิงอาหารกันเอง จ้าวคว่อจนตรอก จึงจาแบ่งทหารเป็น 4 กอง ตีฝ่าวงล้อม แต่ก็ไม่สาเร็จ ในที่สุดจ้าวคว่อถูกธนูข้าศึกตาย ทหารแคว้นจ้าว 400,000 คน ยอมสวามิภักดิ์ต่อทัพฉิน EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 777 ประจาเดือนธันวาคม 2557ประจาเดือนธันวาคม 2557ประจาเดือนธันวาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1 ประทีปนำทำง :ประทีปนำทำง :ประทีปนำทำง : ทำศึกบนแผ่นกระดำษกับปฏิรูปกำรศึกษำ โครงการจัดตังสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ เริ่มต้นดาเนินการใน ปี 2554 จากจุดเริ่มต้นที่ไม่มีอะไรเลย คือเริ่มจาก ศูนย์ ในปีนันก็เกิด วศร.1 (วิศวกรรมระบบขนส่ง ทางราง รุ่นที่ 1) เมื่อขึนปีที่สอง หนทางข้างหน้าก็ยังค่อนข้างมืดมน เกิดคาถามมากมายถึงอนาคตที่ ยังไม่มีคาตอบ ขึนปีใหม่ 2555 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงส่ง ส.ค.ส. ถึงประชาชน คาอวยพร หรืออาจจะกล่าวว่าเป็นคติสอนใจก็คือ “ถึงจะมองไม่เห็นฝั่ง เราก็ต้องพยายามว่ายอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร โภคะทั้งหลายมิได้ สาเร็จด้วยเพียงคิดเท่านั้น” ส.ค.ส. นี แปะอยู่ข้างฝาหน้าโต๊ะทางาน เป็นประทีปนาทางมาจนบัดนี ปี 2557 กาลังจะ ผ่านพ้นไปและเข้าสู่ปีใหม่ พ.ศ. 2558 ถึงแม้ยังมองไม่เห็นฝั่ง แต่เชื่อว่าเราแข็งแกร่งขึน บทบรรณำธิกำร :บทบรรณำธิกำร :บทบรรณำธิกำร :
  • 2. บทนา รถไฟมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมการขนส่งที่สะดวก อย่างไร ก็ตามการดาเนินงานรถไฟค่อนข้างแตกต่างกันระหว่างประเทศญี่ปุ่นและ ประเทศในยุโรป ประเทศญี่ปุ่นรถไฟมีความชัดเจนในการแยกความ รับผิดชอบ ในการบูรณาการร่วมดาเนินงานระหว่างบริษัทรถไฟ ซึ่งต่างจาก หลักการดาเนินงานของรถไฟในยุโรป ซึ่งใช้โครงสร้างแยกส่วนบริหารงาน รับผิดชอบ โดยมีภาครัฐเป็นผู้ลงทุนในสาธารณูปโภคโครงสร้างพืนฐานทาง รถไฟ บทความนีแสดงให้เห็นถึงลักษณะการให้บริการที่แตกต่างของรถไฟ ในประเทศญี่ปุ่นและประเทศในยุโรป ปกิณกะระบบรำง :ปกิณกะระบบรำง :ปกิณกะระบบรำง : การให้บริการรถไฟร่วม การให้บริการรถไฟร่วมมีประโยชน์คือผู้โดยสารไม่ต้องเปลี่ยน ขบวนรถ ซึ่งสร้างความสะดวกสบายและลดเวลาการเดินทางลง รวมทังลด ความแออัดของผู้โดยสารและขบวนรถไฟในสถานี และเป็นการลดมูลค่าการ ลงทุนในส่วนของโครงสร้างพืนฐาน โดยผลลัพธ์สุดท้ายทาให้มีการเพิ่ม จานวนเส้นทางการให้บริการรถไฟร่วม โดยเฉพาะในพืนที่เขตเมืองของ ประเทศญี่ปุ่นจะเห็นลักษณะของผู้ประกอบการเดินรถร่วมหลายราย การให้บริการรถไฟในญี่ปุ่น บนพืนฐานของเมืองที่มีความหนาแน่นของผู้โดยสารจานวนมาก รถไฟในญี่ปุ่นจะ เป็นเจ้าของของโครงสร้างพืนฐานรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายในการให้บริการและการบารุงรักษา รวมทังระบบ อาณัติสัญญาณและการควบคุมรถไฟ โดยปราศจากเงินสนับสนุนจากรัฐบาล โดยมีจุดเด่น คือ การให้ผู้ประกอบการเดินรถร่วมกันของผู้ประกอบการข้ามเขตพืนที่ กำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของกำรให้บริกำรระหว่ำงรถไฟญี่ปุ่ นและรถไฟยุโรป ญี่ปุ่ นเน้นดูแลพื้นที่ ยุโรปเน้นดูแลขบวนรถ จากวารสาร IRTR: Japan Railway & Transport Review ฉบับที่ 63 March 2014 ผู้แต่ง Dr.Fumio Kurosaki เรียบเรียง คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล 20 ธ.ค. 57 การประชุมเครือข่ายวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง ประจาเดือน ธันวาคม ครังที่ 12/2557 โดยจะมีการหารือกันถึงเรื่อง การจัดงานปีใหม่ ของเครือข่าย วศร. ในวันเสาร์ที่ 24 มกราคม 2558 ขอเรียนเชิญ วศร.ทุกรุ่นเข้าร่วมประชุม เพื่อหารือ ณ ห้อง 103 อาคาร สวทช. โยธี ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency ปฏิทินรำง :ปฏิทินรำง :ปฏิทินรำง : 18-19 ธ.ค. 57 ขอเชิญเข้าร่วมฟังเวทีเสวนาทางวิชาการนานาชาติด้าน ระบบขนส่งทางราง “1st International Symposium on Railway System(ISRS)” โดยความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ Waseda University ที่ ตึก 4 ชัน 2 ผู้ที่สนใจสามารถลงทะเบียน "ฟรี" ได้ที่ http:// www.ee.eng.chula.ac.th/site/ 30 มี.ค. - 1 เม.ย. 58 งาน AsiaPacificRail 2015: The leading event for Asia Pacific’s Rail Industry จัดขึนที่ Hong Kong Convention & Exhibition Centre, Hong Kong พบกับ บูธ แสดงนิทรรศการกว่า 70 บูธ ผู้บรรยายกว่า 100 คน และผู้เชี่ยวชาญ ด้านระบบรางที่มาร่วมงานกว่า 1,000 คน ลงทะเบียนและดู รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.terrapinn.com/aprail2015pre 8-9 ม.ค. 58 กิจกรรมค่ายสานสัมพันธ์นักศึกษาระบบรางรุ่นที่ 2 แนะ เส้นทางสู่การพัฒนา และพบผู้ประกอบการ ภายใต้ “โครงการส่งเสริม การศึกษาและวิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง (สวทช.- มหิดล)” รูปที่ 1 แสดงการให้บริการในประเทศญี่ปุ่นโดยรถไฟทางด้านซ้ายจะวิ่งอยู่ในทางของ ผู้ประกอบการเดินรถ A ซึ่งจะใช้การบริหารจัดการของบริษัท A และเมื่อได้ผ่านจุดข้ามเขต แดน (Border Station) จะดาเนินการเปลี่ยนพนักงานขับรถไฟที่สถานีเชื่อมต่อ เป็น พนักงานขับรถไฟของผู้ประกอบการเดินรถ B ซึ่งจะใช้การบริหารจัดการของบริษัท B การ ให้บริการในลักษณะนีจะมีลักษณะเด่นในเรื่องของพืนที่ การแบ่งค่าใช้จ่ายสาหรับการเดินรถ และมีความปลอดภัย เพราะผู้ขับชานาญเส้นทาง ไป๋ฉี่ ริบอาวุธยุทโธปกรณ์ของทหารจ้าว แล้วสั่งให้จับทหารฝังดินทั้งเป็น จนหมดสิ้น “ศึกฉางผิง” กินเวลาเนิ่นนานและก่อความพินาศย่อยยับยิ่งกว่าศึกครังใด ในยุคจั้นกว๋อ แคว้นจ้าวบอบชามาก ส่อเค้าว่าจะสินชาติ จากนันแคว้นนีก็ค่อยๆ ทรุด โทรมลง จนกระทัง พ.ศ. 321 ก็ถูกแคว้นฉินพิชิตได้อย่างเด็ดขาด เห็นปฏิรูปและยกเครื่องการศึกษาไทยกันมาหลายรอบ ก็พอเห็นเค้า ลาง เพียงแต่สมัยนีเปลี่ยนจากทาศึกบนแผ่นกระดาษมาเป็นนักรบ พาวเวอร์ พ้อยท์ ถือโน๊ตบุ๊ค! อ้างอิง: หนังสือแลหลังแดนมังกร เล่ม 2 Page | 2 กองบรรณำธิกำร
  • 3. การประชุมวิชาการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 9 20-21 พ.ย. 57 การประชุม วิชาการขนส่งแห่งชาติ ครังที่ 9 ภายใต้หัวข้อ “การพัฒนา การ ขนส่งเพื่อขับเคลื่อนประเทศ ไทย” ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ ปีนีมีผลงานด้านการ ขนส่งระบบราง นาเสนอด้วย 8 เรื่อง จากนักศึกษาในสังกัดของ เครือข่าย โครงการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) โดยโครงการจัดตัง สถาบันฯ ได้ร่วมไปจัดบูธด้วย กิจกรรมโครงกำรและกิจกรรมโครงกำรและกิจกรรมโครงกำรและ การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางของประเทศไทย” 24 - 25 พ.ย. 57 สำนักปลัดกระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (สป.วท.) ร่วมกับสถำบันวิจัยวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยโครงการ จัดตังสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมวิชาการเรื่อง “แนวทางการพัฒนา อุตสาหกรรมระบบรางของประเทศไทย” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว บางกอก ฟอร์จูน กรุงเทพฯ การจัดสัมมนาครังนีได้รับเกียรติจาก ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ เจ้าหน้าที่ชันผู้ใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้แก่ H.E. NING Fukui เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจาประเทศไทย WANG Jun Vice President จาก China South Railway Corporation (CSR) มาเข้าร่วมงาน โดยได้ผู้เชี่ยวชาญจาก CSR มหาวิทยาลัย Beijing Jiaotong สาธารณรัฐประชาชนจีน ผู้เข้าร่วมโครงการ Talented Young Scientist Program ผู้แทน วว. และ ผู้แทน สวทช. ที่เข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตรรถไฟความเร็วสูง เป็นวิทยากรบรรยายถ่ายทอดองค์ความรู้ระบบขนส่งทางราง ให้แก่ ผู้เข้าร่วมงานทังจากภาครัฐ เอกชน สถานศึกษา บุคคลทั่วไป รวมกว่า 200 คน Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency ปกิณกะระบบรำง : (ต่อ)ปกิณกะระบบรำง : (ต่อ)ปกิณกะระบบรำง : (ต่อ) เปิดที่ทาการเพื่อเตรียมการจัดตั้งศูนย์วิจัยร่วมรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน 24 พ.ย. 57 พิธีเปิดป้าย "ที่ทาการเพื่อเตรียมการจัดตังศูนย์วิจัยร่วม รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (Preparation Office for Thai-China Joint Research Center on High-speed Railway)" ณ อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ ซึ่งหลังจากนีฝ่ายจีนจะจัดส่ง เจ้าหน้าที่มาประจา ตามที่รัฐบาลของราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐ ประชาชนจีนได้ลงนามความตกลงเพื่อร่วมมือในการพัฒนาระบบขนส่ง ทางราง ได้แก่ความตกลงเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 56 ซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของไทยและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน จะดาเนินโครงการความร่วมมือ ๔ ด้าน ซึ่งรวมถึงโครงการจัดตัง “ศูนย์วิจัยร่วมรถไฟความเร็วสูงไทย- จีน” (Thailand-China Joint Research Center on High-Speed Railway) รูปที่ 2 แสดงการให้บริการในประเทศในยุโรป ซึ่งโดยทั่วไปภาครัฐเป็นเจ้าของโครงการสร้างพืนฐานและ ผู้ประกอบการเดินรถเสียค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานเพื่อให้บริการรถไฟ รูปการเดินรถไฟร่วมนีปรากฎในการ ให้บริการขนส่งสินค้าในยุโรป และบางส่วนสาหรับการบริการขนส่งผู้โดยสารระหว่างเมือง เพื่อเป็นการสร้าง การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ อย่างไรก็ตามรูปแบบนียังประสบปัญหาการประสานงานระหว่างหน่วยงาน ผู้ดูแลบารุงรักษาโครงสร้างพืนฐานและการดาเนินงานเพราะมีการแยกความรับผิดชอบ สาหรับการให้บริการ เดินรถไฟแต่ละเรื่องแยกออกเป็นประเด็นย่อยๆ ภายในพืนที่การเดินรถเดียวกัน ซึ่งเป็นลักษณะที่แตกต่างจาก การให้บริการรถไฟของญี่ปุ่นอย่างชัดเจน การให้บริการรถไฟในยุโรป การดาเนินงานรถไฟยุโรปมีลักษณะที่ โดดเด่นแตกต่างจากประเทศญี่ปุ่น กล่าวคือใช้การ ส่งเสริมให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการเดิน รถเพื่อให้บริการผู้โดยสาร โดยใช้โครงสร้างแยก ส่วน ทังนีมีสาเหตุมาจาก มีความต้องการของ ปริมาณผู้โดยสารไม่เพียงพอต่อความต้องการของ เงินลงทุน ดังนันเพื่อให้ผู้ประกอบการเดินรถ สามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนจึงต้องได้รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ Page | 3
  • 4. คุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ช.ทวี ดอลลา เชียน จากัด และ วศร.รุ่นที่ 1 หนึ่งใน นักธุรกิจที่ประกอบการในจังหวัด ขอนแก่น เป็นผู้ร่วมบรรยาย เรื่อง การ จัดตังกองทุนรวมโครงสร้างพืนฐาน เพื่อ ระดมทุนมาก่อสร้างระบบขนส่งมวลชน ขนาดใหญ่ในจังหวัดขอนแก่น ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th website www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech นิทรรศการเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบราง SmartRail Asia 2014 26-28 พ.ย. 57 SmartRail Asia 2014 ณ ศูนย์นิทรรศการและประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ในงานมีการจัดแสดง นิทรรศการ ของ การรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่ง ประเทศไทย รวมทังเทคโนโลยีหัวรถจักร ระบบราง และระบบควบคุมรถไฟฟ้า จากบริษัทนานาชาติที่มีความเชี่ยวชาญ ด้านรถไฟ ผลงานประตูกันชานชาลาบน สถานีรถไฟฟ้าจาก KURAIL รวมถึง ผลงานระบบรถไฟฟ้าจาลอง เพิ่มความ ปลอดภัยการเดินรถในอนาคต จาก นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง (สจล.) โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการคือ ดร.วันวิสา ชัชวงษ์ อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมสารสนเทศ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สจล. และ วศร.รุ่นที่ 4 รศ.ดร.กัณวีร์ กนิษฐ์พงศ์ วศร.1 ขณะนีเป็นอาจารย์หัวหน้า ภาควิชาวิศวกรรมขนส่ง อยู่ที่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย หรือ AIT และเป็นสมาชิกสมาคม Thai Road ซึ่งมีหน้าที่ในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางถนน และ เคยได้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่น ที่ 1 อาจารย์เล่าให้ฟังว่า “ก่อนหน้านีไม่เคยรู้เรื่องอะไร เกี่ยวกับระบบรางเลย พอมาเรียนจึงได้รู้ว่าเกี่ยวกับระบบราง นันมีการดาเนินการในเรื่องใดบ้าง จะมีการพัฒนาในด้านไหน ทางด้านเทคนิคอาจติดไปไม่ได้มาก แต่ที่ได้คือการพัฒนา ตนเอง ได้ประสบการณ์การดูงานจากทังในและต่างประเทศ และได้รู้ว่ามีกลุ่มบุคคลที่พยายามผลักดันในเรื่องระบบรางนี อยู่ แต่จบไปจะทาในด้านถนนซะเสียส่วนใหญ่ ก็จะมีเกี่ยวข้อง กับระบบรางก็ตรงที่มีอุบัติเหตุทางรถไฟเกิดขึน จากการที่ได้ ศึกษาเรื่องเครื่องกันทางรถไฟ ว่ามีกี่รูปแบบแต่ละแบบเป็น อย่างไร เวลาเกิดเหตุจะมีหลายคนชอบตังคาถามในเรื่องนี และยังได้รู้จักผู้คนในแวดวงนีมากมาย รวมทังอาจารย์หลายๆ ท่านด้วย” กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th กิจกรรมโครงกำรและเครือข่ำย :กิจกรรมโครงกำรและเครือข่ำย :กิจกรรมโครงกำรและเครือข่ำย : อาจารย์มีแผนที่จะทาอะไรเกี่ยวกับระบบ รางในอนาคตหรือไม่ครับ “ขณะนีทาง AIT มีความสนใจ ที่จะเปิดโปรแกรมปริญญาโทด้านระบบราง ซึ่ง AIT มี Position ที่เป็นศูนย์กลางของอาเซียน และซึ่งประเทศ รอบข้างให้ความสนใจ แต่ไม่ค่อยมีการสอนในโปรแกรม ทางด้านนี ตอนนีสิ่งที่ทาง AIT ยังขาดคือบุคลากร ทาง เราเองต้องการพันธมิตรในการร่วมมือกัน และเมื่อไม่นาน มานี ได้มี วศร. มาทาบทามเรื่องจุดตัดรถไฟอยู่ เหมือนกัน” อาจารย์ยังบอกต่อว่า “สิ่งที่คาดหวังในการ เปิดโปรแกรมทางด้านนีคือ หวังให้มีการพัฒนาบุคลากร ทางด้านระบบรางให้มากขึน ไม่เพียงแต่ในประเทศเราแต่ หมายถึงทังในอาเซียน จากที่ทราบมา ประเทศรอบข้างก็ มีความสนใจที่จะส่งบุคลากรมาศึกษาด้านนี” สุดท้ายนี้อาจารย์อยากจะฝากถึง วศร. รุ่น ต่อๆไปว่าอย่างไรครับ “อยากจะบอกว่า พยายามเก็บ เกี่ยวความรู้ประสบการณ์ให้คุ้มค่ากับการที่ได้รับคัดเลือก เข้ามาเป็นผู้เข้าอบรม วศร. นะคะ” Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency การเสวนาระบบรางในงานวิศวกรรม’57 29 พ.ย.57 09.00-16.50 น. ห้อง MR 211-212 ณ ศูนย์ นิทรรศการและประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ มีการเสวนา เรื่อง ระบบรางทางออกเพื่ออนาคตการขนส่งประเทศ ไทย “ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนทางออกของการ พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน” โดย ผู้แทนจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ผู้แทนจากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของงาน วิศวกรรม’57 และในงานนิทรรศการ ทางสมาคมวิชาการและเทคนิคไทย-ฝรั่งเศส (TFTA) ได้ร่วม จัดบูธแสดงผลงานความร่วมมือกับ ETR (VINCI Group) หนึ่งในผู้นาด้านอุตสาหกรรมระบบ รางของโลก ด้วย Page | 4 สังคมระบบรำง :สังคมระบบรำง :สังคมระบบรำง : ในงานเสวนา นายนคร จันทศร ยังได้พบปะพูดคุยกับ นาย อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ในการพบกันที่งานวิศวกรรม’57 โดยได้มอบชุด หนังสือของโครงการจัดตังสถาบันฯ เป็นที่ระลึกด้วย สัมภำษณ์บุคคลระบบรำง :สัมภำษณ์บุคคลระบบรำง :สัมภำษณ์บุคคลระบบรำง :