Anzeige

คุณลักษณะของครูที่ดี

4. Sep 2011
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Anzeige
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
Nächste SlideShare
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
Wird geladen in ... 3
1 von 48
Anzeige

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(20)

Similar a คุณลักษณะของครูที่ดี(20)

Anzeige

Más de niralai(20)

Último(20)

Anzeige

คุณลักษณะของครูที่ดี

  1. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑ คุณลักษณะของครูท่ีดี การศึกษาคุณลักษณะของครูทดกเ็ พือให้ทราบว่าครูท่สงคมส่วนใหญ่ปราถนานัน จะต้องได้ มี ่ี ี ่ ี ั ้ คุณลักษณะอย่างไร เมือนักศึกษาทราบแล้วจะได้ใช้เป็ นแนวทางศึกษาและปฏิบตตนเอง ให้เป็ นครูท่ี ่ ัิ สังคมปรารถนาต่อไป เพือให้นกศึกษาครูเกิดแนวความคิดอย่างกว้างขวาง ในหน่วยนี้ จึงขออัญเชิญ ่ ั พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวฯและพระราโชวาทของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ ั สยามมกุฏราชกุมารที่ได้ตรัสถึงลักษณะของครูดรวมทังได้นาลักษณะของครูดตามคาสอนใน ี ้ ี พระพุทธศาสนา ลักษณะครูดตามลักษณะของบุคคลต่าง และจากผลการวิจยทังภายในประเทศและ ี ั ้ นอกประเทศมาให้นกศึกษาไดศึกษา เพือเป็ นแนวทางในการประพฤติปฏิบตให้เกิดความเจริญงอกงาม ั ่ ัิ แก่ตนเองและสังคมเมือมีโอกาสออกไปประกอบอาชีพครูในอนาคต ลักษณะของครูดตามพระราชดารัสและพระราโชวาท เหนือสิงอื่นใด พระราชดารัสของ ี ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวภูมพลอดุลยเดช ซึงประทานแก่ครูอาวุโสประจาปี ๒๕๒๒ เมือวันอังคาร ั ิ ่ ที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ มีข ้อความทีเ่ กี่ยวข้องกับลักษณะของครูดตอนหนึ่งว่า ี “..ครูท่แท้น้ันต้องเป็ นผูกระทาแต่ความดี คือ ี ้ ต้องขยันและอุตสาหะพากเพียร ต้องเอื้อเฟื้ อเผือแผ่และเสียสละ ่ ต้องหนักแน่นอดกลันและอดทน ้ ต้องรักษาวินยสารวมระวังความประพฤติของตนให้อยู่ใน ั ระเบียบแบบแผนอันดีงาม ต้องปลีกตัวปลีกใจจากความสะดวกสบายและความสนุกรื่น เริงไม่สมแก่เกียรติภูมของตน ิ ต้องตังใจให้มนคงและแน่วแน่ ้ ั่ ต้องซือสัตย์รกษาความจริงใจ ่ ั ต้องเมตตาหวังดี ต้องวางใจเป็ นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ ต้องอบรมจากปัญญาให้เพิมพูนสมบูรณ์ข้น ทังใน ่ ึ ้ ด้านวิทยาการและความฉลาดรอบรูใ้ นเหตุและผล…” นอกจากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวฯ ดังได้อญเชิญมากล่าวไว้ข ้างต้นแล้ว ั ั สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้พระราชทานพระราโชวาทแก่บณฑิตใหม่ในพิธี ั พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผูสาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยครู ณ อาคารใหม่สวนอัมพร เมือวันจันทร์ ้ ที่ ๔ อังคารที่ ๕ พุธที๖ พฤหัสบดีท่ี ๗ และจันทร์ท่๑๑ มิถนายน พ.ศ.๒๕๒๗ ดังข ้อความว่า ่ ี ุ “..คุณสมบัตท่สาคัญสาหรับครู ผูปรารถนาจะทางานให้ได้ดี มีความก้าวหน้า มีเกียรติช่อเสียง ิี ้ ื และมีฐานะตาแหน่งอันมันคงถาวร ่
  2. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๒ คุณสมบัตประการแรก คือความสามารถในการแสดงความรูความคิดเห็นของตนให้ผูอ่นได้ ิ ้ ้ื ทราบอย่างแจ่มแจ้ง ด้วยความฉลาด ความสามารถเช่นนี้จะเกิดมีข้นมาได้ตองอาศัยการฝึ กฝน เริ่มต้น ึ ้ ด้วยการฝึ กคิดให้เป็ นระเบียบและเป็ นขันตอน เมือพิจารณาเรื่องใด ก็พยายามจับประเด็นเรื่องนันให้ ้ ้ ถูกต้อง พยายามหาเหตุผลข้อนันมาเกี่ยวโยงถึงกันให้ได้แน่ชดและครบถ้วน ประการสาคัญทีสุด เมือ ้ ั ่ จะแสดงความคิดเห็น จะต้องรูจกถ้อยคาทีจะสือความหมายได้โดยถูกต้อง และรวบรัดชัดเจนตาม ้ั ่ ่ เป้ าหมาย การฝึ กดังกล่าวนี้จาเป็ นต้องปฏิบตอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอจนติดเป็ นนิสย จึงจะช่วยให้สาเร็จ ัิ ั ผลในการทาความเข้าใจกับผูอ่นเพือประโยชน์ต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ้ื ่ คุณสมบัตข ้อทีสอง คือความมีมนุษยสัมพันธ์ท่ดี คุณสมบัตข ้อนี้ หมายถึงการทาตัวดี ไว้ ิ ่ ี ิ วางกิริยาท่าทางทีดได้อย่างเหมาะสม ถูกกาลเทศะ มีความสุภาพอ่อนโยนและจริงใจ สามารถเข้ากับทุก ่ี เพศทุกวัยได้อย่างแนบเนียน คุณสมบัตเิ ช่นนี้จะเกิดขึ้นได้ดวยการอบรมอย่างจริงใจ ทังทางกายและ ้ ้ วาจา ประการสาคัญคือ ต้องหัดทาใจให้กว้าง เป็ นกลางและเทียงตรงประกอบด้วยความซือสัตย์ ความ ่ ่ ไม่เพ่งโทษ ไม่หมินประมาทผูอ่น อ่อนน้อมต่อวุฒบคคล สุภาพเป็ นมิตรต่อบุคคลเสมอกัน และเมตตา ่ ้ื ิุ เอ็นดูต่อผูนอย ไม่สร้างปมด้อยให้แก่ตนเอง รักษากายวาจาให้สงบหนักแน่น ไม่ลต่อโทษคติ ไม่เห็น ้้ ุ ความสาคัญของตนเองยิงกว่าคนอื่น สรุปแล้วก็นบว่า เป็ นการฝึ กฝนทีลาบากอยู่ไม่นอย แต่ทว่า ถ้าแต่ ่ ั ่ ้ ละบุคคลพยายามฝึ กฝนยายามทาให้เกิดขึ้นได้แล้วจะอานวยประโยชน์ให้อย่างคาดไม่ถง เพราะจะทา ึ ให้ได้รบความนิยมเชื่อถือไว้วางใจ แลได้รบความร่วมมือสนับสนุนจากทุกฝ่ ายอย่างดีโดยพร้อมพรัก ั ั ทังในหน้าที่การงานและกิจส่วนตัวทุกๆอย่าง ้ คุณสมบัตข ้อทีสาม คือ ความมีค่านิยมสูง ความมีค่านิยมสูงได้แก่ความเฉลียวฉลาด ิ ่ สามารถเลือกสรรสิงทีดงาม ทีเ่ ป็ นประโยชน์มาเป็ นทีนิยม ยึดเหนี่ยว และเป็ นแบบอย่างในการ ่ ่ี ประพฤติตน คุณสมบัตขอนี้จาเป็ นต้องฝึ กฝนขึ้นให้พร้อมข้อหนึ่ง เพราะนอกจากเป็ นเครื่องป้ องกัน ิ ้ ไม่ให้ตกไปสู่ทางทีเ่ สือมเสียทังปวงแล้วยังสามารถประคับประคองและส่งเสริมให้บคคลเจริญรุ่งเรืองอยู่ ่ ้ ุ ในความดีได้อย่างมันคงด้วย ่ คุณสมบัตข ้อทีส่ี คือความมีวจารณญาณ ความมีวจารณญาณนี้หมายถึง ความมีวจารณญาณ ิ ่ ิ ิ ิ อันถ่องแท้แน่ชดในสรรพกิจการงาน และในการกระทาคาพูดทุกอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนทีเ่ ป็ น ั ของตน คุณสมบัตข ้อนี้จะเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กบการฝึ กฝนอบรมทางความคิดจิตใจเป็ น ิ ั สาคัญ คือแต่ละคนจะต้องพยายามควบคุมใจให้เป็ นปรกติและหนักแน่นอยู่เสมอ ไม่หวันไหว ไม่สะดุง้ สะเทือนเพราะอารมณ์ทชอบทีชงและที่ชงและอคติต่างๆจนเกินเหตุจะทา จะพูด ตะคิดสิงใด ก็มง ่ี ่ ั ั ่ ุ่ หมายแต่ในสาระอันเป็ นจุดประสงค์และประโยชน์อนมุ่งหมายของสิงนันเป็ นสาคัญ ไม่ฟงซ่านไม่สบสน ั ่ ้ ุ้ ั
  3. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๓ ไปถึงสิงอื่นๆทีไม่ใช่สาระด้วย ่ ่ เมือสามารถฝึ กใจให้เข้าระเบียบมันคงได้ดงนันแล้วควรคิดอ่านอัน ่ ่ ั ้ กระจ่างแจ่มใส หรือวิจารณญาณก็จะเกิดขึ้น ช่วยให้สามารถพิจารณาวินิจฉัยเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ ได้โดยถูกต้องเทียงตรงไม่วาจะทา จะพูด จะคิดสิงใด เรื่องใด ก็จะสาเร็จผลสมบูรณ์ตามความ ่ ่ ่ ประสงค์ ช่วยให้ประสบความสาเร็จในชีวตได้เป็ นแน่นอน ิ สิงสาคัญทีครูควรมีอกอย่างหนึ่งคือ วินย หรือระเบียบบังคับ เป็ นของสาคัญสาหนรับทุกคน ่ ่ ี ั โดยเฉพาะผูทอยู่ในฐานะหน้าทีทจะต้องปกครองบังคับบัญชาคนอื่นไปและจะต้องปกครองบังคับบัญชา ้ ่ี ่ี คนอื่นๆและจะต้องทาตัวเป็ นแบบฉบับทีดแก่ผูอยู่ในปกครอง..วินยคือระเบียบปฏิบตทดทจะนาบุคคล ่ี ้ ั ั ิ ่ี ี ่ี ให้กา้ วหน้าไปถึงความดีความงามความเจริญ ดังนัน เราจะต้องถือวินยเพือเสริมสร้างคุณภาพในตัวเรา ้ ั ่ เองให้บริบูรณ์ข้น และเสริมสร้างความพร้อมเพรียงสมัครสมาน ความเป็ นปึ กแผ่นมันคง และความ ึ ่ เจริญก้าวหน้าของหมูคณะของเราให้บริบูรณ์ข้นเช่นกัน ข้อสาคัญอีกอย่างหนึ่ง เราจะต้องระวังตังใจมิ ่ ึ ้ ให้ถอวินยอย่างผิดๆเช่ถอไว้เพือเป็ นเครื่องหลอกตัวเอง ว่าตัวเองเป็ นผูเ้ ลอเลิศ แล้วคอยเพ่งโทษผูอ่น ื ั ื ่ ้ื เบียดเบียนข่มเหงผูอ่น โดยใช้ระเบียบข้อบังคับเป็ นเครื่องมือ เพราะการถือวินย ไม่ได้ทาให้เกิด ้ื ั ประโยชน์อนใดเลย มีแต่จะทาให้เกิดความเกลียดชังและแตกแยก… ั ตามพระบรมราโชวาทข้างต้น สรุปได้ว่าครูท่ีดีจะต้องมีคณสมบัตท่สาคัญคือ ุ ิี - ความสามารถในการแสดงความรูความคิด ของตนได้อย่างรวบรัดชัดเจนและถูกต้อง ้ - ความมีมนุษยสัมพันธ์กบทุกเพศ ทุกวัย ทุกชันภูมิ ั ้ - ความมีค่านิยมสูง มีความฉลาดในการเลือกสรรสิงทีดมประโยชน์มายึดถือปฏิบติ ่ ่ี ี ั - ความมีวจารณญาณ มีจิตใจหนักแน่นมันคง ิ ่ - มีระเบียบ ไม่ถอวินยอย่างผิดๆหรือใช้วนยเพือเบียดเบียนผูอ่น ื ั ิั ่ ้ื ลักษณะของครูดีตามคาสอนในพระพุทธศาสนา หลักคาสอนในพระพุทธศาสนาทุกหมวดหมู่ หากครูอาจารย์นามายึดถือปฏิบตอย่างจริงจัง ัิ ย่อมนาไปสู่ความเป็ นครูอาจารย์ทดได้ทงนัน แต่วาหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนามีมากเผลือเกิน ่ี ี ั้ ้ ่ ยากทีครูอาจารย์จะจดจาทาความเข้าใจได้ทงหมด ดังนัน ในทีน้ ีจะนาเพียงหลักธรรมทีเ่ กี่ยวกับครู ่ ั้ ้ หลักธรรมนี้มอยู่ ๗ ประการ พระราชวรมุนี(ประยุทธ์ ปยุตโต) ได้กล่าวไว้ในหนังสือพจนานุกรมพุทธ ี ฺ ศาสตร์ แบบประมวลธรรมว่า กัลยาณมิตตธรรม ๗ ประการ เป็ นองค์คุณของกัลยาณมิตรหรือมิตรแท้
  4. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๔ คือท่านทีคบหาแล้วจะเป็ นเหตุให้เกิดความเจริญและความดีงาม ในทีน้ ีมงุ้ เอามิตรประเภทพีเ่ ลี้ยงเป็ น ่ ่ สาคัญ ๑.ปิ โย - น่ารัก ในฐานะที่เป็ นทีสบายใจและสนิทสนม ชวนให้เข้าไปปรึกษาไต่ถาม ่ ๒.ครุ - น่าเคารพ ในฐานะประพฤติสมควรแก่ฐานะ ให้เกิดความรูสกอบอุ่นใจเป็ นทีพงได้แล ้ึ ่ ่ึ ปลอดภัย ๓.ภาวนีโย - น่าเจริญใจหรือน่ายกย่อง ในฐานะทรงคุณ คือความรูและภูมปญญาแท้จริงทัง ้ ิ ั ้ เป็ นผูฝึกอบรมและปรับปรุงอยู่เสมอ ควรเอาอย่าง ทาให้ระลึกและเอ่ยอ้างด้วยความวาบซึ้งใจ ้ ๔.วัตตา - รูจกพูดให้ได้ผล รูจกชี้แจ้งให้เข้าใจ รูวาเมือไรควรพูดอะไร อย่างไร คอยให้ ้ั ้ั ้่ คาแนะนาว่ากล่าวตักเตือนเป็ นทีปรึกษาทีดี ่ ่ ๕.วจนักขโม - อดทนต่อถ้อยคา คือพร้อมทีจะรับฟังคาปรึกษาซักถามคาเสนอแนะ ่ วิพากษ์วจารณ์ อดทนฟังได้ไม่เบือ ไม่ฉุนเฉียว ิ ่ ๖.คัมภีรญจะกถัง กัตตา – แถลงเรื่องได้ลา้ ลึก สามารถอธิบายเรื่องยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจ ั และให้เรียนรูเ้ รื่องราวทีลกซึ้งยิงขึ้นไป ่ึ ่ ๗.โน จัฏฐาเน นิโยชเย – ไม่ซกนาในเรื่องทีเหลวไหล หรือชักจูงไปในทางทีเ่ สื่อม(พระราชวร ั มุนี. ๒๕๒๘.๒๓๘) เพือให้นกศึกษาและครูอาจารย์มความเข้าใจในหลักธรรมดังกล่าวลึกซึ้งยิงขึ้นไป ดังนันจึงขอนา ่ ั ี ่ ้ คาอธิบายของ พระราชนันทมุนี (ปัญญานันทภิกขุ) มากล่าวเพิมเติมดังต่อไปนี้ ่ ๑.ปิ ยะหรือปิ โย คือการทาตนให้เป็ นทีน่ารักของศิษย์ การทีจะทาตนให้เป็ นทีรกจะต้อง ่ ่ ่ั  มีเมตตา รักเด็กมากว่ารักตัว  มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส  มีความสนิทสนมกับศิษย์  พูดจาอ่อนหวานสมานใจ  เอาใจอบรมสัง่ สอนให้ศิษย์เกิดความเรียนรู ้  เป็ นเพือนเด็กในสนามกีฬา เป็ นครูในห้องเรียน ่  เป็ นเพือนร่วมทุกข์เมือเด็กเป็ นทุกข์ คอยปลอบโยนให้กาลังใจ ่
  5. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๕ ๒.ครุ(ครุโภ) คือ การเป็ นคนหนักแน่น เป็ นครูจริงๆทาตนเป็ นแบบอย่างแก่เด็ก ในทาง สร้างสรรค์จริงๆมีใจสงบ มีเหตุมผล มีใจร้อน ไม่เป็ นคนเจ้าอารมณ์ เป็ นคนหนักแน่น ประดุจหิน ไม่ ี เบาเหมือนนุ่นเป็ นคนเสมอต้นเสมอปลายเสมอ ๓.ภาวนีโย คือ เป็ นผูอบรมตนให้เจริญ สนใจในการศึกษาหาความรูเ้ พิมเติม เป็ นคนสายตา ้ ่ ยาวก้าวไกลเปิ ดใจรับความรูความเข้าใจอยู่เสมอ ไม่หล้าหลังใคร เป็ นครูเวลาสอน เป็ นนักเรียนเมือ ้ เวลาว่าง เป็ นนักสากลนิยมถือศาสนาเป็ นหลักใจ อย่าเป็ นคนมีความเห็นผิด เชื่อกฏแห่งกรรมว่าทาดีได้ ดีทาชัวได้ชว มีการควบคุมกายวาจาด้วยศีล ควบคุมจิตด้วยสมาธิ ควบคุมความเห็นด้วยปัญญา จึงจะ ่ ั่ เอาตัวรอดปลอดภัย ๔.วัตตา คือ เป็ นคนเคารพระเบียบแบบแผน เป็ นคนมีระเบียบในการแต่งกายมีระเบียบตังแต่ ้ ศรีษะจนถึงเท้า ผมต้องแต่งให้เรียบร้อย…ให้เด็กเห็นว่าครูเป็ นผูมระเบียบแบบแผนช่วยกันทาโรงเรียน ้ี ให้สะอาด ๕.วจนักขโม คือ เป็ นผูมความอดทนต่อสิงทีมากระทบ ปกติเด็กย่อมมีความซุกซนตาม ้ี ่ ่ ธรรมชาติน่าราคาญครูจกราคาญไม่ได้ เบือไม่ได้ ชอบใจไม่ชอบใจก็ตองทาทังนัน จึงต้องทนเป็ นพิเศษ ั ่ ้ ้ ้ ๖.คัมภีรญจะกถัง กัตตา คือ เป็ นผูเ้ ข้าใจหลักการสอนว่าวิชาอะไรควรสอนอย่างไรเด็กจึงจะ ั เข้าใจ ของยากต้องทาให้งาย ของลึกต้องทาให้ต่น ของทีมองไม่เห็นต้องทาให้มองเห็น สอนแต่สงทีรู ้ ่ ื ่ ่ิ ่ แล้วไปหาสิงที่ยงไม่รู ้ ง่ายไปหายาก ตา่ ไปหาสูง เป็ นต้น ่ ั ๗.โน จัฏฐาเน นิโยชเย คือ การไม่ชกศิษย์ไปในทางทีตา่ ทราม สิงใดเป็ นความเสือมโทรมทาง ั ่ ่ ่ ใจ ไม่ควรชักนาไปในทางนันครูไม่ควรประพฤติสงตา่ ทรามให้เด็กเห็น ครูควรหลีกเลียงอบายมุขทัง ้ ่ิ ่ ้ ปวง (พระราชนันทมุนี (ปัญญานันทภิกขุ) ๒๔๒๕.๓-๔) จากหลักคาสอนทีนามากล่าวนี้ หากพิจารณาให้ท่องแท้แล้วจะเห็นได้วา หลักธรรมทัง ๗ ่ ่ ้ ประการนี้ จะครอบคลุมบทบาทหน้าทีและความรับผิดชอบของครูอย่างทัวถ้วน หากครูอาจารย์คนใด ่ ่ สามารถปฏิบตตามคุณธรรมขันพื้นฐานของความเป็ นครูน้ ีได้อย่างสมบูรณ์ ก็สมควรได้รบการยกย่อง ัิ ้ ั ว่าเป็ นครูทดอย่างแท้จริง ่ี ี อย่างไรก็ตาม เพือให้นกศึกษาและครูอาจารย์ได้เกิดแนวคิดหรือได้ศึกษาแนวคิดจากบุคคล ่ ั อื่นๆอีกดังนันจึงขอนาลักษณะของครูทดตามทัศนะของบุคคลต่างๆ และจากผลงานของการวิจยมา ้ ่ี ี ั เสนอเพือเป็ นแนวความคิดต่อไป ่ ลักษณะของครูดตามทัศนะของบุคคลต่างๆ ี
  6. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๖ ทัศนะของบุคคลต่างๆทีกล่าวถึงบุคลิกลักษณะ ่ และคุณสมบัตของครูทดเี มือพิจารณา ิ ่ี โดยทัวไปแล้ว จะเห็นบุคคลต่างๆดังกล่าวจะมีทศนะเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูทดคล ้ายคลึงกัน สรุป ่ ั ่ี ี ได้ดงต่อไปนี้ ั ๑. ลักษณะท่าทางดี ๒. มีความประพฤติดี ๓. มีอธยาศัยดี ั ๔. มีอารมณ์ดี ๕. มีความยุตธรรม ิ ๖. สามารถวางตัวให้เข้ากับคนทุกชัน ้ ๗. มีความเอาใจใส่ดูแลทุกข์สุขของเด็ก ๘. มีการส่งเสริมคุณวุฒพเิ ศษให้แก่ตนเอง ิ ๙. มีความสามารถในการงาน ๑๐. มีความเป็ นผูนาทาให้เด็กเชื่อฟัง ้ ๑๑. มีความรูดและกว้างขวาง ้ี ๑๒. มีความสามารถในการสอน ๑๓. มีอนามัยดี ๑๕. เป็ นตัวของตัวเอง ๑๖. มีจริยธรรมสูง ๑๗. มีความมานะเข้มแข็ง อดทน ๑๘. มีความคล่องแคล่วว่องไว ๑๙. มีความยืดหยุ่นผ่อนปรน ๒๐. มีคุณสมบัตส่วนตัวดี เช่นสติปญญาดี ิ ั ๒๑. มีวจารณญาณดี ิ ลักษณะของครูดีจากผลการวิจย ั จากการศึกษาผลการวิจยของบุคลต่างๆ( ล้อม ไชยศร.๒๕๑๐, มันทนา ปิ ยมาดา.๒๕๑๑พร ั พิมล เพ็งศรีทอง ,๒๕๑๕ ,บุญสนอง ไกรเนตร.๒๕๑๕,เฉลียว บุรภกดี.๒๕๒๐,จาเนียร น้อยท่า ี ั ช้าง,๒๕๒๑.)ทาให้คุณลักษณะของครูทดตามที่สงคมต้องการ เฉพาะทีสาคัญๆมีดงต่อไปนี้ ีี ั ่ ั
  7. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๗ ๑. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ๒. พูดจาสุภาพอ่อนโยน ชัดเจนและเข้าใจง่าย ๓. มีความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ๔. มีคุณวุฒสูง ิ ๕. รักและเมตตากรุณาต่อนักเรียน ๖. สุขมเยือกเย็นใจดี ุ ๗. อารมณ์แจ่มใสร่าเริง ๘. เข้มงวดต่อความประพฤติของนักเรียนในขณะทีสอน ่ ๙. ขยันและอดทน ๑๐. มีสุขภาพสมบูรณ์ ๑๑. มีความยุตธรรม ิ ๑๒. วางตัวได้เหมาะสม ๑๓. มีความสามารถในการสอน ๑๔. มีสมพันธภาพอันดีกบนักเรียน ั ั ๑๕. เป็ นผูมความรูและขยันหมันศึกษาหาความรู ้ ้ี ้ ่ ๑๗. มีบคลิกภาพแบบแสดงตัว ุ ๑๘. เข้ากับสังคมได้ดี ๑๙. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๒๐. มีความเชื่อมันในตนเองสูง ่ ๒๑. เสียสละ ๒๒. ตรงต่อเวลา ๒๓. มีความมันคงต่ออารมณ์ ่ ๒๔. มีเหตุมผล ี ๒๕. มีความซือสัตย์่ ๒๖. ความประพฤติเรียบร้อย คุณสมบัตทดของครูดงกล่าวข้างต้นนี้ มิได้เรียงลาดับความสาคัญ แต่หากพิจารณาเฉพาะ ิ ่ี ี ั งานวิจยคุณลักษณะของครูทดี โดยรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนผูปกครอง ครูอาจารย์ ผู บริหาร ั ่ี ้ ้
  8. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๘ พระภิกษุและผูทรงคุณวุฒิ จานวนทังสิ้น ๗,๗๖๒ คน จะได้คุณลักษณะของครูดตามลาดับ ้ ้ ี ความสาคัญดังนี้ ๑. ความประพฤติเรียบร้อย ๖. ความรูดี้ ๒. บุคลิกลักษณะและการแต่งกายดี ๗. สอนดี ๓. ตรงเวลา ๘. มีความยุตธรรม ิ ๔. หาความรูอยู่เสมอ ้ ๙. ร่าเริงแจ่มใส ๕. ซือสัตย์ ่ ๑๐.เสียสละ จากการวิจยเรื่องเดียวกันนี้ ทาให้ทราบความบกพร่องของครู เรียงตามลาดับความสาคัญจาก ั มากไปหาน้อยดังนี้ ความบกพร่องของครูชาย ๑. ความประพฤติไม่เรียบร้อย ๒. มัวเมาในอบายมุข ๓. การแต่งกายไม่สุภาพ ๔. การพูดจาไม่สุภาพ ๕. ไม่รบผิดชอบการงาน ั ความบกพร่องของครูผูหญิง ้ ๑. แต่งกายไม่สุภาพ ๒. เป็ นคนเจ้าอารมณ์ ๓. ประพฤติไม่เรียบร้อย ๔. ไม่รบผิดชอบการงาน ั ๕. ชอบนินทา ๖. จูจ้ ข้บน ้ี ี ่ ๗. วางตัวไม่เหมาะสม ๘. คุยมากเกินไป สาหรับการวิจยในต่างประเทศทีเ่ กี่ยวกับลักษณะครูดี มีการวิจยแร่หลายและเป็ นที่ยอมรับ เช่น ั ั งานวิจยของไรอัน (Ryans.๑๙๖๐:๘๒) ซึงได้ศึกษาค้นคว ้าคุณลักษณะของครูดในโครงการ Nationl ั ่ ี committee of Education ในปี ค.ศ.๑๙๔๘–๑๙๕๔ จากกลุมตัวอย่าง ๖,๑๗๙ คน โดยเริ่มหา ่
  9. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๙ พฤติกรรมของครูทเ่ี กิดขึ้นมาบ่อยๆด้วยการสังเกต และได้ศึกษาพฤติกรรมทีสาคัญจากการให้ครูช่วย ่ เขียน และรวบรวมพฤติกรรมเหล่านันไว้ได้ พฤติกรรมทีดหรือไม่ดมดงนี้ ้ ่ี ี ี ั พฤติกรรมที่ดี พฤติกรรมที่ไม่ดี  ตื่นตัวอยู่เสมอ  หงอยเหงาเบือหน่าย ่  สนใจตัวนักเรียนและกิจกรรมของชันเรียน ้  ไม่สนใจนักเรียนและกิจกรรมของชันเรียน ้  ร่าเริงแจ่มใส  อารมณ์ไม่ดอยู่เสมอ ี  ควบคุมตัวเองไม่ได้  หงุดหงิดโกรธเร็ว  มีอารมณ์ขน ั  เคร่งครึม  ยอมรับเมือตนทาผิด ่  ไม่ยอมรับผิดของตนเอง  ยุตธรรมเอนเอียง ิ  มีความอดทน  อ่อนแอ  มีความเมตตากรุณา  ขาดความเมตตากรุณา  มีความสนิทสนมและสุภาพอ่อนน้อม  ไม่ให้ความสนิทสนม  สนใจปัญหาของนักเรียน  สนใจเฉพาะการเรียนของนักเรียน  ยอมรับความคิดเห็นของผูอ่น ้ื
  10. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑๐  ไม่ยกย่องปรับปรุง  เตรียมการสอนดี  ใช้ความเห็นของตนเป็ นใหญ่  ฯลฯ ไม่เตรียมการสอน คุณลักษณะของครูตามอุดมคติ หากครูอาจารย์ผูใ้ ดสามารถปฏิบตได้ตามคุณลักษณะของครูซงบุคคลต่างๆได้แสดงความ ัิ ่ึ คิดเห็นไว้หรือตามผลการวิจยที่กล่าวแล้ว ก็สมควรจะได้รบการยกย่องว่าเป็ นครูในอุดมคติได้ แต่ทว่า ั ั ในสภาพความเป็ นจริงคงไม่ครูอาจารย์ท่านใดปฏิบตได้หมดครบถ้วนแน่ อย่างไรก็ตาม หากครูอาจารย์ ัิ ทุกคนพยายามฝึ กฝนตนเองอยู่เป็ นประจาแล้ว แม้จะไม่ได้รบการยกย่องว่าเป็ นครูในอุดมคติ ก็ของ ั เป็ นปูชนียบุคคลของศิษย์ของบุคคลทัวไปก็คงเพียงพอ การเป็ นครูในอุดมคติ หมายถึงการเป็ นครูท่ี ่ สมบูรณ์ เท่าทีคนจะเป็ นครูจะทาได้ ตามหลักการทฤษฏีแล้ว ไม่มบคคลใดจะเป็ นครูทสมบูรณ์ได้ทกสิง ่ ีุ ่ี ุ ่ ทุกอย่าง(หมายถึงบุคคลธรรมดาทัวไป) การเป็ นครูท่สมบูรณ์ในระดับที่ไม่จาเป็ นจะต้องปรับปรุงสิงใด ่ ี ่ ต่อไปอีกแล้ว เมือเป็ นเช่นนี้ ความเจริญงอกงามก็จะหยุด แต่ในสภาพความเป็ นจริง ความเจริญงอก งามทังในด้านส่วนตัวและทางด้านวิทยาการของผูประกอบอาชีพครูเป็ นสิงทีจาเป็ นทีจะต้องพัฒนาให้ ้ ้ ่ ่ ่ ทันสมัย แต่น่าสนใจอยู่เสมอ ดังนัน ผูเ้ ป็ นครูจาเป็ นต้องพัฒนาอยู่เสมอ ้ คุณลักษณะของครูตามอุดมคตินนมีมากมาย แต่ท่สาคัญที่สุดประการหนึ่งก็คือ ความเป็ น ั้ ี กัลยาณมิตร ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น คุรสมบัตของครูดงกล่าวแล้วเป็ นคุณสมบัตทได้จากคาสอนใน ิ ั ิ ่ี พระพุทธศาสนาและมีความสอดคล้องกับความรูสกของสังคมไทยเรา ดังนัน เพือให้นกศึกษาครูและ ้ึ ้ ่ ั ครูอาจารย์ทวไปได้ทราบแนวความคิดของชาวตะวันตกทีมต่อคุณลักษณะของครูตามอุดมคติวา ั่ ี ่ คุณลักษณะอย่างไรบ้างในทีน้ ีจงขอนาความคิดเห็นของ เฮสซอง และวีคส์ (Hessong and Weeks. ่ ึ ๑๙๘๗:๔๕๗–๔๖๓) ทีมความเห็นว่าครูในอุดมคตินนควรมีลกษณะดังต่อไปนี้ ี ั้ ั ๑. มีความรอบรู ้ ๒. มีอารมณ์ขน ั ๓. มีความยืดหยุ่น ๔. มีวญญาณความเป็ นครู ิ ๕. มีความซือสัตย์ ่
  11. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑๑ ๖. มีความสามารถทาให้เข้าใจรวบรัดชัดเจน ๗. เป็ นคนเปิ ดเผย ๘. มีความอดทน ๙. กระทาตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ๑๐. สามารถนาความรูทางทฤษฏีไปใช้ในทางปฏิบตได้ ้ ัิ ๑๑. มีความเชื่อมันในตนเอง ่ ๑๒. มีความสามารถพิเศษในศิลปะวิทยาการหลายๆด้าน ๑๓. แต่งกายเรียบร้อย สะอาด สง่าผ่าเผย และมีสุขภาพอนามัยส่วนตัวดี ต่อไปนี้ จะได้อธิบายคุณลักษณะแต่ละอย่างพอเป็ นสังเขป เพื่อความเข้าใจต่อไป ๑.มีความรอบรู ้ การเป็ นผูมความรู ้ หมายถึง การมีความรูหรือความเข้าใจในวิชาการต่างๆ ซึงได้ศึกษาเล่าเรียน ้ี ้ ่ มาจากวิทยาลัย/มหาวิทยาลัยเป็ นอย่างดี มีความเชื่อมันในวิชาการไม่หยิ่งพยองว่าตนมีความรูสูงนัก ่ ้ การศึกษาครูหวังอยากให้อาจารย์สอนตนมีความรูฉลาดรอบรูใ้ นวิชาทีตนสอนอย่างไร เด็กๆทีจะเป็ น ้ ่ ่ ศิษย์ของนักศึกษาครู (ครูในอนาคต)ก็หวังอยากให้ครูในอนาคตเป็ นผูมความรอบรูใ้ นวิชาการมากทีสุด ้ี ่ ๒.มีอารมณ์ขน ั การเป็ นผูมอารมณ์ขน คือการเป็ นผูทสามารถในการรับรู ้ ซาบซึ้ง หรือสามารถในการแสดง ้ี ั ้ ่ี ความรูสกในสิงทีทาให้ขนหรือสนุกสนาน การสอนให้นกเรียนเกิดความสนุกสนานหรือการมีอารมณ์ขน ้ึ ่ ่ ั ั ั ของครูจะต้องเป็ นไปในทางทีก่อให้เกิดค่านิยมทีดี ่ ่ ๓. มีความยืดหยุ่น การเป็ นผูมความยืดหยุ่น หมายถึง การเป็ นผูมความรูสกไวต่อการเปลียนแปลงแก้ใข ้ี ้ี ้ึ ่ ปรับเปลียน ครูจงจาเป็ นต้องมีการยืดหยุ่น เพราะบางครังแผนการสอนทีดทสุดอาจจะใช้ไม่ได้ผล ่ ึ ้ ่ ี ่ี ๔. ผูมีวญญาณความเป็ นครู ้ ิ บุคคลทีมวญญาณความเป็ นครูทแท้จริงแล ้ว จะเป็ นผูทมความรักในตัวเด็กและยินดีในภารกิจ ่ ีิ ่ี ้ ่ี ี การสอน บุคคลทีมวญญาณครูจะไม่มองการสอนเป็ นเพียงภารกิจทีตองรับผิดชอบเท่านันแต่จะเกิดปิ ตี ่ ีิ ่ ้ ้ ยินดีเมือได้สอน จะแสดงความรูสกทางสีหน้าเมือได้สอน บุคคลประเภทนี้จะมีความสัมพันธ์ภาพทีดี ่ ้ึ ่ ่ ต่อเพือนร่วมวิชาชีพเสมอและมีเวลาทางานพิเศษให้โรงเรียนประจา ่ ๕.มีความซื่อสัตย์
  12. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑๒ การมีความซือสัตย์สุจริตเป็ นคุณลักษณะทีสาคัญมากสาหรับคนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิงผูท่ี ่ ่ ่ ้ เป็ นครูอาจารย์ ครูอาจารย์ทมความซือสัตย์จริงใจ เมือบอกนักเรียนว่าทาอะไรก็จะพยายามทาจน ่ี ี ่ ประสพความสาเร็จ แต่กมครูอาจารย์บางคนเคยพูดกับนักเรียนว่าการทาสิงใดก็มได้ทาปฏิบตตาม การ ็ ี ่ ิ ัิ กระทาเช่นนันจะทาให้นกเรียนขาดความเชื่อถือไว้วางใจแต่โดยขันพื้นฐานทัวไปแล้ว ้ ั ้ ่ นักเรียนควร ไว้วางใจในสิงทีครูพูดและกระทา ่ ่ ๖.มีความสามารถทาให้เข้าใจรวบรัดชัดเจน ความสามารถในการทาความเข้าใจรวบรัดชัดเจนจะเป็ นเรื่องของการใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน เป้ าหมายสาคัญของการศึกษาประการหนึ่งก็คอ เพือช่วยให้นกเรียนเป็ นผูมความสามารถในการสือสาร ื ่ ั ้ี ่ ได้รวบรัดชัดเจน ดังนันเป็ นครูอาจารย์จะต้องเป็ นแบบอย่างทีดในการใช้ภาษา ทังภาษาพูดและภาษา ้ ่ี ้ เขียน รวมทังการแสดงออกทางภาษาท่าทางหรือกิรยาเพือให้เกิดการสือความหมายที่ชดเจนถูกต้อง ้ ิ ่ ่ ั ผลป้ อนกลับจากการเรียนการสอนในชันเรียนนันจะเป็ นเครื่องบ่งชี้ทดวาครูอาจารย์ได้ทาหน้าทีน้ ีสาเร็จ ้ ้ ่ี ี ่ ่ มากน้อยเพียงใด ๗.เป็ นคนเปิ ดเผย การเป็ นคนเปิ ดเผยคือ การเป็ นคนทีเ่ ต็มใจจะเปิ ดเผยเรื่องราวทีตนมีอยู่ให้ผูอ่นรับรู ้ ครูอาจารย์ ่ ้ื ทีเ่ ปิ ดเผยสิงต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นในชีวตของตนเพือแสดงเป็ นตัวอย่างหรือเปิ ดเผยความเป็ นตัวอย่างหรือ ่ ิ ่ เปิ ดเผยความรูสกในเรื่งใดเรื่องหนึ่งหรือในสถานการณ์ทกาหนด จะช่วยทาให้ความสัมพันธ์นนดีข้น ้ึ ่ี ั้ ึ นักเรียนจะได้รบประสพการณ์ความรูใ้ หม่ๆอย่างต่อเนื่องเมือโตขึ้น การเปิ ดเผยความรูสกของครู ั ้ึ จะทาให้นกเรียนได้ทราบว่าตัวครูกประสพอารมณ์นนๆมาเหมือนกัน ั ็ ั้ ๘.เป็ นผูมีความอดทน ้ การเป็ นผูมความอดทนในทีน้ ีสดงถึงความเป็ นบุคคลทีมความเพียรพยายามหรือขยันขันแข็ง ้ี ่ ่ ี น้อยคนนักนักที่จะมีคุณสมบัตข ้อนี้อย่างเพียงพอ สาหรับต้องการคุณสมบัตข ้อนี้เป็ นกรณีพเิ ศษ เพราะ ิ ิ นักเรียนทีมาเรียนกับครูมหลายประเภท มีทงเรียนช้า เร็ว บางคนสมองไม่ค่อยดี และบางคนเป็ นคน ี ั้ เจ้าอารมณ์ เป็ นต้น ๙.เป็ นผูกระทาตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ้ ครูอาจารย์ควรเป็ นบุคคลที่กระทาตนเป็ นแบบอย่างที่ดเี ป็ นพิเศษ เพราะเด็กเยาชนต้องการ แบบอย่างทีดงามในการดาเนินชีวตของตน ปัจจุบนแบบกระสวนพฤติกรรมต่างๆของเด็กๆจานวนมาก ่ี ิ ั มักจะได้มาจากโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หรือเพือนบ้าน แบบอย่างบางประการทีได้มาจากสือมวลชน ่ ่ ่ อาจจะดี แต่มพฤติกรรมบางอย่างลอกเลียนมาในทางทีลบ เยาวชนที่ขาดความรักความอบอุ่นจากบิดา ี ่
  13. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑๓ มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย และไม่ได้แบบอย่างทีดมาจากครูอาจารย์ มักจะปฏิบตตวไปในทางทีเ่ สือมตามที่ ่ี ัิ ั ่ ตนเองได้ตดสินใจทาลงไป ฉะนันครูอาจารย์ควรระลึกอยู่เสมอว่า การกระทาตนให้เป็ นแบบอย่างทีดี ั ้ ่ แก่เด็กๆทีตนเองรับผิดชอบเป็ นสิงหนึ่งทีครูอาจารย์ให้ความช่วยเหลือทางสังคม ่ ่ ่ ๑๐.เป็ นผูนาที่มีความสามารถนาความรูทางทฤษฎีไปปฏิบตได้ ้ ้ ัิ การนาเอาความรูท่ได้มาจากการศึกษาเล่าเรียนในสถาบันการศึกษาไปใช้ในโรงเรียนจริงๆให้ ้ี เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพเป็ นเรื่องทีค่อนข้างยาก ดังนัน ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนใน ่ ้ สถาบันฝึ กหัดครูจงพยายามให้นกศึกษาครูได้มประสบการณ์ในการเรียนการสอนให้มากทีสุดเท่าที่จะ ึ ั ี ่ ทาได้ นักศึกษาครูจะต้องพยายามมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับสถานการณ์จ่รงๆในห้องเรียนให้มาและ ิ พยายามไต่ถามข้อข้องใจกับอาจารย์ทมประสบการณ์ จากผูบริหาร จากผูปกครองและนักเรียนเป็ นต้น ่ี ี ้ ้ ๑๑.เป็ นผูมีความเชื่อมันในตนเอง ้ ่ ในเมือเราได้กาหนดตัวของเราเองเพือการสอนแล ้ว ดังนัน วิธทดทสุดต่อการสร้างความเชื่อมัน ่ ่ ้ ี ่ี ี ่ี ่ ให้แก่ตนเองก็คอการทดสอบตัวเองและพัฒนาความเชื่อมันในประสบการต่างๆทีสมพันธ์กบการสอนให้ ื ่ ่ ั ั มากทีสุดเท่าทีจะทาได้การได้รบข้อสังเกตในทางบวกจากงานทีได้กระทาสาเร็จลงด้วยดี จะช่วยส่งเสริม ่ ่ ั ่ ความเชื่อมันของบุคคลเป็ นอย่างดี ่ นักกีฬาที่ประสบความสาเร็จจะมีความเชื่อมันในตัวเองฉันใด ่ นักศึกษาครูอาจารย์ทประสบความสาเร็จก็เช่นเดียวกัน ่ี ๑๒.เป็ นผูมีความสามารถพิเศษในศิลปะวิทยาการหลายๆด้าน ้ ครูอาจารย์ทประสบความสาเร็จ ส่วนมากมิได้มความรูเ้ พียงอย่างเดียว แม้วาผูศึกษาวิชาครูจะ ่ี ี ่ ้ เลือกเรียนสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งเป็ นวิชาเอก เช่นการประถมศึกษา ดนตรีศึกษา สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์หรืออื่นๆเป็ นต้น แต่นกศึกษาบางวิชาเอกก็ได้เลือกเรียนวิชาโทไว้ด้วย การ ั เลือกเรียนวิชาโทไว้ด้วยเป็ นการเพิมพูนความรูใ้ ห้แก่ผูทจะเป็ นครูในโอกาสต่อไปเป็ นอย่างดี และเป็ น ่ ้ ่ี การเพิมโอกาสในการทางานได้อย่างกว้างขวางมากขึ้นนอกจากนี้ การเป็ นผูมความสามารถพิเศษใน ่ ้ี หลายๆด้านจะช่วยทาให้ครูอาจารย์มคุณลักษณะของความเป็ นครูอย่างสมบูรณ์ยงขึ้น ี ่ิ ๑๓.เป็ นแต่งกายเรียบร้อย สะอาด สง่าผ่าเผย และมีสุขภาพอนามัยส่วนตัวดี เสื้อผูอาภรณ์ทออกแบบมาด้วยราคาแพงๆมิใช่เป็ นสิงทีจาเป็ นสาหรับผูประกอบวิชาชีพครู สิง ้ ่ี ่ ่ ้ ่ สาคัญอยู่ทความสะอาดเรียบร้อย ่ี และสวมใส่เสื้อผ้าทีมความเหมาะสมถูกต้องตามรูปแบบทีทาง ่ ี ่ สถานศึกษากาหนดสุขภาพอนามัยส่วนตัวของครูกเ็ ป็ นสิงทีสาคัญยิง หากครูมร่างกายสกปรก สุขภาพ ่ ่ ่ ี อนามัยไม่ดย่อมก่อให้เกิดปัญหาในการสอน ครูท่มสุขภาพดีทงทางร่างกายและจิตใจ จะช่วยสร้าง ี ี ี ั้ ความสัมพันธ์กบนักเรียนดีข้น ั ึ
  14. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑๔ สรุปท้ายบท คุณลักษณะทีดของครูนนมีมากมายการทีจะยอมรับว่าครูทดจะต้องมีคุณลักษณะอย่างไรนัน ่ี ั้ ่ ่ี ี ้ ขึ้นอยู่กบทัศนะของแต่ละบุคคล เมือพิจารณาโดยทัวไปแล้ว สามารถสรุปได้วา ครูทดนนจะต้อง ั ่ ่ ่ี ี ั้ ประกอบด้วยคุณลักษณะที่สาคัญๆดังต่อไปนี้ ๑.บุคลิกภาพ เช่นรูปร่างท่าทางดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย พูดจาไพเราะ นุ่มนวลน่าฟัง นา้ เสียงชัดเจนมีลกษณะเป็ นผูนาเป็ นต้น ั ้ ๒.คุณสมบัตส่วนตัวดี เช่นสติปญญาดี เฉลียวฉลาด เชื่อมันในตัวเอง มีความคิดสร้างสรรค์ ิ ั ่ กระตือรือร้นและสุขภาพอนามัยดีเป็ นต้น ๓.สอนดีและปกครองดี เช่นอธิบายได้รวบรัดชัดเจน สอนสนุก ปกครองนักเรียนให้อยู่ ใน ระเบียบวินยตลอดเวลาเป็ นต้น ั ๔.ประพฤติดี เช่นเว้นจากอบายมุขทังปวง กระทาแต่ส่งทีดี สุจริตทังกาย วาจาใจ ้ ิ ่ ้ ๕.มีจรรยาและคุณธรรมสูง เช่นมีความซือสัตย์ เสียสละ มีเมตตากรุณา ยุตธรรมและมานะ ่ ิ อดทนเป็ นต้น ๖.มีมนุษยสัมพันธ์ดี กล่าวคือ มีอธยาศัยไมตรีกบทุกเพศทุกวัยทุกภูมชน ั ั ิ ั้ ครูผูสร้างโลก ้ ความหมายของครูผูสร้างโลก ้ คาว่าครูผูสร้างโลก คือครู ผูสร้างวิญญาณของเด็ก แล้วเด็กโตขึ้นมาก็เป็ นคน คนทังหมด ้ ้ ้ รวมตัวกันก็คือโลก .ครูจึงอยู่ในฐานะสร้างโลกโดยผ่านเด็ก โลกจะดีหรือจะงดงามน่าอยู่กเ็ พราะว่าโลก เต็มไปด้วยคนดี. ความมุ่งหมายของครูกคือสร้างเด็กให้เป็ นคนดี ,แล้วเป็ นผูใ้ หญ่ท่เี ป็ นคนดี. ็ สาหรับคาว่าครู ,ครูในทีน้ ีจะต้องระลึกนึกถึงตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนาทีพระพุทธองค์ได้ ่ ่ ตรัสว่า บิดามารดาเป็ นครูคนแรก บิดามารดาเป็ นครูคนแรกนันอย่างไร คือเกิดมาก็เลี้ยงดูอบรมสัง ้ ่ สอน โดยรูสกตัวบ้างไม่รูสกตัวบ้าง มาตามลาดับจนเด็กนันมีความรูใ้ นเรื่องต่างๆเท่าทีควรจะรู ,้ แล้วยัง ้ึ ้ึ ้ ่ บ่มนิสยให้หยาบละเอียด ประณีตสุขมอะไรได้อกแล้วแต่บดามารดา หรือผูเ้ ลี้ยงเด็กจะมีมารยาท มี ั ุ ี ิ กิรยาอาการ หรือกระทัง่ มีวฒนธรรมอย่างไร นี่เด็กก็ได้รบการถ่ายทอดจากครูคนแรกคือบิดามารดา ิ ั ั ฉะนันคาว่าครูในทีน้ ีจงรวมไปถึงบิดามารดาซึงเป็ นครูชนต้น. ้ ่ ึ ่ ั้
  15. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑๕ พอมาอยู่ทโี่ รงเรียนก็มี ครูชนที่สองคือครู ท่โรงเรียน แล้วก็ทางานพร้อมกัน ทังทีบา้ นและที่ ั้ ี ้ ่ โรงเรียน.บิดามารดาเป็ นครูชนต้น.ครูอาจารย์ท่โรงเรียนเป็ นครูรบช่วง. แล้วก็ยงมาสอนด้วยกัน นี่คอ ั้ ี ั ั ื คาว่าครูโดยใจความสันๆ เป็ นผูอบรมสัง่ สอนให้เกิดมารยาท เกิดนิสย เกิดคุณสมบัตต่างๆ. ้ ้ ั ิ ครูสามารถสอนได้ทกโลก ุ ครูเป็ นผูสร้างโลก ถือเอาหลัก๓ประการ คือ ้ ๑. สังขารโลก โลกแห่งสภาวธรรมทีปรุงแต่งกันอยู่ตลอดเวลา ่ ๒. โอกาสโลก โลกคือแผ่นดินอันเป็ นทีตงอาศัยของสิงมีชวต ่ ั้ ่ ีิ ๓. สัตว์โลก คือหมูสตว์ทอาศัยอยู่ในโลกทุกประเภท ่ ั ่ี ถ้าครูมความรูมากพอแล้วก็สอนให้มการปรุงแต่งที่ถูกต้อง ให้ทกคนมีการปรุงแต่งทีถกต้อง ี ้ ี ุ ู่ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ให้เป็ นสังขารโลก แต่สงเหล่านี้มนอยู่นอกหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ แม้ ่ิ ั ครูจะสร้างสังขารโลกก็ยงทาได้ คือทาให้มการปรุงแต่งในโลกแต่ชนิดที่ถกต้อง หรือควรจะมีควรจะเป็ น ั ี ู แล้วก็อยู่กนอย่างมีความสุข ั ทีน่ีมากล่าวถึง โอกาสโลก คือแผ่นดินรวมทังต้นไม้ตนไร่อะไรทีอยู่บนแผ่นดินถ้าครุจะช่วย ่ ้ ้ ่ สร้างโลกแผ่นดินก็ยงทาได้ ั คือการสอนให้เด็กรู จกรักษาคุมครองแผ่นดินไม่ทาลายทรัพยากรของ ้ั ้ ธรรมชาติโดยไม่จาเป็ น แต่เดี่ยวนี้การทาลายทรัพยากรธรรมชาตินนทาลายกันอย่างไม่มขอบเขต ั้ ี ความสาคัญของการพัฒนาครู เป็ นทียอมรับกันทัวไปแล้วว่า ครูเป็ นบุคคลทีมความสาคัญที่สุดต่อการพัฒนาสังคมและชาติ ่ ่ ่ ี บ้านเมือง ทังนี้เพราะ ครูตองรับหน้าทีในการพัฒนาบุคคลในสังคมให้มความเจริญงอกงามอย่างเต็มที่ ้ ้ ่ ี จนบุคคลเหล่านันสามารถทีจะใช้ความรูความสามารถของตนพัฒนาชาติบา้ นเมืองต่อไปดังนัน การ ้ ่ ้ ้ พัฒนาครูให้เป็ นบุคคลทีมศกยภาพอย่างทีสุด จึงเป็ นงานทีนกวิชาการศึกษา/ผูนิเทศ/และ/หรือผูบริหาร ่ ี ั ่ ่ ั ้ ้ การศึกษาจะต้องทาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง กล่าวโดยสรุป การพัฒนาครูกอให้เกิดประโยชน์หลายประการ ดังนี้ ่ ๑.ช่วยพัฒนาคุณภาพและวิธการทางานของครู ทาให้ครูมสมรรถภาพในการสอน มีความรู ้ ี ี เพิมขึ้นเข้าใจบทบาทหน้าที่และปฏิบตหน้าทีได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ใขข้อบกพร่องให้ดข้น ่ ัิ ่ ีึ
  16. คุณลักษณะของครูทดี ่ี ๑๖ ๒.การพัฒนาครูช่วยทาให้เกิดการประหยัดเวลาและลดความสูญเปล่าทางวิชาการ เพราะครู ได้รบการพัฒนาจนเป็ นครูทมคุณภาพนันย่อมไม่ทาสิ่งใดผิดพลาดง่ายๆสามารถใช้สอการเรียนการสอน ั ่ี ี ้ ่ื อย่างมีประสิทธิภาพ ทาการเรียนการสอนให้บรรลุตามจุดประสงค์ทตงไว้ ่ี ั้ ๓.การพัฒนาครู ช่วยทาให้ครูได้เรียนรูง้ านในหน้าทีได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงครูทได้รบการ ่ ่ ่ี ั บรรจุให้เข้าทางานใหม่ๆและครูทยา้ ยไปทาการสอนทีอ่น ่ี ่ื ๔.การพัฒนาครูช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของผูบงคับบัญชาหรือหัวหน้างานในสายงานต่างๆ ้ั เพราะครูทได้รบการการพัฒนาอย่างดีและอย่างต่อเนื่อง จะมีความเข้าใจในการสอนและงานอื่นได้ย่างดี ่ี ั ๕.การพัฒนาครู ช่วยกระตุนให้ครูปฏิบตงานเพือความเจริญก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าทีการงาน ้ ัิ ่ ่ ๖.การพัฒนาครู ช่วยทาให้ครูเป็ นบุคคลที่ทนสมัยอยู่เสมอทังในด้านความรูและเทคโนโลยี ั ้ ้ ต่างๆรวมทังหลักการปฏิบตงานและเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ้ ัิ ครูตองเป็ นผูเ้ รียนรูอย่างต่อเนื่ อง ้ ้ การพัฒนาครูเป็ นงานทีตองกระทาอย่างต่อเนื่อง ทังนี้เพราะ ตังอยู่บนข้อตกลงเบื้องต้น ่ ้ ้ ้ ดังต่อไปนี้ ๑.คุณภาพในการปฏิบตงานเป็ นสิงทีมคุณค่าควรแก่การติดตาม ัิ ่ ่ ี ๒.ความสามารถของบุคคลจะสัมพันธ์กบความเข้าใจในข้อผูกมัดของงานแต่ละอย่าง ั ๓.ความเจริญก้าวหน้าเป็ นคุณลักษณะของมนุษย์ ๔.บุคคลอื่นจะให้ความเคารพยกย่องในความรูความชานาญของบุคคลทีมความเจริญก้าวหน้า ้ ่ ี จากข้อตกลงเบื้องต้นดังกล่าวนี้ บุคคลทุกๆคนจึงเป็ นต้องมีการพัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู ้ ประกอบวิชาชีพครูจะต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทังนี้เพราะ การเรียนรูอย่างต่อเนื่องของผูประกอบ ้ ้ ้ วิชาชีพครูจะช่วยให้ครูไดรับการพัฒนาศักยภาพของความเป็ นครูอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ อย่างยิง ดังที่ เฮซองแลวีคส์ (Hessong and Weeks.๑๙๘๗)ได้กล่าวถึงความสาคัญของการเรียนรู ้ ่ อย่างต่อเนื่องของครูไว้ว่า ไม่มความพยายามทางการเรียนใดๆทีเ่ ริ่มต้นในวิทยาลัย /มหาวิทยาลัยและ ี จบลงในวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิงสาหรับผูประกอบวิชาครู นน กระบวนการเพือเพิม ่ ้ ั้ ่ ่ ความเจริญงอกงามเป็ นกระบวนการทีตองกระทาอย่างต่อเนื่องกัน สาหรับผูทเ่ี ป็ นแพทย์ อาจจะกล่าว ่ ้ ้ ได้วาตนได้เรียนรูทกสิงทุกอย่างทีจาเป็ นทางด้านสรีรศาสตร์ และครูกอาจจะกล่าวว่าตนได้เรียนรูทกสิง ่ ุ้ ่ ่ ็ ุ้ ่ ทุกอย่างทีจาเป็ นซึงเกี่ยวข้องกับเรื่องจิตวิทยาและเนื้อหาวิชาที่สอนเด็กๆแล้ว คากล่าวของบุคคลทังสอง ่ ่ ้
Anzeige