Anzeige

Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)

Lecturer at Mahidol University um Mahidol University
19. Oct 2022
Anzeige

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(20)

Más de Nawanan Theera-Ampornpunt(20)

Anzeige

Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)

  1. 1 Social Media & PDPA: มีทางรอดอยู่ไหม? นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 19 ตุลาคม 2565 www.SlideShare.net/Nawanan
  2. 2 Disclaimer: เป็นความเห็นทางวิชาการส่วนบุคคล ไม่ผูกพันการทาหน้าที่ในบทบาทใดในปัจจุบัน หรืออนาคต
  3. 3 PDPA Confusions https://mgronline.com/live/detail/9650000051475 https://www.tnnthailand.com/news/tech/115426/ https://www.thairath.co.th/news/society/2406322 https://www.thansettakij.com/general-news/528215
  4. 4 PDPA Confusions https://board.postjung.com/1403955 https://board.postjung.com/1403992
  5. 5 PDPA Q&A
  6. 6 PDPA Q&A
  7. 7 PDPA Q&A
  8. 8 การถ่ายภาพ/โพสต์ภาพ/โพสต์กล่าวถึงบุคคลอื่น ใน Social Media กับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)
  9. 9 ความเข้าใจผิด (Myths) และข้อเท็จจริง (Truths) •Myth: ต่อไปนี้ จะถ่ายภาพ/โพสต์ภาพติดภาพคนอื่น หรือ กล่าวถึงผู้อื่นบน Social Media จะต้องขอความยินยอม (consent) จากผู้นั้นก่อนเสมอ ไม่เช่นนั้นจะมีความผิด •Truth: PDPA ไม่ได้กาหนดให้การถ่ายภาพ/โพสต์ภาพติด ภาพคนอื่น/กล่าวถึงผู้อื่น จะต้องขอความยินยอมก่อนเสมอไป ความยินยอมเป็นเพียง “ฐานทางกฎหมาย” (lawful basis) เดียวจากทั้งหมด 7 ฐานเท่านั้น โดยแต่ละฐานจะมีเงื่อนไข และสถานการณ์ที่ควรนามาใช้แตกต่างกัน นอกจากนี้ บาง กรณียังได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตาม PDPA ด้วย
  10. 10 ข้อยกเว้นการบังคับใช้ PDPA 1. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วน บุคคลเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อกิจกรรมในครอบครัวของบุคคลนั้นเท่านั้น 2. การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ 3. การใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมไว้เฉพาะเพื่อกิจการสื่อมวลชน งาน ศิลปกรรม หรืองานวรรณกรรมอันเป็นไปตามจริยธรรมแห่งการประกอบวิชาชีพหรือเป็น ประโยชน์สาธารณะเท่านั้น 4. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลในการพิจารณาตามหน้าที่และอานาจของสภา ผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา หรือคณะกรรมาธิการ 5. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการที่เกี่ยวข้อง 6. การดาเนินการของบริษัทข้อมูลเครดิตและสมาชิก Reference: PDPA ม.4
  11. 11 ตัวอย่างการปรับใช้ข้อยกเว้นการบังคับใช้ PDPA 1. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ ประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อกิจกรรมในครอบครัวของบุคคลนั้นเท่านั้น เช่น การถ่ายภาพ/โพสต์ภาพของตนกับเพื่อนหรือครอบครัว ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการทางานหรือกิจการของ หน่วยงานใด 2. การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ 3. การใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมไว้เฉพาะเพื่อกิจการสื่อมวลชน งานศิลปกรรม หรือ งานวรรณกรรมอันเป็นไปตามจริยธรรมแห่งการประกอบวิชาชีพหรือเป็นประโยชน์สาธารณะเท่านั้น เช่น การถ่ายภาพเพื่อการรายงานข่าวของสื่อมวลชน การถ่ายภาพ street photography หรือ candid photography ที่เป็นงานศิลปกรรม 4. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลในการพิจารณาตามหน้าที่และอานาจของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา หรือคณะกรรมาธิการ 5. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการที่เกี่ยวข้อง 6. การดาเนินการของบริษัทข้อมูลเครดิตและสมาชิก Reference: PDPA ม.4
  12. 12 ฐานทางกฎหมายใน PDPA (กรณีไม่ใช่ข้อมูลส่วนบุคคลที่ sensitive) 1. การจัดทาเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือการ ศึกษาวิจัยหรือสถิติ (Archiving, Research or Statistics) 2. เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล (Vital Interest) 3. เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลฯ เป็นคู่สัญญา หรือเพื่อใช้ในการ ดาเนินการตามคาขอก่อนเข้าทาสัญญา (Contractual Performance) 4. เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ในการดาเนินภารกิจเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือใน การใช้อานาจรัฐ (Public Task) 5. เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมาย เว้นแต่ประโยชน์ดังกล่าวมีความสาคัญ น้อยกว่าสิทธิขั้นพื้นฐานในข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลฯ (Legitimate Interest) 6. เป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย (Legal Obligation) 7. ได้รับความยินยอม (Consent) Reference: PDPA ม.24
  13. 13 1. การจัดทาเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือการศึกษาวิจัยหรือสถิติ (Archiving, Research or Statistics) เช่น การถ่ายภาพเพื่อการจัดทาเป็นเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุ หรือการศึกษาวิจัย 2. เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล (Vital Interest) เช่น การถ่ายภาพเพื่อปรึกษาแพทย์และการให้การช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วย 3. เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลฯ เป็นคู่สัญญา หรือเพื่อใช้ในการดาเนินการ ตามคาขอก่อนเข้าทาสัญญา (Contractual Performance) เช่น - การถ่ายภาพ/โพสต์ภาพวิทยากรซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขการเชิญเป็นวิทยากร - การถ่ายทารายการที่ไม่ใช่ข่าว ที่มีการเชิญแขกรับเชิญมาถ่ายทารายการ - การถ่ายภาพและ record การสอน/บรรยาย/ประชุม ของพนักงานของหน่วยงานที่ทาหน้าที่ตาม สัญญาจ้าง - การรับจ้างถ่ายภาพให้กับเจ้าของข้อมูลในงาน event ของเจ้าของข้อมูลฯ โดยตรง Reference: PDPA ม.24 ตัวอย่างการปรับใช้ฐานทางกฎหมายใน PDPA สาหรับ การถ่ายภาพ/โพสต์ภาพของผู้อื่น (กรณีไม่ใช่ข้อมูลส่วนบุคคลที่ sensitive)
  14. 14 4. เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ในการดาเนินภารกิจเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือในการใช้อานาจรัฐ (Public Task) เช่น การติดกล้องวงจรปิดของหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ดูแลความปลอดภัยหรือความสงบเรียบร้อย หรือ การถ่ายภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 5. เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมาย เว้นแต่ประโยชน์ดังกล่าวมีความสาคัญน้อยกว่าสิทธิขั้น พื้นฐานในข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลฯ (Legitimate Interest) เช่น การถ่ายภาพบรรยากาศใน event หรือการติดกล้องวงจรปิดในพื้นที่ของหน่วยงาน (ไม่ว่ารัฐหรือ เอกชน) เพื่อดูแลความปลอดภัยในพื้นที่ของตน หรือการถ่ายภาพติดภาพบุคคลอื่นในพื้นที่ที่ไม่สามารถ คาดหวังความเป็นส่วนตัวได้อย่างสมเหตุสมผล (ไม่มี reasonable expectation of privacy) และไม่ กระทบสิทธิส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลเกินสมควร 6. เป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย (Legal Obligation) เช่น กรณีที่กฎหมายกาหนดให้ต้องมีการถ่ายภาพเพื่อการดาเนินการบางอย่างตามที่กฎหมายกาหนด 7. ได้รับความยินยอม (Consent) เช่น กรณีจะนาภาพที่ถ่ายมาเพื่อการหนึ่งไปใช้เป็นสื่อ PR ร้านค้า หรือการถ่ายภาพที่ไม่มีเหตุผลความจาเป็น ตามฐานอื่น ๆ หรือการถ่ายภาพที่บุคคลอาจคาดหวังว่ามี reasonable expectation of privacy แต่ ประสงค์จะนาภาพบุคคลนั้นไปใช้ประโยชน์ที่ไม่เข้าข้อยกเว้นและฐานอื่น ๆ Reference: PDPA ม.24 ตัวอย่างการปรับใช้ฐานทางกฎหมายใน PDPA สาหรับ การถ่ายภาพ/โพสต์ภาพของผู้อื่น (กรณีไม่ใช่ข้อมูลส่วนบุคคลที่ sensitive)
  15. 15 (1) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลซึ่งเจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม เช่น กรณีการถ่ายภาพมีประโยชน์ในการช่วยชีวิตผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน (2) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสมของมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็นสมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่างสม่าเสมอ กับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดยไม่ได้เปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลนั้นออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรนั้น (3) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของข้อมูลส่วน บุคคล Reference: PDPA ม.26 ตัวอย่างการปรับใช้ฐานทางกฎหมายใน PDPA สาหรับการ ถ่ายภาพ/โพสต์ภาพของผู้อื่น กรณีเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่ sensitive เช่น ข้อมูลสุขภาพ
  16. 16 (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิ เรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ (ก) เวชศาสตร์ป้องกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมินความสามารถในการทางาน ของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม การรักษาทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้าน สังคมสงเคราะห์ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ใช่การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคลนั้น อยู่ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าที่รักษาข้อมูลส่วน บุคคลนั้นไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่างเจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคลกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ เช่น กรณีการถ่ายภาพเพื่อการรักษาพยาบาลหรือการจัดการด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้อง Reference: PDPA ม.26 ตัวอย่างการปรับใช้ฐานทางกฎหมายใน PDPA สาหรับการ ถ่ายภาพ/โพสต์ภาพของผู้อื่น กรณีเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่ sensitive เช่น ข้อมูลสุขภาพ
  17. 17 (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ (ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การป้องกันด้านสุขภาพจากโรคติดต่อ อันตรายหรือโรคระบาดที่อาจติดต่อหรือแพร่เข้ามาในราชอาณาจักร หรือการควบคุม มาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ ซึ่งได้จัดให้มีมาตรการที่ เหมาะสมและเจาะจงเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลโดยเฉพาะ การรักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลตามหน้าที่หรือตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เช่น กรณีการถ่ายภาพจาเป็นและมีประโยชน์ในการจัดการเรื่องโรคติดต่ออันตรายหรือโรค ระบาด หรือการควบคุมคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ (ค) การคุ้มครองแรงงาน การประกันสังคม หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาลของผู้มีสิทธิตามกฎหมาย การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ หรือการ คุ้มครองทางสังคม ซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นสิ่งจาเป็นในการปฏิบัติตามสิทธิ หรือหน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยได้จัดให้มี มาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เช่น กรณีการถ่ายภาพมีความจาเป็นเพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลหรือกรณี พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ Reference: PDPA ม.26 ตัวอย่างการปรับใช้ฐานทางกฎหมายใน PDPA สาหรับการ ถ่ายภาพ/โพสต์ภาพของผู้อื่น กรณีเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่ sensitive เช่น ข้อมูลสุขภาพ
  18. 18 (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ (ง) การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติ หรือประโยชน์สาธารณะอื่น ทั้งนี้ ต้อง กระทาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวเพียงเท่าที่จาเป็นเท่านั้น และได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศ กาหนด เช่น กรณีการถ่ายภาพมีความจาเป็นในการวิจัยและปฏิบัติตามมาตรการคุ้มครองที่คณะกรรมการกาหนด (จ) ประโยชน์สาธารณะที่สาคัญ โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและ ประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล กรณีอื่น ๆ ที่อาจต้องพิจารณาชั่งน้าหนักประโยชน์สาธารณะและผลกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็น กรณี ๆ ไป (6) ได้รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง เช่น ได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการถ่ายภาพ pre- & post- การรักษาบริเวณใบหน้าเพื่อการ เรียนการสอนหรือใช้เป็นตัวอย่างในคลินิก, การส่งภาพถ่ายผู้ป่วยไปเบิกจ่ายจากบริษัทประกันภัย หรือประกันชีวิตเอกชน ที่ไม่ใช่เรื่องตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ โดยตรง Reference: PDPA ม.26 ตัวอย่างการปรับใช้ฐานทางกฎหมายใน PDPA สาหรับการ ถ่ายภาพ/โพสต์ภาพของผู้อื่น กรณีเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่ sensitive เช่น ข้อมูลสุขภาพ
  19. 19 กฎหมายอื่น ๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง 1. พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และ พ.ร.บ. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 2. ความผิดฐานหมิ่นประมาทในประมวลกฎหมายอาญา 3. ความผิดฐานละเมิดในประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ Reference: PDPA ม.4
  20. 20 พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
  21. 21 พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
  22. 22 พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
  23. 23 •มาตรา 326 ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการ ที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียด ชัง ผู้นั้นกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท... •มาตรา 327 ผู้ใดใส่ความผู้ตายต่อบุคคลที่สาม และการใส่ ความนั้นน่าจะเป็นเหตุให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตร ของผู้ตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้น กระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท... ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ประมวลกฎหมายอาญา)
  24. 24 •มาตรา 328 ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทาโดย การโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ... ภาพหรือตัวอักษรที่ ทาให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ ... กระทาโดยการกระจาย เสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทาการป่าว ประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทาต้องระวางโทษ... ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ประมวลกฎหมายอาญา)
  25. 25 •มาตรา 329 ผู้ใดแสดงความคิดเห็นหรือข้อความใดโดยสุจริต (1) เพื่อความชอบธรรม ป้องกันตนหรือป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับ ตนตามคลองธรรม (2) ในฐานะเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติการตามหน้าที่ (3) ติชมด้วยความเป็นธรรม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัยของ ประชาชนย่อมกระทา หรือ (4) ในการแจ้งข่าวด้วยความเป็นธรรมเรื่องการดาเนินการอัน เปิดเผยในศาลหรือในการประชุม ผู้นั้นไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ประมวลกฎหมายอาญา)
  26. 26 •มาตรา 330 ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผู้ถูกหาว่ากระทา ความผิด พิสูจน์ได้ว่าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็น ความจริง ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ •แต่ห้ามไม่ให้พิสูจน์ ถ้าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็น การใส่ความในเรื่องส่วนตัว และการพิสูจน์จะไม่เป็น ประโยชน์แก่ประชาชน ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ประมวลกฎหมายอาญา)
  27. 27 ความผิดฐานละเมิด (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์)
  28. 28 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงาน ผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุง ครรภ์ ผู้พยาบาล...หรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความ เสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
  29. 29 ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรม แห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549 วิชาชีพอื่นๆ ด้านสุขภาพ และคณะกรรมการประกอบโรคศิลปะ มีข้อบังคับใน ทานองเดียวกัน
  30. 30 คาประกาศสิทธิและข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วย 7. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง เว้นแต่ ผู้ป่วยจะให้ความยินยอมหรือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ ของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อประโยชน์โดยตรง ของผู้ป่วยหรือตามกฎหมาย
  31. 31 พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะ นาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การ เปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมาย เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจ หรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่น เพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
  32. 32 ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
  33. 33 ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
  34. 34 ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
  35. 35 กฎหมายเฉพาะ • พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
  36. 36 กฎหมายเฉพาะ • พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
  37. 37 เรื่องที่แพทย์ควรทราบ เกี่ยวกับ PDPA 1. PDPA ไม่ได้มา “ยกเลิก” กฎหมายอื่น 2. PDPA วางหลักการทั่วไปของการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคล 3. ข้อมูลส่วนบุคคล แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ General และ Sensitive Personal Data 4. ใครเป็นใครใน PDPA (Subject, Controller, Processor) 5. PDPA กาหนดว่า การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องทา “เท่าที่จาเป็น” (ตามหลักการ Data Minimization) คือ ต้องมีฐานทางกฎหมาย (Lawful Basis)
  38. 38 เรื่องที่แพทย์ควรทราบ เกี่ยวกับ PDPA 6. ใน PDPA เราไม่ใช้ “ความยินยอม” (consent) เป็น “เหตุผลแรก” (ฐานแรก) ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล แต่เราจะ พิจารณาว่ามีฐานทางกฎหมายอื่นที่เข้าได้ก่อนหรือไม่ หากไม่มี จึงค่อยใช้ “ฐานความยินยอม” (Consent should be the last resort) ทั้งนี้ ไม่ รวม consent เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลหรือการวิจัย ที่ไม่ได้ขอ consent ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยตรง 7. เมื่อจะเก็บ ก็ต้องแจ้ง Privacy Notice ว่าจะเก็บอะไร ไปทาอะไร อาจ เปิดเผยให้ใครได้บ้าง เก็บไว้นานแค่ไหน เรา (controller) เป็นใคร ติดต่อ ได้อย่างไร ใครเป็น DPO และ subject มีสิทธิอะไรบ้าง และต้องใช้ตามที่ แจ้ง
  39. 39 เรื่องที่แพทย์ควรทราบ เกี่ยวกับ PDPA 8. หน้าที่ของ controller และ processor 9. สิทธิของเจ้าของข้อมูลฯ (Data Subject Rights) 10. ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วก่อนกฎหมายบังคับใช้ ใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ เดิม
  40. 40 Social Media & PDPA: มีทางรอดอยู่ไหม? นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 19 ตุลาคม 2565 www.SlideShare.net/Nawanan
Anzeige