SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีการศึกษา
โดย
นางสาวขวัญเรือน ภูดวงดาษ 533050405-3
นางสาวธัญญาภรณ์ พยอม 533050429-9
นางสาวภัทรสุดา กลยนีย์ 533050440-1
นางสาวศรัญญา วิระตา 533050444-3
ภารกิจ
สถานการณ์ปัญหา
• ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมี
ความเชี่ยวชาญในด้านนี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอน
นักเรียนในแต่ละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้
นักเรียนจำา และสื่อการสอนที่นำามาใช้ในประกอบการสอน
ก็เป็นลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะเป็น
หนังสือ, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทั่งวีดีโอที่นำามา
เปิดให้นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่าการ
สอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทำาให้นักเรียน
สามารถจดจำาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากที่สุด
ส่วนนักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความ
รู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดำาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่
ครูกำาหนดทั้งหมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้น
ที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทำาแค่ไหนก็ทำาแค่นั้น
พอ
• ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของ
นักเรียนที่กล่าวมาทั้งหมดได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อ
เรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทำาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่
สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนำามาใช้แก้
ปัญหาในชีวิตประจำาวันได้
คำาถามจากภารกิจ
1.วิเคราะห์แนวคิดวิธีการการจัดการเรียนการสอน และการ
ใช้สื่อการสอนของครูสมศรีตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของ
นักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
2.วิเคราะห์เกี่ยวกับการการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
มาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใด
บ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
3.ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครู
สมศรี ให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำาคัญ
1.วิเคราะห์แนวคิดวิธีการการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของ
ครูสมศรีตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการ
ศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
การจัดการเรียน
การสอน
สื่อการสอน วิธีการเรียนรู้ของ
นักเรียน
จะสอนหรือการ
บรรยายให้นักเรียน
จำา
ครูสมศรีจะเน้นสื่อที่
การถ่ายทอดความรู้
อาทิเช่น หนังสือ
เรียน,การสอนบน
กระดานและวีดีโอ
นักเรียนจะรอรับเอา
ความรู้จากครูสมศรี
เพียงอย่างเดียวและ
ดำาเนินกิจกรรมตาม
กิจกรรมที่ครูกำาหนด
ให้ทั้งหมด
การสอนของครูสมศรีการสอนของครูสมศรี
ดังนั้นสรุปได้ว่า แนวคิดวิธีการการจัดการเรียนการสอน
และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรีตลอดจนวิธีการเรียน
รู้ของนักเรียน นั้นไม่ได้มีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการ
ศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ เพราะว่า
1.ครูสมศรียังมีการจัดการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม คือ ครู
เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ทั้งหมด ซึ่งนักเรียนจะไม่
สามารถที่จะคิดเกินไปกว่าข้อมูลที่ครูจัดให้ และมีการ
สอนที่เป็นแบบท่องจำา มากกว่าการให้นักเรียนเข้าใจ
อย่างแจ่มแจ้ง ซึ่งในยุคที่ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
นักเรียน นักเรียนจะได้รับข้อมูลที่หลากหลาย และรู้จัก
คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น
2.ครูสมศรียังใช้สื่อที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ ไม่ว่าจะ
เป็น หนังสือ,การสอนบนกระดาน และวีดีโอที่นำามาเปิด
ซึ่งครูสมศรีจำากัดการเรียนรู้ของนักเรียนเพราะสื่อการ
สอน ควรที่จะหลากหลายและให้นักเรียนได้ความรู้
ใหม่ๆด้วย
3.นักเรียนของครูสมศรีนั้นไม่นานก็จะลืมเนื้อหาที่เคย
เรียนมาไม่สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่
จะนำามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวันได้ เพราะวิธี
การเรียนรู้ของนักเรียนของครูสมศรีนั้นคือจะคอยรับ
จากครูเพียงอย่างเดียว จึงทำาให้ไม่กระตือรือร้น
หาความรู้เพิ่มเติม ทำาให้เกิดปัญหาได้ ควรจะให้
นักเรียนได้สามารถศึกษาหาคำาตอบได้ด้วยตนเอง คิด
เป็น แก้ปัญหาเป็น
การเปลี่ยนแปลงทั้งหมด 3 ด้าน ดังนี้
1.การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
เหตุผล คือ ในปัจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นความก้าวหน้าด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อ
การดำาเนินชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมากและจะทวีความ
สำาคัญยิงขึ้น การศึกษาจึงต้องเป็นพลวัตร คือต้องมี
การปรับเปลี่ยนให้ทันและสอดคล้องกับกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของชาติและสังคมโลกอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้
2.วิเคราะห์เกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้
ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
2.การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน
เหตุผล คือ ในปัจจุบัน พบว่า ความต้องการเกี่ยวกับ
ตัวผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น แม้ว่าครั้งหนึ่งอาจจะมี การตอบ
สนองต่อการเรียนแบบท่องจำามาก แต่ในปัจจุบัน
สภาพชีวิตจริงต้องการบุคคลที่มีความสามารถในการ
ใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อการแก้ไข
ปัญหาที่ซับซ้อน ความหลากหลายในสังคม ทำาให้
แบบการเรียน (Learning Styles)พื้นฐาน
ประสบการณ์ที่แตกต่างกัน ความแตกต่างของวิถีชีวิต
ทำาให้ห้องเรียนในปัจจุบัน มีความหลากหลาย เป็น
เหตุที่ทำาให้เกิดปัญหาการเรียนรู้ที่ซับซ้อนสำาหรับครู
และผู้เรียน
3.การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เหตุผล คือ ในปัจจุบัน เทคโนโลยีเปิดโอกาสให้แต่ละ
บุคคลได้รับ รวบรวม วิเคราะห์และสื่อสารข้อมูลข่าวสาร
ได้อย่างละเอียดและรวดเร็ว เป็นผลทำาให้ความต้องการ
เกี่ยวกับการศึกษาเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนให้
ได้รับทักษะที่เพิ่มขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมในการ
วิเคราะห์ตัดสินใจ และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงได้
การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับ
สูง (Higher-order Thinking Skills) คือการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา การถ่ายโยงความรู้
โดยเน้น การใช้วิธีการต่างๆ เช่น สถานการณ์จำาลอง การ
ค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ ซึ่งผู้เรียน
จะได้รับประสบการณ์การแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับ
สภาพชีวิตจริง
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ คือ การ
จัดกระบวนการที่ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ โดยการจัดการเรียนรู้ให้
เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนแต่ละคน
ให้สามารถพัฒนาตนเองได้ ได้ลงมือศึกษาค้นคว้า
คิดปัญหา และปฏิบัติงานเพื่อสร้างความรู้ได้ด้วย
ตนเอง โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนจัด
สถานการณ์ให้เอื้อต่อการเรียนรู้
3.ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
ให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ
จากการวิเคราะห์วิธีการสอนของครูสมศรี ควรปรับ
วิธีการสอนดังนี้
1.ควรจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เพื่อไม่ให้ ผู้เรียน
เกิดครูผู้สอนฝ่ายเดียว
2.ควรดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เช่น
นอกจากการสอนแบบบรรยายอย่างเดียว อาจจะมามี
การถามตอบระหว่างการเรียนการสอน เพื่อให้เกิด
ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างครูกับนักเรียน
3.ควรจัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาสมกับกิจกรรม
มีสื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัย
4.ควรนำำภูมิปัญญำท้องถิ่น และเทคโนโลยีที่เหมำะสมมำ
ประยุกต์ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ เพรำะจะทำำให้ผู้
เรียนสำมรถเชื่อมโยงควำมรู้และประสบกำรณ์ได้
ทำำให้เกิดกำรเรียนรู้ จะช่วยให้นักเรียนจดจำำได้ดีกว่ำ
กำรบรรยำยอย่ำงเดียว
5.ควรจัดกระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำรกับวิชำอื่นๆ
หรือเหตุกำรณ์รอบตัว ให้ผู้เรียนนำำไปใช้ได้อย่ำง
สร้ำงสรรค์ และสำมำรถแก้ปัญหำในชีวิตได้จริง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาKetsadaporn
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Dekdee Hoptu
 
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Pacharatorn Jampeeprom
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCholthicha JaNg
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4Zhao Er
 
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาบทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาearnchaBU
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาน้อง โม
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701Autsa Maneeratana
 
เทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTเทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTWebsite_SEO _Boy
 
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2Kanlayanee Thongthab
 

Was ist angesagt? (18)

Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
611 thanyalak
611 thanyalak611 thanyalak
611 thanyalak
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Unit 4 innovation
Unit 4 innovationUnit 4 innovation
Unit 4 innovation
 
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาบทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
 
Tqa panisara
Tqa panisaraTqa panisara
Tqa panisara
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Pichetpong
PichetpongPichetpong
Pichetpong
 
sample
samplesample
sample
 
เทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTเทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBT
 
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
 

Ähnlich wie chapter 2 introduction to technologies and educational media

สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 
Chapter2 group
Chapter2 groupChapter2 group
Chapter2 groupRay Ruchi
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้าLALILA226
 
chapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologychapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologyPacharaporn087-3
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาnfilmean
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงThunyalak Thumphila
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 

Ähnlich wie chapter 2 introduction to technologies and educational media (20)

สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
1 chapter2
1 chapter21 chapter2
1 chapter2
 
Chapter2 group
Chapter2 groupChapter2 group
Chapter2 group
 
นวัตPpt ii
นวัตPpt iiนวัตPpt ii
นวัตPpt ii
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
 
chapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologychapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technology
 
Charpter 3
Charpter 3Charpter 3
Charpter 3
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลง
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational media
 

Mehr von Zhao Er

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10Zhao Er
 
งานภาษาจีนเมล์
งานภาษาจีนเมล์งานภาษาจีนเมล์
งานภาษาจีนเมล์Zhao Er
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8Zhao Er
 
CHAPTER 7
CHAPTER 7CHAPTER 7
CHAPTER 7Zhao Er
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5Zhao Er
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3 Zhao Er
 
Introduction to technologies and educational media Past 1
Introduction to technologies and educational media Past 1Introduction to technologies and educational media Past 1
Introduction to technologies and educational media Past 1Zhao Er
 

Mehr von Zhao Er (8)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
งานภาษาจีนเมล์
งานภาษาจีนเมล์งานภาษาจีนเมล์
งานภาษาจีนเมล์
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
CHAPTER 7
CHAPTER 7CHAPTER 7
CHAPTER 7
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
Introduction to technologies and educational media Past 1
Introduction to technologies and educational media Past 1Introduction to technologies and educational media Past 1
Introduction to technologies and educational media Past 1
 

chapter 2 introduction to technologies and educational media