SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
โครงงานประดิษฐ์
เรื่อง โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
(Floral foam from natural fiber)
นางสาว พิริยากร เวศกาวี ชั้นม. 5 ห้อง 654 เลขที่ 12
นางสาว สรัลพร โพนเวียง ชั้นม. 5 ห้อง 654 เลขที่ 14
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
นางทิพย์อาภา ศรีวรางกูล
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
บทที่ 1 ที่มาและความสาคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสาคัญ
รูปที่ 1 แสดงภาพภูเขาขยะ
ที่มา: https://www.google.co.th/search
รูปที่ 2 แสดงภาพขยะล้นเมือง
ที่มา: https://www.google.co.th/search
รูปที่ 3 แสดงภาพอาหารสัตว์
ที่มา: https://www.google.co.th/search
รูปที่ 4 แสดงภาพปุ๋ยหมัก
ที่มา: https://www.google.co.th/search
รูปที่ 5 แสดงภาพถ่านแกลบ
ที่มา: https://www.google.co.th/search
รูปที่ 6 แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้จากขี้เลื่อย
ที่มา: https://www.google.co.th/search
รูปที่ 7 แสดงภาพซังข้าวโพด ขี้เลื่อย แกลบตามลาดับ
ที่มา: https://www.google.co.th/search
ข้อมูลจากสานักสิ่งแวดล้อม
กรุงเทพมหานครรายงานว่า
ปี 2555 มีขยะอันตราย
ประมาณ 4.71 ล้านตันต่อปี
ปัญหาขยะมูลฝอย ด้านการเกษตร
บางส่วนนามาเป็นปุ๋ยหมัก
เพื่อนาไปใช้ด้านการเกษตร
บางส่วนนาไปทาเป็นอาหาร
ของสัตว์
การนาไปใช้ประโยชน์
บางส่วนมีการนามาใช้
ประโยชน์ในการนามาทาเป็น
เชื้อเพลิง เพื่อทาเป็นพลังงาน
ทดแทน รวมถึงโอเอซิส
วัสดุธรรมชาติ
จากการศึกษางานวิจัยพบว่าซัง
ข้าวโพดมีรูพรุนสามารถรักษา
ความชื้นได้ ทั้งนี้ยังมีแกลบดา และ
ขี้เลื้อย มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน
คณะผู้จัดทาจึงทาโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ (floral foam) ขึ้นเพื่อลดปริมาณเศษวัสดุ
เหลือที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งนี้สามารถเพิ่มรายได้ให้กับตัวเอง ชุมชน และประเทศอีกด้วย
เพื่อผลิตโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ที่มีคุณสมบัติในการรักษาความชื้นและคงสภาพ
ของดอกไม้
เพื่อศึกษาสมบัติของเส้นใยธรรมชาติที่เหมาะกับการนา
ทาโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นและคงสภาพ
ของดอกไม้ของเส้นใยวัสดุธรรมชาติในการทาโฟมจัดดอกไม้
วัตถุประสงค์
การศึกษาคุณสมบัติในการคง
สภาพของดอกไม้เเละการรักษาค่าความชื้น
ของโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ขอบเขตการศึกษา
การศึกษาเส้นใยธรรมชาติโดย
ศึกษาเส้นใยของซังข้าวโพด แกลบ
และขี้เลื่อย
การศึกษาโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใย
วัสดุธรรมชาติ ณ ห้องโครงงานวิทยาศาสตร์
ตึกศิลปะ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รูปที่ 8 แสดงภาพการทาโครงงาน ณ ห้องโครงงานวิทยาศาสตร์
สมมติฐานโครงงาน
ตอนที่ 1 การศึกษาคุณสมบัติของวัสดุที่นามาทาเป็นโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ถ้าเส้นใยวัสดุธรรมชาติสามารถนามาผลิตเป็นโฟมจัดดอกไม้ได้แล้วโฟมจัดดอกไม้จากเส้น
ใยวัสดุธรรมชาติจากซังข้าวโพดจะมีคุณสมบัติในการรักษาความชื้นดีกว่าโฟมจัดดอกไม้จาก
วัสดุธรรมชาติอื่น
ตอนที่ 2 การศึกษาอัตราส่วนให้เหมาะสมกับการทาโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ถ้าเส้นใยวัสดุธรรมชาติสามารถนามาผลิตเป็นโฟมจัดดอกไม้ได้แล้ว โฟมจัดดอกไม้จากเส้น
ใยวัสดุธรรมชาติจากซังข้าวโพดต่อขี้เลื่อยในอัตราส่วน 70 : 30 สามารถนามาผลิตเป็นโฟมจัดดอกไม้
จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติที่มีคุณสมบัติในการรักษาความชื้นดีกว่าโฟมจัดดอกไม้ในอัตราส่วนอื่นๆ
ตอนที่ 3 การคงสภาพของดอกไม้บนโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ถ้าเส้นใยวัสดุธรรมชาติจากซังข้าวโพดต่อขี้เลื่อยในอัตราส่วน 70 : 30 สามารถนามาผลิต
เป็นโฟมจัดดอกไม้ได้แล้ว โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติจะสามารถคงสภาพของดอกไม้
บนโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติได้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 1 การศึกษาคุณสมบัติของวัสดุที่นามา
ทาเป็นโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรต้น: ชนิดของเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรตาม: ค่าความชื้นของโฟมจัดดอกไม้
ตัวแปรควบคุม: ขนาดของโฟม, สถานที่ทดลอง,
ระยะเวลา, พันธุ์ข้าวโพด, ปริมาณตัวประสาน,
ปริมาณน้า, เครื่องวัดความชื้น
รูปที่ 9 แสดงภาพเครื่องมือตรวจวัดความชื้น
ถ่ายภาพโดย นาย ศุภศักดิ์ เวศกาวี
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 2 การศึกษาอัตราส่วนให้เหมาะสมกับ
การทาโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรต้น: อัตราส่วนของเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรตาม: ค่าความชื้นของโฟมจัดดอกไม้
ตัวแปรควบคุม: ขนาดของโฟม, สถานที่ทดลอง,
ระยะเวลา, พันธุ์ข้าวโพด, ปริมาณตัวประสาน,
ปริมาณน้า, เครื่องวัดความชื้น
รูปที่ 10 แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ถ่ายภาพโดย นางสาว พิริยากร เวศกาวี
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 3 การคงสภาพของดอกไม้บนโฟมจัด
ดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรต้น: การคงสภาพของดอกไม้ในระยะเวลาที่
เเตกต่างกัน
ตัวแปรตาม: สภาพของดอกไม้ที่อยู่บนโฟมจัดดอกไม้จาก
เส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรควบคุม: ขนาดของโฟม, สถานที่ทดลอง,
ปริมาณน้า , ดอกกุหลาบสายพันธุ์แกรนดิฟลอร่า
รูปที่ 11 แสดงภาพดอกกุหลาบบนโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ถ่ายภาพโดย นางสาว สรัลพร โพนเวียง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ลดปัญหาการทิ้งโฟมจัดดอกไม้จาก
เส้นใยสังเคราะห์ทางเคมีซึ่งเป็นสารสังเคราะห์
ที่เป็นอันตรายและตกค้างในสิ่งแวดล้อม
นาโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
ไปประยุกต์ใช้แทนแจกันดอกไม้ หรือกระถางดอกไม้
เพื่อตกแต่งสถานที่ต่างๆ
ได้ผลิตภัณฑ์โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติที่มี
ประสิทธิภาพ ประหยัดต้นทุน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมกว่าโฟมจัดดอกไม้
จากวัสดุสังเคราะห์ทางเคมี
นิยามเชิงปฏิบัติการ
ซังข้าวโพด ได้จากการ
สีข้าวโพดเพื่อนาเมล็ด
ออก มีลักษณะแห้ง สี
ขาวเหลือง บีบแล้วแข็ง
หักยาก
รูปที่ 13 แสดงขี้เลื่อย
ที่มา: https://www.google.co.th/search
รูปที่ 12 แสดงภาพซังข้าวโพด
ที่มา: https://www.google.co.th/search
ขี้เลื่อย หมายถึง ผงไม้
ละเอียดที่ได้จากการเลื่อยไม้
ลักษณะเป็นเปลือกข้าวแห้ง
ฟีบ ไม่แข็ง ร่วนติดมือ
แกลบ หมายถึง เปลือกแข็งของเมล็ดข้าว
ที่ได้จากการสีข้าว สีเหลืองอมน้าตาล
หรือสีเหลือง เมล็ดฟีบ ไม่เต่งตึง
รูปที่ 14 แสดงภาพแกลบ
ที่มา: https://www.google.co.th/search
นิยามเชิงปฏิบัติการ
ประสิทธิในการเก็บรักษาความชื้น
หมายถึง เมื่อสัมผัสด้วยนิ้วมือแล้วรู้สึก
ชื้นหรือเปียก หรือสามารถวัดปริมาณ
ความชื้นด้วยเครื่องวัดความชื้นแล้วมี
ค่าความชื้นอยู่ในเกณฑ์ moist ถึง
wet ( 4 – 10 )
ประสิทธิในการคงสภาพของดอกไม้
หมายถึง ดอกไม้มีสีดั่งเดิม โดยไม่มีสี
น้าตาลอ่อนถึงน้าตาลเข้ม กลีบดอก
ฐานรองดอกไม่เหี่ยวเฉา ก้านมีสีเขียว
ไม่แห้งหรือกลายเป็นสีน้าตาลแข็ง
เเถบสีมาตรฐาน หมายถึง
เเถบสีที่ใช้ในการอ้างอิง
การเสื่อมสภาพ
รูปที่ 15 แสดงภาพแถบสีมาตรฐาน
ที่มา: https://www.google.co.th/search
นิยามเชิงปฏิบัติการ
แป้งมันสาปะหลัง เป็นแป้งที่ได้
จากมันสาปะหลัง ลักษณะของ
แป้งมีสีขาว เนื้อเนียน ลื่นเป็นมัน
เมื่อทาให้สุกด้วยการกวนกับน้า
ไฟอ่อนปานกลาง แป้งจะสุกง่าย
เหนียวติดภาชนะ
รูปที่ 16 แสดงแป้งมันสาปะหลังผสมน้า
ถ่ายภาพโดย นางสาว สรัลพร โพนเวียง
ดอกกุหลาบ เป็นดอกไม้
ชนิดหนึ่งที่มีกลีบซอนกันเป็น
ชั้นๆ มีสีสันสวยงาม ใบหยัก
เหลี่ยม สัมผัสสากเล็กน้อย
และมีหนามบริเวณก้านดอก
รูปที่ 17 แสดงภาพกุหลาบ
ที่มา: https://www.google.co.th/search
โฟมจัดดอกไม้ หมายถึง
วัสดุที่มีลักษณะเป็นก้อนสี่เหลี่ยม
สีเขียวหรือสีน้าตาล เนื้อหยาบ
แห้ง เมื่อกดด้วยนิ้วแล้วไม่คืน
สภาพเดิม เมื่ออุ้มน้าจะหนักขึ้น
หลายเท่า รูปที่ 18 แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยสังเคราะห์
ที่มา: https://www.google.co.th/search
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โฟมจัดดอกไม้ส่วนมากถูกสร้างขึ้นจาก
พลาสติกซึ่งไม่สามารถย่อยสลายได้เองตาม
ธรรมชาติ เพราะมีส่วนประกอบอย่างเช่น
Formaldehyde, Carbonblack,
Proprietarty Acid Catalysts,
Proprietarty Sulfactant and
Barium Sulfate ซึ่งสองตัวแรกรู้จักกัน
ในชื่อ carcinogenic.
โฟมจัดดอกไม้
รูปที่ 19 แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้
ที่มา: https://www.google.co.th/search
โฟม หรือโฟมพลาสติก คือ พลาสติก
ที่นามาผ่านกระบวนการขึ้นรูปโดยใช้สาร
ช่วยการขยายตัว (blowing agent)
เพื่อให้พลาสติกมีลักษณะฟูและเบา โดย
โฟมจะสามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตาม
วัสดุที่ใช้ในการผลิตโฟม คือ
Polystyrene, Polyethylene
และ Polyurethane โฟมที่มีการ
นามาใช้งานกันมากมักจะทามาจาก
พอลิสไตรีน
โฟมพลาสติก
รูปที่ 20 แสดงภาพโฟมพลาสติก
ที่มา: https://www.google.co.th/search
ขี้เลื่อย
ผลพลอยได้จากการเลื่อยไม้ มีลักษณะเป็นผงไม้ละเอียด เป็น
ของเสียในโรงงานที่เป็นพิษ โดยเฉพาะการทาให้เกิดอาการอักเสบ
ขี้เลื่อยมีสารอินทรีย์เป็นองค์ประกอบจานวนมาก ที่มีหมู่โพลีฟี
นอลซึ่งสามารถจับกับโลหะหนักได้ด้วยกลไกต่างกัน
ตัวอย่างเช่น ขี้เลื่อยจากต้นพอบลาร์และต้นเฟอร์ที่ทาปฏิกิริยา
กับโซเดียมไฮดรอกไซด์และโซเดียมคาร์บอเนต ดูดซับทองแดง
และสังกะสีได้ดี ขี้เลื่อยจากต้นมะพร้าวที่ทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟู
ริกดูดซับนิกเกิลและปรอทได้
รูปที่ 21 แสดงภาพขี้เลื่อย
ที่มา: https://www.google.co.th/search
แกลบ
รูปที่ 22 แสดงภาพแกลบ
ที่มา:https://th.wikipedia.org
เปลือกแข็งของเมล็ดข้าวที่ได้จากการสีข้าว เป็น
ส่วนที่เหลือใช้จากการผลิตข้าวสาร เมล็ดมีลักษณะ
เป็นรูปทรงรี เม็ดยาวสีเหลืองอมน้าตาล หรือเหลือง
แกลบประกอบด้วยเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ลิกนิน
และเถ้า และมีซิลิกาในเถ้ามาก แกลบไม่ละลายใน
น้า มีความคงตัวทางเคมี ทนทานต่อแรงกระทา จึง
เป็นตัวดูดซับที่ดีในการบาบัดน้าเสียที่มีโลหะหนัก
ซังข้าวโพด
ซังข้าวโพด เป็นส่วนหนึ่งของข้าวโพดที่เหลือจากการสีเมล็ดข้าวโพดออกไป
เมื่อก่อนเกษตรกรจะไม่ได้ใช้ประโยชน์จากซังข้าวโพด บางรายทิ้งให้ย่อยสลาย
หรือในบางรายก็นามาเผาทิ้งเพื่อเตรียมพื้นที่ปลูกในฤดูกาลถัดไป
"สารกันรา" เป็นกรดอินทรีย์มีลักษณะ
เป็นผลึกสีขาวที่มีคุณสมบัติยับยั้งการ
เจริญเติบโตของจุลินทรีย์ได้ดี ด้วยคุณสมบัติ
ดังกล่าวสารกันราจึงถูกนามาดัดแปลงและ
ผสมลงในเครื่องสาอางเพื่อยืดอายุการใช้งาน
อย่างไรก็ตามกระทรวงสาธารณสุขได้ออก
ประกาศสั่งห้ามไม่ให้ผสมสารกันราลงใน
อาหารโดยเด็ดขาด เพราะสารกันราเป็นสารที่
เป็นอันตรายต่อระบบย่อยอาหารของมนุษย์
รูปที่ 23 แสดงภาพสารกันรา
ถ่ายภาพโดย นางสาว พิริยากร เวศกาวี
สารกันรา
สารเคมีหรือของผสม ของสารเคมีที่ใช้
ในการถนอมอาหาร โดยอาจจะใส่ลงในอาหาร
พ่น- ฉาบรอบๆผิวของอาหารหรือภาชนะ บรรจุ
สารดังกล่าวจะทาหน้าที่ยับยั้ง หรือทาลายจุลินทรีย์
ที่ทาให้อาหาร เน่าเสียโดยอาจจะไปออกฤทธิ์ต่อ
ผนังเซลล์รบกวนการทางานของ เอนไซม์หรือกลไก
ทางพันธุกรรม (genetic mechanism)
ในเซลล์ ยังผลให้จุลินทรีย์ไม่สามารถเพิ่ม จานวนได้
หรือตายในที่สุด
สารกันบูด
รูปที่ 24 แสดงภาพสารกันบูด
ถ่ายภาพโดย นางสาว พิริยากร เวศกาวี
ค่าความชื้นในดิน
รูปที่ 25 แสดงภาพเครื่องวัดความชื้น ถ่ายภาพโดย นาย ศุภศักดิ์ เวศกาวี
ตารางแสดงค่าความชื้นในดิน ที่มา: https://www.google.co.th/search
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยโอเอซิสจากขี้เลื่อย
งานวิจัยโอเอซิสจากขี้เลื่อย มีวัตถุประสงค์เพื่อ
เปรียบเทียบการอุ้มน้าของโอเอซิสจากขี้เลื่อยและ โอเอซิส
จากท้องตลาดและเพื่อเปรียบเทียบความสดของดอกไม้ที่ปัก
ในโอเอซิสที่จาหน่ายตามท้องตลาดกับ โอเอซิสที่ทาจาก
ขี้เลื่อย
การศึกษาพบว่า โอเอซิสจากท้องตลาดอุ้มน้าได้
ดีกว่าโอเอซิสจากขี้เลื่อย และ ดอกไม้ที่ปักบนโอเอซิสที่ทา
จากขี้เลื่อย มีความสดเท่ากับดอกไม้ที่ปักบนโอเอซิสจาก
ท้องตลาด (ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภออาเภอจุน, 2554 : ออนไลน์)
รูปที่ 26 แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้จากขี้เลื่อย
ที่มา: https://www.google.co.th/search
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยการศึกษาเส้นใยจากธรรมชาติ และตัวประสานที่มี
ประสิทธิภาพในการดูดซับน้าของโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติ
งานวิจัยการศึกษาเส้นใยจากธรรมชาติ และตัวประสานที่มี
ประสิทธิภาพในการดูดซับน้าของโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติ
คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลพบว่า ซังข้าวโพด เปลือกส้มโอและ
ตอซังข้าว มีคุณสมบัติในการดูดซับน้าได้ดีนามาทาเป็นโอเอซิส โดย
การหาประสิทธิภาพการดูดซับน้าที่ดีที่สุด พบว่าวัสดุธรรมชาติที่มี
คุณสมบัติในการดูดซับน้าได้ดีที่สุดคือซังข้าวโพด ซึ่งซังข้าวโพด 50
กรัม สามารถดูดซับน้าได้ 123.88 mL ซึ่งมากกว่าเปลือกส้มโอและ
ตอซังข้าว และทาให้ทราบว่าซังข้าวโพดสามารถดูดซับน้าได้ดีที่สุด
เพราะมีคุณสมบัติในการดูดซับน้าและอุ้มน้าได้ดี (โรงเรียนจุฬาภรณ์
ราชวิทยาลัยพิษณุโลก, 2554 : ออนไลน์)
บทที่ 3 การดาเนินโครงงาน
วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี
วัสดุ
รูปที่ 27 - 34 แสดงภาพวัสดุที่ใช้ในการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง และ นางสาวพิริยากร เวศกาวี
แสดงภาพขี้เลื่อย100 กรัม
แสดงภาพซังข้าวโพด 100 กรัม
แสดงภาพแกลบ100 กรัม
รูปที่แสดงภาพน้า 135 กรัม
แสดงภาพดอกกุหลาบ3 ดอก
แสดงภาพแป้งมันสาปะหลัง 125 กรัม
วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี
อุปกรณ์
รูปที่ 35 - 45 แสดงภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง และ นางสาวพิริยากร เวศกาวี
แสดงภาพเครื่องปั่นไฟฟ้า แสดงภาพถาดอะลูมิเนียม
แสดงภาพเครื่องวัดความชื้น
แสดงภาพแก้วน้ากระดาษ
แสดงภาพเครื่องซีลถุงพลาสติก
แสดงภาพอิฐ
แสดงภาพถังน้าสาหรับแช่ดอกไม้
แสดงภาพถุงพลาสติก
แสดงภาพเครื่องชั่งดิจิตอล
แสดงภาพถุงมือยาง
แสดงภาพกระดาษทิชชู่
วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี
สารเคมี
รูปที่ 46 - 47 แสดงภาพสารเคมีที่ใช้ในการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
แสดงภาพสารกันบูดโดยใช้1 กรัมแสดงภาพสารกันรา โดยใช้3 กรัม
ขั้นตอนวิธีการดาเนินงาน
ตอนที่ 1 ศึกษาคุณสมบัติของเส้นใยซังข้าวโพด แกลบ และขี้เลื้อย ที่จะนามาประดิษฐ์เป็น
โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใย วัสดุธรรมชาติโดยการทดสอบหาวัสดุที่รักษาความชื้นได้ดีที่สุด
รูปที่ 48 - 54 แสดงภาพสารเคมีที่ใช้ในการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
แสดงภาพการใช้อิฐทุบซังข้าวโพด
แสดงภาพการปั่นแกลบ
แสดงภาพการปั่นซังข้าวโพดแสดงภาพซังข้าวโพด
แสดงภาพแกลบ แสดงภาพการผสมกาวแป้งเปียก แสดงภาพการทากาวแป้งเปียก
ขั้นตอนวิธีการดาเนินงาน
ตอนที่ 1 ศึกษาคุณสมบัติของเส้นใยซังข้าวโพด แกลบ และขี้เลื้อย ที่จะนามาประดิษฐ์เป็น
โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใย วัสดุธรรมชาติโดยการทดสอบหาวัสดุที่รักษาความชื้นได้ดีที่สุด
รูปที่ 55 - 63 แสดงภาพการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวพิริยากร เวศกาวี
แสดงภาพการชั่งสารเคมี
แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้จากแกลบ ขี้เลื่อย และซังข้าวโพดในร้อยละ100
แสดงภาพการอัดขึ้นรูปและชั่งน้าหนักแสดงภาพการเตรียมทาโฟมจัดดอกไม้
แสดงภาพการตากโฟมจัดดอกไม้และการแช่น้า
แสดงภาพการผสมส่วนผสมทั้งหมด
ขั้นตอนวิธีการดาเนินงาน
ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของโฟมจัดดอกไม้โดยการทดสอบปริมาณความชื้นโดยทดสอบระหว่าง
โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติที่ดีที่สุดต่อเส้นใยวัสดุธรรมชาติตัวอื่นๆ ในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน
รูปที่ 64 - 70 แสดงภาพการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาว พิริยากร เวศกาวี
แสดงภาพการใช้อิฐทุบซังข้าวโพด
แสดงภาพการปั่นแกลบ
แสดงภาพการปั่นซังข้าวโพดแสดงภาพซังข้าวโพด
แสดงภาพแกลบ แสดงภาพการผสมกาวแป้งเปียก แสดงภาพการทากาวแป้งเปียก
ขั้นตอนวิธีการดาเนินงาน
ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของโฟมจัดดอกไม้โดยการทดสอบปริมาณความชื้นโดยทดสอบระหว่าง
โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติที่ดีที่สุดต่อเส้นใยวัสดุธรรมชาติตัวอื่นๆ ในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน
รูปที่ 71 - 78 แสดงภาพการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวพิริยากร เวศกาวี
แสดงภาพการชั่งวัสดุในอัตราส่วนต่างๆ
แสดงภาพการชั่งน้าหนัก
แสดงภาพการอัดขึ้นรูปแสดงภาพผสมสารเคมีกับกาวแป้งเปียก
แสดงโฟมจัดดอกไม้จากแกลบกับขี้เลื่อยและแกลบกับซังข้าวโพดในอัตราส่วนต่างๆ แสดงภาพการตากต้างคืน
แสดงภาพการชั่งสารเคมี
ขั้นตอนวิธีการดาเนินงาน
ตอนที่ 3 ศึกษาประสิทธิภาพการคงสภาพของดอกไม้บนโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
รูปที่ 79 – 87 แสดงภาพการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวพิริยากร เวศกาวี
แสดงภาพดอกกุหลาบ
แสดงภาพดอกกุหลาบ
แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้จากแกลบและ
ซังข้าวโพด ในอัตราส่วน 80:20
แสดงภาพการบันทึกผล
แสดงภาพดอกกุหลาบตัดใบ
แสดงภาพดอกกุหลาบตัดก้าน
และนับจานวนกลีบเรียบร้อย
แสดงภาพการแช่โฟมจัดดอกไม้
แสดงภาพดอกกุหลาบบนโฟมจัดดอกไม้ในวัสดุต่างๆ
ตารางปฏิบัติงาน
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
1.การเลือกโครงงาน
̸
2.การเขียนเค้าโครงโครงงาน
̸ ̸
3.การลงมือทา
̸ ̸ ̸ ̸
4.การเขียนรายงานผล
̸ ̸ ̸
5.การนาเสนอโครงงาน
̸ ̸
ตารางแสดงการวางแผนการปฏิบัติงาน
บทที่ 4 ผลการทดลอง
ผลการทดลอง
ตารางที่ 1 เเสดงคุณสมบัติของเส้นใยซังข้าวโพด แกลบ และขี้เลื้อย ที่จะนามา
ประดิษฐ์เป็นโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติโดยการทดสอบหาวัสดุที่รักษาความชื้น
ได้ดีที่สุด
หมายเหตุ * ค่าความชื้นบอกเป็นระดับ
ชนิดของวัสดุธรรมชาติ
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
น้าหนัก (g) ค่าความชื้น น้าหนัก (g) ค่าความชื้น
ซังข้าวโพด 294 1 357 8
เเกลบ 324 1 369 8.5
ขี้เลื่อย 308 2 364 8
ขี้เลื่อย 100%
ซังข้าวโพด100%
แกลบ 100%
รูปที่ 88 - 96 แสดงภาพการเก็บผลการทดลองตอนที่ 1 ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
7.6 7.8 8 8.2 8.4 8.6
ขี้เลื่อย
ซังข้าวโพด
แกลบ
ตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าความชื้นระหว่างโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติ
แต่ละชนิดในร้อยละ 100
ค่าความชื้น
ชนิดเส้นใย
วัสดุธรรมชาติ (100%)
ค่าความชื้น (ระดับ)
อัตราส่วนวัสดุ
ธรรมชาติ
วัสดุธรรมชาติ
เเกลบกับซังข้าวโพด เเกลบกับขี้เลื่อย
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
น้าหนัก
(g)
ค่าความชื้น
*
น้าหนัก
(g)
ค่าความชื้น
*
น้าหนัก
(g)
ค่าความชื้น
*
น้าหนัก
(g)
ค่าความชื้น
*
80 : 20 314 1 360 8.5 323 1 378 8.5
70 : 30 307 1 353 8.5 331 1 368 7.5
60 : 40 286 1 329 8 337 2 379 6.5
หมายเหตุ * ค่าความชื้นบอกเป็นระดับ
ตารางที่ 2 แสดงประสิทธิภาพของโฟมจัดดอกไม้โดยการทดสอบปริมาณความชื้นโดยทดสอบระหว่าง
โฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติที่ดีที่สุดต่อเส้นใยวัสดุธรรมชาติตัวอื่นๆ ในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน
แกลบต่อขี้เลื่อย 60:40
แกลบต่อซังข้าวโพด60:40
แกลบต่อขี้เลื่อย 70:30
แกลบต่อซังข้าวโพด 70:30
แกลบต่อขี้เลื่อย 80:20
แกลบต่อซังข้าวโพด 80:20
รูปที่ 97 - 108 แสดงภาพการเก็บผลการทดลองตอนที่ 2 ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
0 2 4 6 8 10
แกลบต่อขี้เลื่อย 60:40
แกลบต่อขี้เลื่อย 70:30
แกลบต่อขี้เลื่อย 80:20
แกลบต่อซังข้าวโพด 60:40
แกลบต่อซังข้าวโพด 70:30
แกลบต่อซังข้าวโพด 80:20
ตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าความชื้นระหว่างโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใย
วัสดุธรรมชาติแต่ละชนิดในอัตราส่วนต่างๆ
ค่าความชื้น
ชนิดเส้นใย
วัสดุธรรมชาติในอัตราส่วนต่างๆ
ค่าความชื้น (ระดับ)
ตารางที่ 3 แสดงประสิทธิภาพการคงสภาพของ
ดอกไม้บนโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยธรรมชาติ
โฟมจัดดอกไม้
แกลบกับซังข้าวโพด
ในอัตราส่วน 80:20
เส้นใยสังเคราะห์
ระยะเวลา ลักษะดอกไม้ แถบสีมาตรฐาน ลักษะดอกไม้ แถบสีมาตรฐาน
6 ชม
กลีบดอกซ้อนชิดติดกัน
มีรอยสีน้าตาลเล็กน้อย
แทบมองไม่เห็น
1.5
กลีบดอกซ้อนชิดติดกัน
มีรอยสีน้าตาลเล็กน้อย
บริเวณปลายกลีบ
2.0
12 ชม
กลีบดอกเริ่มคลายออก
จากกัน รอยสีน้าตาล
ชัดเจนขึ้นตามปลายกลีบ
2.5
กลีบดอกเริ่มคลายออก
จากกัน รอยสีน้าตาล
ชัดเจนขึ้นตามปลายกลีบ
2.5
18 ชม
กลีบดอกคลายออก
ชัดเจน รอยสีน้าตาล
ชัดเจนขึ้นตามปลายกลีบ
และกลางกลีบ สีเข้มขึ้น
3.5
กลีบดอกคลายออกชัดเจน
รอยสีน้าตาลเท่าเดิม ตาม
ปลายกลีบ
3.0
24 ชม
กลีบดอกคลายออก
ชัดเจน คล้ายจะโรย รอย
สีน้าตาลชัดเจนมากขึ้น
3.5
กลีบดอกคลายมากขึ้น
รอยสีน้าตาลชัดเจนมาก
ขึ้นตามกลางกลีบดอก 3.5
รูปที่ 109 - 114 แสดงภาพการทดลองตอนที่ 3 เวลา 6 ชม. และ 24 ชม. ถ่ายภาพโดย นางสาว สรัลพร โพยนเวียง
ตัวควบคุม เส้นใยวัสดุธรรมชาติ เส้นใยวัสดุสังเคราะห์
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
0 ชม 6 ชม 12 ชม 18 ชม 24 ชม
เส้นใยแกลบต่อซังข้าวโพด
70:30
เส้นใยวัสดุสังเคราะห์
เวลา (ชั่วโมง)
โฟมจัดดอกไม้
กราฟเส้นแสดงการเปรียบเทียบค่าแถบสีมาตราฐานระหว่างโฟมจัดดอกไม้
จากเส้นใยวัสดุธรรมชาติกับโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยวัสดุสังเคราะห์
80 : 20
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผล
จากการศึกษาคุณสมบัติของเส้นใยวัสดุธรรมชาติ พบ
ว่าโฟมจัดดอกไม้จากเส้ยใยแกลบเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติในการ
รักษาความชื้นได้ดีที่สุด
จากการศึกษาประสิทธิภาพของโฟมจัดดอกไม้จากเส้น
ใยวัสดุธรรมชาติโดยการทดสอบปริมาณความชื้นพบว่าวัสดุแกลบ
ต่อซังข้าวโพดในอัตราส่วน 80 ต่อ 20 มีประสิทธิภาพในการ
รักษาความชื้นดีที่สุด
จากการศึกษาประสิทธิภาพการคงสภาพของดอกไม้
บนโฟมจัดดอกไม้จากเส้นใยธรรมชาติ พบว่าสามารถคงสภาพ
ดอกกุหลาบได้เป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง
ข้อเสนอแนะ
ใช้เครื่องบดแทนอิฐเพื่อความสะดวกในการทดลอง
เนื่องจากซังข้าวโพดมีความแข็งทาให้ยากต่อการ
ปั่นละเอียด อาจทาให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน
ประสิทธิภาพในการดูดซับน้าของวัสดุไม่เต็มที่
ใช้เศษวัสดุเหลือชนิดอื่นนอกเหนือจาก
ซังข้าวโพด แกลบ และขี้เลื่อย
ใช้แป้งข้าวเหนียวแทนแป้งมันสาปะหลัง
เนื่องจากแป้งมันสาปะหลังจะสูญเสียคุณสมบัติ
การเป็นกาวที่อุณหภูมิห้อง ยากต่อการผสมเศษ
วัสดุ ควรใช้กาวแป้งเปียกจากแป้งข้าวเหนียวที่คง
คุณสมบัติการเป็นกาวได้นานกว่าแทน
บรรณานุกรม
kathangtonmih.2556. “กาวแป้งเปียก”. ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://kathangtonmih. wordpress.com (29 พฤษภาคม
2561).
krunet.2556. “กาวธรรมชาติ”. ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/skku 01_1.htm
(29 พฤษภาคม 2561).
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภออาเภอจุน.2554.
“โอเอซิสจากขี้เลื่อย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://lpsci.nfe.go.th/lpsci/ attachments
/184_aa002.pdf (29 พฤษภาคม 2561).
โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัยพิษณุโลก.2554. “ศึกษาเส้นใยจากธรรมชาติ
และตัวประสาน ที่มีประสิทธิภาพในการดูดซับน้าของโอเอซิสจากวัสดุ
ธรรมชาติ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.pccpl.ac.th/~sci/research /research2554/
20.pdf (29 พฤษภาคม 2561).
บรรณานุกรม
เดลินิวส์.2561. “ซังข้าวโพด”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://www.msn.com/th-th/lifestyle/daily-roundup
(29 พฤษภาคม 2561).
โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว.2561. “พันธุ์ข้าวโพด”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?b
ook=3&chap=2&page=t3-2-infodetail09.html (29
พฤษภาคม 2561).
เว็บเพื่อพืชเกษตรไทย.2561. “แกลบดา”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://puechkaset.com (29 พฤษภาคม 2561).
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.2556. “เทาน้า”. [ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://biology.ipst.ac.th/?p=971 (29
พฤษภาคม 2561).
บรรณานุกรม
Floraldesigns.ru.2554. “ฟองน้าลอรัลโอเอซิส”. [ระบบออนไลน์].
แหล่งที่มา http://floraldesigns.ru/floral/thai/tendencii
_sovremennoi _floristiki/floristicheskaya_gubka_
oazis.html (29 พฤษภาคม 2561).
ศุภเจตน์ ผ่องใส.2547. “การเตรียมลิกโนซัลโฟเนตจากลิกนินในน้าดาของ
กระบวนการผลิตเยื่อกระดาษแบบคราฟต์จากไม้ยูคาลิปตัส”. [ระบบออนไลน์].
แหล่งที่มา http://www.thaithesis.org/detail.php?id=1082
547000951 (30 ตุลาคม 2561).
หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติ
ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย.2551. “โพลีสไตรีน”. [ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.chemtrack.org/News-
etail.asp?TID=4&ID=11 (29 พฤษภาคม 2561).
ภาคผนวก
รูปที่ 115 - 118 แสดงภาพการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาว สรัลพร โพยนเวียง
แสดงภาพแกลบดา
แสดงภาพซังข้าวโพด
แสดงภาพลิกโนซัลโฟเนต
รูปที่ 119 - 124 แสดงภาพสารเคมีที่ใช้ในการทดลองและการทดลอง ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
แสดงภาพกาวแป้งเปียก
แสดงภาพชั่งลิกโนซัลโฟเนต
แสดงภาพแช่โฟมจัดดอกไม้
แสดงภาพลิตโนซัลโฟเนต
แสดงภาพผสมวัสดุ
รูปที่ 125 - 128 แสดงภาพการทดสอบตัวประสาน ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
แสดงภาพขี้เลื่อยผสมกับตัวประสานในอัตราส่วนต่างๆ แสดงภาพโฟมจัดดอกไม้เมื่อระยะเวลาผ่านไป 6 ชั่วโมง
เริ่มปัก 6 ชั่วโมง
48 ชั่วโมง
รูปที่ 129 - 132 แสดงภาพการทดลองด้วยดอกเบญจมาศ ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
รูปที่ 133 - 135 แสดงภาพการทดลองด้วยดอกกุหลาบ ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
แสดงภาพกุหลาบที่ปักบน
โอเอซิสตามท้องตลาด
แสดงภาพดอกกุหลาบที่ปักบนโฟมจัดดอกไม้
จากเส้นใยซังโพดต่อขี้เลื่อยในอัตราส่วน 70 :30
รูปที่ 136 - 141 แสดงภาพการใช้ยากันเชื้อรา การขึ้นราและการเน่าบูด ถ่ายภาพโดย นางสาวสรัลพร โพนเวียง
แสดงภาพยากันรา
แสดงภาพราที่ขึ้นบนโฟมจัดดอกไม้บนเส้นใยต่างๆ
รูปที่ 142 - 145 แสดงภาพการปรึกษาโครงงาน ถ่ายภาพโดย นางสาว พิริยากร เวศกาวี
Thank you
นางสาว พิริยากร เวศกาวี ชั้นม. 5 ห้อง 654 เลขที่ 12
นางสาว สรัลพร โพนเวียง ชั้นม. 5 ห้อง 654 เลขที่ 14
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

More Related Content

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 

Pptgst uprojectflower61