SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
รายวิชาชีววิทยา 6 (ว 30246)ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
นางสาว ณฐพร เอกฉันท์ ม.6 ห้อง 126 เลขที่ 5
นางสาว ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง ม.6 ห้อง 126 เลขที่ 22
นางสาว ศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ ม.6 ห้อง 126 เลขที่ 23
คณะผู้จัดทาได้จัดทารายงานฉบับนี้ขึ้นเพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งใน
รายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับตัวอย่าง
พืชที่อยู่ในวงศ์ RUBIACEAE ได้แก่ กว้าว กระทุ่ม กาแฟอาราบิก้า เข็ม
ป่า คามอกหลวง ตะลุมพุก ยอบ้าน ยอเบี้ย และหนามแท่ง
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่
สนใจต่อไป
คณะผู้จัดทา
9/1/2561
 กว้าว 1
 กระทุ่ม 3
 กาแฟอาราบิก้า 5
 เข็มป่า 7
 คามอกหลวง 9
 ตะลุมพุก 11
 ยอบ้าน 13
 ยอเบี้ย 15
 หนามแท่ง 17
 ชื่อสามัญ : กว้าว
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale
 ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร ลา
ต้น ตรง เปลือกหนา เรียบ สีขาวอ่อนปนเทา โคนต้นมักเป็นพูพอน เรือนยอดเป็น
พุ่มกลม ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ติดตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ปลายกิ่ง ทรงรูปหัวใจ โคนใบ
โค้งกว้างหรือหยักเว้าเข้า หลังใบมีขนสากๆ ท้องใบขนสีเทานุ่ม ขอบใบเรียบ ดอก
เล็ก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อกลม ตามง่ามใบ
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 1
 ประโยชน์ / สรรพคุณ : เนื้อไม้สีเหลืองอ่อน ใช้ทาพื้นฝา
กรอบประตูหน้าต่าง ทาเครื่องเรือนและไม้บุผนัง ทาเรือ
ขุด แจว พาย เครื่องมือทางการเกษตร ครก สาก กระเดื่อง
ทางด้านสมุนไพร ใบ คั้นเอาน้าใส่แผลเพื่อฆ่าแบคทีเรียที่
ทาให้เกิดหนอนในแผล ราก ใช้ปรุงยา
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 2
 ชื่อสามัญ : กระทุ่ม
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Neonauclea sessilifolia (Roxb.)Merr
 ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 15-30 เมตร แตกกิ่ง
ก้านตั้งฉากกับลาต้น เปลือกรากมีสีดาอ่อนๆ ใบเป็นใบเดี่ยว ใบรูปรี ปลายใบเป็น
ติ่งแหลม โคนใบมน หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีขนหรือบางครั้งเกลี้ยง ดอก
ออกเป็นช่อกลมแน่น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยมีขนาดเล็ก สีเหลืองอ่อน มีกลิ่น
หอม กลีบดอกมี 5 กลีบอัดแน่นอยู่บนแกนช่อดอก ผลเป็นผลรวม รูปทรงกลม ผิว
ขรุขระ
ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 3
 ประโยชน์ / สรรพคุณ : ตารายา
ไทย ใช้ ใบและเปลือกต้น ลดความ
ดันโลหิต ต้มน้ากินแก้ไข้แก้ปวด
มดลูก แก้โรคลาไส้ และอมกลั้วคอ
แก้อาการอักเสบของเยื่อเมือกใน
ปาก ราก ฝนหรือต้มรับประทานเป็น
ยาเย็นดับพิษไข้ทั้งปวง แก้ตัวร้อน
ดับพิษตานซางของเด็ก ดับพิษวัณ
โรค ผล เป็นยาฝาดสมานแก้ท้องร่วง
ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 4
ชื่อสามัญ : กาแฟอาราบิก้า (Arabica Coffee)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Coffea arabica L.
ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มีรากแก้วและมีรากในแนวราบยาวประมาณ 1-2 ม.
เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 5 ม. โดยทรงต้นมีการแตกกิ่งแบบ 2 ข้าง
เท่ากัน ใบออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆโดยมีขนาดกว้างประมาณ 6 ซม. ดอกสีขาว เกิด
รอบข้อของกิ่ง ผลมีรูปร่างกลมคล้ายไข่ มีเปลือกและเนื้อฉ่าน้าหุ้มเมล็ดแข็งอยู่
ภายใน เมื่อสุกจะมีสีส้ม แดง หรือเหลือง และมีรสหวาน
ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 5
 ประโยชน์/สรรพคุณ : มีสารต้าน
อนุมูลอิสระ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการระงับความเจ็บปวด ช่วย
ป้ องกันโรคนิ่ว และโรคถุงน้าดีใน
เพศชาย ช่วยลดโรคเบาหวาน ช่วย
ลดความเสี่ยงของโรคตับแข็ง และ
ป้ องกันมะเร็งในปลายลาไส้ใหญ่
ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 6
 ชื่อสามัญ : เข็มป่า
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora Cibdela Craib
 ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ลาต้น มีขนาดปานกลาง มีความสูงประมาณ 3-4 ม.
แตกกิ่งก้านเป็นทรงพุ่ม เปลือกสีเทาปนน้าตาล ใบมีสีเขียวสด รูปไข่ ริมขอบใบ
เรียบ ออกดอกตลอดทั้งปี โดยออกดอกเป็นพวงเหมือนดอกเข็มธรรมดา แต่ดอก
จะมีสีขาว ผลรูปร่างกลม ผลแก่สีเขียว ผลสุกสีดาคล้า มีเนื้อหุ้มเมล็ด รสหวาน
ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 7
 ประโยชน์/สรรพคุณ :ใช้
ดอกในการรักษาโรคตา
เปียก ตาแดง ตาแฉะ ใช้ใบ
เป็นยาฆ่าพยาธิ ใช้ผลเป็น
ยารักษาโรคริดสีดวงจมูก
ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 8
 ชื่อสามัญ : คามอกหลวง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gardenia sootepensis Hutch.
 ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 7-15 เมตร มีน้ายางเหลือง กิ่ง
อ่อนมีขนปกคลุม ผลัดใบช่วงสั้นๆ เวลาออกดอก ใบเดี่ยว รูปวงรี ปลายใบแหลม
หรือมน โคนใบมน ขอบใบเรียบ ดอกเดี่ยวสีเหลืองสด ออกที่ซอกใบ มีกลิ่นหอม
ผลสด รูปรีหรือรูปขอบขนาน
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 9
 ประโยชน์ / สรรพคุณ : แก่นนาไปใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคเบาหวานหรือใช้ผสม
กับแก่นมะพอก นามาต้มรวมกันให้หญิงอยู่ไฟใช้อาบและสระผม เนื้อไม้ใช้เข้ายา
กับโมกเตี้ยและสามพันเตี้ย ใช้ต้มกับน้าเป็นยาดื่มแก้บิดและถ่ายเป็นมูกเลือด
เมล็ดคามอกหลวงนามาต้มเคี่ยวกับน้าใช้ผสมเป็นยาฆ่าเหา
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 10
 ชื่อสามัญ : ตะลุมพุก
 ชื่อวิทยาศาสตร์ :Tamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. & Sastre
 ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มถึงไม้ยืนต้น ผลัดใบ ขนาดเล็ก สูง 5-10 เมตร มี
หนามแหลมยาว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม สีเขียวอ่อน รูปไข่
กลับ ปลายใบมน โคนใบสอบแหลม แผ่นใบมีขนประปรายปกคลุมด้านล่าง ดอก
เดี่ยว ออกที่ซอกใบ ใกล้ปลายยอด กลีบดอกทรงกลมใหญ่ สีขาว มี 5 กลีบ มีกลิ่น
หอม โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน ปลายกลีบดอกมน กลีบเลี้ยงสีขาวมี 5 กลีบ โคน
เชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ผลสด กลมรี ผิวผลเรียบ ผลสดสีเขียว เมื่อสุกสี
เหลือง ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 11
 ประโยชน์ / สรรพคุณ : ยาสมุนไพร
พื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ ราก
และแก่น ต้มน้าดื่ม เข้ายาแก้ปวดเมื่อย
ช่วยบารุงเลือด แก่น ผสมแก่น
มะคังแดง ต้มน้าดื่ม บารุงกาลัง ผล
และราก รสฝาดสุขุม แก้ท้องเสีย แก้
บิดมูกเลือด
ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 12
 ชื่อสามัญ : ยอบ้าน
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda citrifolia Linn.
 ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงประมาณ 1-6 ม. แตกกิ่งก้าน
น้อย เปลือกเรียบสีน้าตาลเทา ใบเดียวรูปรี ออกเรียงกันเป็นคู่ โคนและปลายใบ
แหลม ขอบใบเป็นคลื่น ผิวใบมันเป็นสีเขียว ออกดอกรวมกันเป็นช่อกลม ดอกมี
ขนาดเล็กสีขาว กลีบด้านนอกเรียบ แต่ด้านในมีขนหนาแน่นผลค่อนข้างกลมหรือ
ทรงกระบอกมน ผิวเป็นตุ่มๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่จัดมีสีขาวอมเขียวหรือเหลือง มี
กลิ่นเหม็น
ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 13
 ประโยชน์/สรรพคุณ :ใบอ่อนนามา
ลวกหรือต้มรับประทานเป็นผักจิ้ม
น้าพริก รองห่อหมก หรือนามาปรุง
อาหารใบอ่อนมีรสขม นามา
รับประทานเป็นยาเพื่อลดความร้อน
ในร่างกาย ผลดิบมีรสเผ็ดร้อน ช่วย
ขับลมในลาไส้
ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 14
 ชื่อสามัญ : ยอเบี้ย
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda talmyi Pierre ex Lecomte
 ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งก้านตรงแตกที่ซอกใบ กิ่งอ่อนสีเขียว
ใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปรี รูปขอบใบขนานหรือรูปหอก ยาว 4-11 เซนติเมตร
กว้าง 0.3-2 เซนติเมตร ปลายแหลม ปลายเรียวแหลม ดอกช่อ มีดอกย่อยอยู่บนฐาน
ของรังไข่ที่อัดรวมกันเป็นก้อนกลม กลีบดอก สีขาวเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก
เป็น 5 แฉก เว้าลึกถึงปากหลอดกลีบดอก แต่ละแฉกรูปหอก ผิวด้านนอกและด้าน
ในเรียบ ผิวเป็นปุ่มเล็ก ผลรวมรูปร่างค่อนข้างกลมหรือเบี้ยว สีเขียว ผลสุกสีดา
ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 15
 ประโยชน์ / สรรพคุณ : เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง โดยใบและผลนามาใช้ปรุง
อาหาร
ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 16
 ชื่อสามัญ : หนามแท่ง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Catunaregam tomentosum(Kurz)Bakh.f.
 ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 2-6 ม. มีหนามแข็งเป็นคู่ ยาว 2-5 ซม. กิ่ง
และยอดอ่อนมีขนนุ่มสีน้าตาล มีหูใบรูปสามเหลี่ยมที่โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก
เป็น 8-9 แฉก ยาว 2-3 ซม. เกสรผู้8 อัน ผลเป็นผลสดรูปกลมหรือรี ขนาด 4.5-5.5
ซม. มีขนนุ่มสีน้าตาลแกมเขียวปกคลุม
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 17
 ประโยชน์ / สรรพคุณ : ผลแก่นามาทุบใช้ซักผ้า สระผม ต้นปรุงเป็นยารักษา
โรคเบาหวาน วัณโรค รากฝนทาแก้ฝีอักเสบ
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 18
“กาแฟอาราบิก้า.” 2555.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_deta
il.asp?botanic_id=2400 (6 กุมภาพันธ์ 2561)
“กาแฟอราบิก้า.” 2557.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.thaikasetsart.com/ลักษณะกาแฟอราบิก้า/ (6 มกราคม 2561)
“ประโยชน์ของกาแฟอราบิก้า.” 2558.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th-
th.facebook.com/coffee789/posts/553838468145174 (6 มกราคม 2561)
“เข็มป่ า.” 2559.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.samunpri.com/เข็ม
ป่า/ (6 มกราคม 2561)
“ยอบ้าน.” 2560.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://area-
based.lpru.ac.th/veg/www/Native_veg/v361.htm (6 มกราคม 2561)
“กระทุ่ม.” 2553.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=2(6
มกราคม 2561)
“ตะลุมพุก.” 2553.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=48(6
มกราคม 2561)
“ยอเบี้ย.” 2554.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.qsbg.org/database/Botanic_Book%20full%20option/search_det
ail.asp?botanic_id=2161 (6 มกราคม 2561)
“ต้นยอ พืชสมุนไพร.” 2554.[ระบบออนไลน์].
http://www.thaiphotosite.com/nature/381--nature87.html(6 มกราคม 2561)
“ กว้าว. ” 2555. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา
http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_de
tail.asp?botanic_id=2559
( 8 มกราคม 2561 )
“ คามอกหลวง. ” 2557. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา
https://medthai.com/คามอกหลวง/ ( 8 มกราคม 2561 )
“ หนามแท่ง. ” 2557. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา
https://home.kku.ac.th/orip2/thaiherbs/index.php/ ( 8 มกราคม 2561 )
“ สรรพคุณหนามแท่ง. ” 2556. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา
http://www.komchadluek.net/news/agricultural/165728 ( 8 มกราคม 2561 )
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความ
ช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจาก อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์อาจารย์ประจาวิชาชีววิทยา ที่ได้
กรุณาให้คาปรึกษาแนะนา และตรวจสอบ แก้ไข ข้อพกพร่องทุกขั้นตอนของการจัด
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ไม่ได้กล่าว
นามไว้ณ ที่นี้ ที่ได้ให้กาลังใจและช่วยเหลือให้งานนาเสนอนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
ท้ายที่สุด คณะผู้จัดทาหวังว่างานนาเสนอการสืบค้นพืชชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้
ที่สนใจไม่มากก็น้อย นางสาวณฐพร เอกฉันท์
นางสาวศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง
นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
ต้นชบา
ต้นชบาต้นชบา
ต้นชบา
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 

Similar to Plant ser 126_60_10

หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
สาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ด
สาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ดสาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ด
สาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ดMontaka Jaita
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบLatcha MaMiew
 

Similar to Plant ser 126_60_10 (19)

Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
สาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ด
สาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ดสาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ด
สาระพันธุ์ผลไม้และผักสวนครัวสุ่อาหารรสเด็ด
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 126_60_10

  • 1. รายวิชาชีววิทยา 6 (ว 30246)ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
  • 2. นางสาว ณฐพร เอกฉันท์ ม.6 ห้อง 126 เลขที่ 5 นางสาว ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง ม.6 ห้อง 126 เลขที่ 22 นางสาว ศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ ม.6 ห้อง 126 เลขที่ 23
  • 3.
  • 4. คณะผู้จัดทาได้จัดทารายงานฉบับนี้ขึ้นเพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งใน รายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับตัวอย่าง พืชที่อยู่ในวงศ์ RUBIACEAE ได้แก่ กว้าว กระทุ่ม กาแฟอาราบิก้า เข็ม ป่า คามอกหลวง ตะลุมพุก ยอบ้าน ยอเบี้ย และหนามแท่ง คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ สนใจต่อไป คณะผู้จัดทา 9/1/2561
  • 5.  กว้าว 1  กระทุ่ม 3  กาแฟอาราบิก้า 5  เข็มป่า 7  คามอกหลวง 9  ตะลุมพุก 11  ยอบ้าน 13  ยอเบี้ย 15  หนามแท่ง 17
  • 6.  ชื่อสามัญ : กว้าว  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale  ชื่อวงศ์: RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร ลา ต้น ตรง เปลือกหนา เรียบ สีขาวอ่อนปนเทา โคนต้นมักเป็นพูพอน เรือนยอดเป็น พุ่มกลม ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ติดตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ปลายกิ่ง ทรงรูปหัวใจ โคนใบ โค้งกว้างหรือหยักเว้าเข้า หลังใบมีขนสากๆ ท้องใบขนสีเทานุ่ม ขอบใบเรียบ ดอก เล็ก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อกลม ตามง่ามใบ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 1
  • 7.  ประโยชน์ / สรรพคุณ : เนื้อไม้สีเหลืองอ่อน ใช้ทาพื้นฝา กรอบประตูหน้าต่าง ทาเครื่องเรือนและไม้บุผนัง ทาเรือ ขุด แจว พาย เครื่องมือทางการเกษตร ครก สาก กระเดื่อง ทางด้านสมุนไพร ใบ คั้นเอาน้าใส่แผลเพื่อฆ่าแบคทีเรียที่ ทาให้เกิดหนอนในแผล ราก ใช้ปรุงยา ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 2
  • 8.  ชื่อสามัญ : กระทุ่ม  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Neonauclea sessilifolia (Roxb.)Merr  ชื่อวงศ์: RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 15-30 เมตร แตกกิ่ง ก้านตั้งฉากกับลาต้น เปลือกรากมีสีดาอ่อนๆ ใบเป็นใบเดี่ยว ใบรูปรี ปลายใบเป็น ติ่งแหลม โคนใบมน หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีขนหรือบางครั้งเกลี้ยง ดอก ออกเป็นช่อกลมแน่น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยมีขนาดเล็ก สีเหลืองอ่อน มีกลิ่น หอม กลีบดอกมี 5 กลีบอัดแน่นอยู่บนแกนช่อดอก ผลเป็นผลรวม รูปทรงกลม ผิว ขรุขระ ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 3
  • 9.  ประโยชน์ / สรรพคุณ : ตารายา ไทย ใช้ ใบและเปลือกต้น ลดความ ดันโลหิต ต้มน้ากินแก้ไข้แก้ปวด มดลูก แก้โรคลาไส้ และอมกลั้วคอ แก้อาการอักเสบของเยื่อเมือกใน ปาก ราก ฝนหรือต้มรับประทานเป็น ยาเย็นดับพิษไข้ทั้งปวง แก้ตัวร้อน ดับพิษตานซางของเด็ก ดับพิษวัณ โรค ผล เป็นยาฝาดสมานแก้ท้องร่วง ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 4
  • 10. ชื่อสามัญ : กาแฟอาราบิก้า (Arabica Coffee) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Coffea arabica L. ชื่อวงศ์: RUBIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มีรากแก้วและมีรากในแนวราบยาวประมาณ 1-2 ม. เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 5 ม. โดยทรงต้นมีการแตกกิ่งแบบ 2 ข้าง เท่ากัน ใบออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆโดยมีขนาดกว้างประมาณ 6 ซม. ดอกสีขาว เกิด รอบข้อของกิ่ง ผลมีรูปร่างกลมคล้ายไข่ มีเปลือกและเนื้อฉ่าน้าหุ้มเมล็ดแข็งอยู่ ภายใน เมื่อสุกจะมีสีส้ม แดง หรือเหลือง และมีรสหวาน ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 5
  • 11.  ประโยชน์/สรรพคุณ : มีสารต้าน อนุมูลอิสระ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการระงับความเจ็บปวด ช่วย ป้ องกันโรคนิ่ว และโรคถุงน้าดีใน เพศชาย ช่วยลดโรคเบาหวาน ช่วย ลดความเสี่ยงของโรคตับแข็ง และ ป้ องกันมะเร็งในปลายลาไส้ใหญ่ ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 6
  • 12.  ชื่อสามัญ : เข็มป่า  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora Cibdela Craib  ชื่อวงศ์: RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ลาต้น มีขนาดปานกลาง มีความสูงประมาณ 3-4 ม. แตกกิ่งก้านเป็นทรงพุ่ม เปลือกสีเทาปนน้าตาล ใบมีสีเขียวสด รูปไข่ ริมขอบใบ เรียบ ออกดอกตลอดทั้งปี โดยออกดอกเป็นพวงเหมือนดอกเข็มธรรมดา แต่ดอก จะมีสีขาว ผลรูปร่างกลม ผลแก่สีเขียว ผลสุกสีดาคล้า มีเนื้อหุ้มเมล็ด รสหวาน ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 7
  • 13.  ประโยชน์/สรรพคุณ :ใช้ ดอกในการรักษาโรคตา เปียก ตาแดง ตาแฉะ ใช้ใบ เป็นยาฆ่าพยาธิ ใช้ผลเป็น ยารักษาโรคริดสีดวงจมูก ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 8
  • 14.  ชื่อสามัญ : คามอกหลวง  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gardenia sootepensis Hutch.  ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 7-15 เมตร มีน้ายางเหลือง กิ่ง อ่อนมีขนปกคลุม ผลัดใบช่วงสั้นๆ เวลาออกดอก ใบเดี่ยว รูปวงรี ปลายใบแหลม หรือมน โคนใบมน ขอบใบเรียบ ดอกเดี่ยวสีเหลืองสด ออกที่ซอกใบ มีกลิ่นหอม ผลสด รูปรีหรือรูปขอบขนาน ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 9
  • 15.  ประโยชน์ / สรรพคุณ : แก่นนาไปใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคเบาหวานหรือใช้ผสม กับแก่นมะพอก นามาต้มรวมกันให้หญิงอยู่ไฟใช้อาบและสระผม เนื้อไม้ใช้เข้ายา กับโมกเตี้ยและสามพันเตี้ย ใช้ต้มกับน้าเป็นยาดื่มแก้บิดและถ่ายเป็นมูกเลือด เมล็ดคามอกหลวงนามาต้มเคี่ยวกับน้าใช้ผสมเป็นยาฆ่าเหา ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 10
  • 16.  ชื่อสามัญ : ตะลุมพุก  ชื่อวิทยาศาสตร์ :Tamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. & Sastre  ชื่อวงศ์: RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มถึงไม้ยืนต้น ผลัดใบ ขนาดเล็ก สูง 5-10 เมตร มี หนามแหลมยาว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม สีเขียวอ่อน รูปไข่ กลับ ปลายใบมน โคนใบสอบแหลม แผ่นใบมีขนประปรายปกคลุมด้านล่าง ดอก เดี่ยว ออกที่ซอกใบ ใกล้ปลายยอด กลีบดอกทรงกลมใหญ่ สีขาว มี 5 กลีบ มีกลิ่น หอม โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน ปลายกลีบดอกมน กลีบเลี้ยงสีขาวมี 5 กลีบ โคน เชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ผลสด กลมรี ผิวผลเรียบ ผลสดสีเขียว เมื่อสุกสี เหลือง ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 11
  • 17.  ประโยชน์ / สรรพคุณ : ยาสมุนไพร พื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ ราก และแก่น ต้มน้าดื่ม เข้ายาแก้ปวดเมื่อย ช่วยบารุงเลือด แก่น ผสมแก่น มะคังแดง ต้มน้าดื่ม บารุงกาลัง ผล และราก รสฝาดสุขุม แก้ท้องเสีย แก้ บิดมูกเลือด ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 12
  • 18.  ชื่อสามัญ : ยอบ้าน  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda citrifolia Linn.  ชื่อวงศ์: RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงประมาณ 1-6 ม. แตกกิ่งก้าน น้อย เปลือกเรียบสีน้าตาลเทา ใบเดียวรูปรี ออกเรียงกันเป็นคู่ โคนและปลายใบ แหลม ขอบใบเป็นคลื่น ผิวใบมันเป็นสีเขียว ออกดอกรวมกันเป็นช่อกลม ดอกมี ขนาดเล็กสีขาว กลีบด้านนอกเรียบ แต่ด้านในมีขนหนาแน่นผลค่อนข้างกลมหรือ ทรงกระบอกมน ผิวเป็นตุ่มๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่จัดมีสีขาวอมเขียวหรือเหลือง มี กลิ่นเหม็น ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 13
  • 19.  ประโยชน์/สรรพคุณ :ใบอ่อนนามา ลวกหรือต้มรับประทานเป็นผักจิ้ม น้าพริก รองห่อหมก หรือนามาปรุง อาหารใบอ่อนมีรสขม นามา รับประทานเป็นยาเพื่อลดความร้อน ในร่างกาย ผลดิบมีรสเผ็ดร้อน ช่วย ขับลมในลาไส้ ผู้ที่รับผิดชอบ : นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ 14
  • 20.  ชื่อสามัญ : ยอเบี้ย  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda talmyi Pierre ex Lecomte  ชื่อวงศ์: RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งก้านตรงแตกที่ซอกใบ กิ่งอ่อนสีเขียว ใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปรี รูปขอบใบขนานหรือรูปหอก ยาว 4-11 เซนติเมตร กว้าง 0.3-2 เซนติเมตร ปลายแหลม ปลายเรียวแหลม ดอกช่อ มีดอกย่อยอยู่บนฐาน ของรังไข่ที่อัดรวมกันเป็นก้อนกลม กลีบดอก สีขาวเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก เป็น 5 แฉก เว้าลึกถึงปากหลอดกลีบดอก แต่ละแฉกรูปหอก ผิวด้านนอกและด้าน ในเรียบ ผิวเป็นปุ่มเล็ก ผลรวมรูปร่างค่อนข้างกลมหรือเบี้ยว สีเขียว ผลสุกสีดา ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 15
  • 21.  ประโยชน์ / สรรพคุณ : เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง โดยใบและผลนามาใช้ปรุง อาหาร ผู้รับผิดชอบ : ศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง 16
  • 22.  ชื่อสามัญ : หนามแท่ง  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Catunaregam tomentosum(Kurz)Bakh.f.  ชื่อวงศ์: RUBIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 2-6 ม. มีหนามแข็งเป็นคู่ ยาว 2-5 ซม. กิ่ง และยอดอ่อนมีขนนุ่มสีน้าตาล มีหูใบรูปสามเหลี่ยมที่โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก เป็น 8-9 แฉก ยาว 2-3 ซม. เกสรผู้8 อัน ผลเป็นผลสดรูปกลมหรือรี ขนาด 4.5-5.5 ซม. มีขนนุ่มสีน้าตาลแกมเขียวปกคลุม ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 17
  • 23.  ประโยชน์ / สรรพคุณ : ผลแก่นามาทุบใช้ซักผ้า สระผม ต้นปรุงเป็นยารักษา โรคเบาหวาน วัณโรค รากฝนทาแก้ฝีอักเสบ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวณฐพร เอกฉันท์ 18
  • 24. “กาแฟอาราบิก้า.” 2555.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_deta il.asp?botanic_id=2400 (6 กุมภาพันธ์ 2561) “กาแฟอราบิก้า.” 2557.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thaikasetsart.com/ลักษณะกาแฟอราบิก้า/ (6 มกราคม 2561) “ประโยชน์ของกาแฟอราบิก้า.” 2558.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th- th.facebook.com/coffee789/posts/553838468145174 (6 มกราคม 2561) “เข็มป่ า.” 2559.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.samunpri.com/เข็ม ป่า/ (6 มกราคม 2561) “ยอบ้าน.” 2560.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://area- based.lpru.ac.th/veg/www/Native_veg/v361.htm (6 มกราคม 2561)
  • 25. “กระทุ่ม.” 2553.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=2(6 มกราคม 2561) “ตะลุมพุก.” 2553.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=48(6 มกราคม 2561) “ยอเบี้ย.” 2554.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.qsbg.org/database/Botanic_Book%20full%20option/search_det ail.asp?botanic_id=2161 (6 มกราคม 2561) “ต้นยอ พืชสมุนไพร.” 2554.[ระบบออนไลน์]. http://www.thaiphotosite.com/nature/381--nature87.html(6 มกราคม 2561)
  • 26. “ กว้าว. ” 2555. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_de tail.asp?botanic_id=2559 ( 8 มกราคม 2561 ) “ คามอกหลวง. ” 2557. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา https://medthai.com/คามอกหลวง/ ( 8 มกราคม 2561 ) “ หนามแท่ง. ” 2557. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา https://home.kku.ac.th/orip2/thaiherbs/index.php/ ( 8 มกราคม 2561 ) “ สรรพคุณหนามแท่ง. ” 2556. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา http://www.komchadluek.net/news/agricultural/165728 ( 8 มกราคม 2561 )
  • 27. งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความ ช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจาก อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์อาจารย์ประจาวิชาชีววิทยา ที่ได้ กรุณาให้คาปรึกษาแนะนา และตรวจสอบ แก้ไข ข้อพกพร่องทุกขั้นตอนของการจัด คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ไม่ได้กล่าว นามไว้ณ ที่นี้ ที่ได้ให้กาลังใจและช่วยเหลือให้งานนาเสนอนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ท้ายที่สุด คณะผู้จัดทาหวังว่างานนาเสนอการสืบค้นพืชชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ ที่สนใจไม่มากก็น้อย นางสาวณฐพร เอกฉันท์ นางสาวศรัณยรัตน์ จันทร์เหลือง นางสาวศิโรชา ลาภรุ่งเรืองสิริ