SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 38
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงงานรายวิชาชีววิทยา
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน
นาเสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกกลุ่มนาเสนอ
1. นางสาวจินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่ 2
2. นางสาวเบญญากร ศิริรจนากร เลขที่ 9
3. นางสาวมาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่ 14
4. นางสาวอิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่ 21
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
งานนาเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 ( ว30245 )
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
กิตติกรรมประกาศ
รายงานโครงงานชีววิทยาเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของ
ต้นหม่อน จะไม่สามารถประสบความสาเร็จได้ถ้าไม่ได้รับความช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
คุณครูประจาวิชาชีววิทยา ผู้ให้ความรู้เพื่อเป็นแนวทางการศึกษา รวมไปถึงให้คาปรึกษาตลอด
ระยะเวลาการดาเนินโครงงาน โดยได้รับความเอื้อเฟื้อสถานที่จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู้ปกครองของสมาชิกทุกท่าน ที่ช่วยอนุเคราะห์ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือสาหรับใช้ในการทดลอง
ตลอดจนแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ได้นามาใช้ในการอ้างอิงประกอบการดาเนินโครงงานด้วย
ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและผู้ปกครองทุกท่าน ที่คอยให้ความช่วยเหลือ
และให้การสนับสนุนในการดาเนินโครงงานในครั้งนี้ รวมไปถึงสมาชิกและเพื่อนทุกคนที่ได้ให้ความ
ร่วมมือและให้กาลังใจมาโดยตลอด
คณะผู้จัดทาขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินโครงงานไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี
จุดประสงค์เพื่อรายงานสรุปผลและนาเสนอข้อมูลจากการดาเนินโครงงานเรื่อง การศึกษาผลของ
ฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน ซึ่งประกอบไปด้วย รายละเอียดข้อมูลของพืช
และฮอร์โมนที่ใช้ในโครงงาน ระยะเวลาดาเนินการ การเก็บข้อมูล ขั้นตอนการดาเนินการ รวมไปถึง
การสรุปผล เป็นต้น
ในการจัดทารายงานฉบับนี้สามารถดาเนินการได้อย่างราบรื่นและประสบความสาเร็จเป็น
อย่างดีได้เนื่องจากได้รับความช่วยเหลือจาก นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ คุณครูประจาวิชาชีววิทยา ผู้ให้
ความรู้เพื่อเป็นแนวทางการศึกษา รวมไปถึงให้คาปรึกษาตลอดระยะเวลาการดาเนินโครงงาน โดย
ได้รับความเอื้อเฟื้อสถานที่จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ปกครองของสมาชิกทุกท่าน ที่ช่วย
อนุเคราะห์ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือสาหรับใช้ในการทดลอง ตลอดจนแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ได้
นามาใช้ในการอ้างอิงประกอบการดาเนินโครงงานด้วย คณะผู้จัดทาขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วน
เกี่ยวข้องในการดาเนินโครงงานเป็นอย่างยิ่ง
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะสามารถให้ความรู้และประโยชน์แก่ผู้มี
ความสนใจที่จะศึกษาทุกท่าน หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยและขอน้อมรับ
คาแนะนาเพื่อนามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น มา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
คานา ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
- ปัญหา ที่มาและความสาคัญ
- สมมติฐานการทดลอง
- วัตถุประสงค์ของการทดลอง
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- ขอบเขตของงานวิจัย
- ตัวแปรการทดลอง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
- ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทดลอง
- รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง
บทที่ 3การดาเนินงาน 11
- วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
- ระยะเวลาในการทดลอง
- ขั้นตอนการทดลอง
บทที่ 4ผลการทดลอง 17
บทที่ 5สรุปผลและข้อเสนอแนะ 22
บทที่ 1
บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวจินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่ 2
2. นางสาวเบญญากร ศิริรจนากร เลขที่ 9
3. นางสาวมาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่ 14
4. นางสาวอิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่ 21
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ (ครู คศ. 1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์)
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ
ต้นหม่อน เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้าตาลแดง ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านไม่มากนัก
ฮอร์โมนไซโตไคนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สามารถกระตุ้นการเพิ่มของจานวนใบ ดังนั้นเราจึงศึกษาจานวน
ใบที่เพิ่มขึ้นของต้นหม่อนจากการใช้ไซโตไคนิน
คณะผู้จัดทาโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนไซโต
ไคนินที่มีต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหม่อนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความเข้มข้นที่เหมาะสมของไซ
โตไคนินต่อต้นหม่อน คณะผู้จัดทาโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่
ได้จะมีประโยชน์ต่อการใช้ประโยชน์ของไซโตไคนินในการเร่งการเพิ่มจานวนใบในอนาคต
สมมติฐานการทดลอง
1. ต้นหม่อนที่ได้รับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้นมาก จะมีจานวนใบมากกว่าต้นหม่อนที่
ได้รับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้นน้อย
2. หลังจากที่ต้นหม่อนได้รับฮอร์โมนไซโตไคนิน จะมีจานวนใบมากกว่าต้นหม่อนที่ไม่ได้รับ
ฮอร์โมนไซโตไคนิน
วัตถุประสงค์ของการทดลอง
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อจานวนใบของต้นหม่อน
2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความเข้มข้นที่ต่างกันของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อการงอกใบใหม่
ของต้นหม่อน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน
2. ได้ศึกษาเกี่ยวกับระดับความเข้มข้นที่ต่างกันของฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเร่งการงอก
ใบใหม่ของต้นหม่อน
3. สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการดาเนินโครงงานไปเผยแพร่ได้อย่างถูกต้องและเกิด
ประโยชน์ต่อผู้ได้รับ
ขอบเขตของงานวิจัย
ในการทาโครงงานครั้งนี้ คณะผู้จัดทาโครงงานได้มุ่งเน้นศึกษาเฉพาะในส่วนของผลของ
ฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนิน
ตัวแปรตาม คือ จานวนใบของต้นหม่อน
ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน อุณหภูมิ สถานที่ ปริมาณน้า ลม
ระยะเวลาในการให้ฮอร์โมน
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลรายละเอียดของพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง
พืชที่ใช้ทดลอง: ต้นหม่อน
การจัดหมวดหมู่ภายใต้ระบบการจัดหมวดหมู่อนุกรมวิธานของต้นหม่อน
Division Spermatophyta
Class Angiospermae
Subclass Dicotyledonae
Order Urticales
Family Morus
Species spp.
หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (Mulberry) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morus spp. มีชื่อเรียกแตกต่าง
กันตามแต่ละท้องถิ่น เช่น ภาคอีสานเรียก มอน ภาษาจีนเรียก ซังเยี่ย เป็นต้น มีถิ่นกาเนิดในประเทศ
จีน มีอายุนานได้มากกว่า 100 ปี หากไม่มีปัจจัยด้านโรคและแมลงศัตรูมารบกวน โดยจะเจริญได้ดี
ตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาวจะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลาย
ฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ สาหรับประเทศไทยพบมีการปลูกมากในพื้นที่ภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อการผลิตเส้นใยไหมและผ้าไหม เนื่องจากเป็นพืช
อาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของการประกอบอาชีพการปลูก
หม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน ผล
หม่อนสามารถรับประทานได้ สารสกัดด้วยเมทานอลจากกากหม่อนที่เหลือจากการทาน้าผลไม้มีฤทธิ์
กาจัดอนุมูลอิสระ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้นหม่อน เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ แถบเทือกเขาหิมาลัย แต่ภายหลังได้มีการ
นาเข้ามาปลูกในอินโดจีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ไทย ฯลฯ โดยจัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลางหรือไม้ยืนต้นขนาด
เล็ก มีลาต้นตั้งตรง สูงได้ประมาณ 2.5 เมตร บางพันธุ์สูงได้ประมาณ 3-7 เมตร แตกกิ่งก้านไม่มากนัก
เปลือกลาต้นเรียบเป็นสีน้าตาลแดง สีขาวปนสีน้าตาล หรือสีเทาปนขาว ส่วนเปลือกรากเป็นสีน้าตาล
แดงหรือสีเหลือแดง มีเส้นร้อยแตกที่เปลือกผิว พบได้ทั่วไปในป่าดิบ ในประเทศไทยปลูกกันมากทาง
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ใบหม่อน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ หรือรูปไข่กว้าง ปลายใบ
แหลมยาว โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจหรือค่อนข้างตัด ขอบใบเรียบหรือหยักเว้าเป็นพู (ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์
ที่ปลูก) ใบอ่อนขอบใบจักเป็นพูสองข้างไม่เท่ากัน ขอบพูจักเป็นซี่ฟัน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 8-14
เซนติเมตร และยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้มเรียบเงา ท้องใบเป็นสีเขียว
อ่อน ใบค่อนข้างหนา หลังใบสากระคายมือ เส้นใบมี 3 เส้น ออกจากโคนยาวไปถึงกลางใบ และเส้น
ใบออกจากเส้นกลางใบอีก 4 คู่ เส้นร่างแหเห็นได้ชัดเจนจากด้านล่าง ก้านใบเรียวเล็ก ยาวประมาณ
1-1.5 เซนติเมตร มีหูใบเป็นรูปแถบแคบปลายแหลม ยาวได้ประมาณ 0.2-0.5 เซนติเมตร
ดอกหม่อน ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด ดอกเป็นแบบแยกเพศแต่อยู่บนต้น
เดียวกัน ลักษณะของดอกเป็นรูปทรงกระบอก ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียจะอยู่ต่างช่อกัน ดอก
ย่อยมีขนาดเล็ก วงกลีบรวมเป็นสีขาวหม่นหรือเป็นสีขาวแกมสีเขียว ช่อดอกเป็นหางกระรอก ยาวได้
ประมาณ 2 เซนติเมตร ดอกเพศผู้ วงกลีบรวมมีแฉก 4 แฉก เกลี้ยง ส่วนดอกเพศเมีย วงกลีบรวมมี
แฉก 4 แฉก เกลี้ยง ขอบมีขน เมื่อเป็นผลจะอวบน้า รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียมี 2 อัน
ช่อดอกตัวผู้ ประกอบด้วยดอกตัวผู้หลาย ๆ ดอกรวมกันเป็นช่อเดียวกัน ดอกตัวผู้ แต่ละ
ดอกจะมีกลีบดอก (sepal) 4 กลีบ และเกสรตัวผู้ 4 เกสร (stamen) ซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
ก้านเกสร (filament) และอับละอองเกสร (anther) เมื่อดอกบานก้านเกสรจะยืดตัวออกและ
ปลดปล่อยละอองเกสรที่มีลักษณะสีเหลืองออก มาเป็นจานวนมาก มีการแพร่กระจายโดยใช้ลม
ช่อดอกตัวเมีย ประกอบด้วย กลีบดอก 4 กลีบ รังไข่ (ovary) ก้านเกสรตัวเมีย
(style) และยอดเกสรตัวเมีย (stigma) โดยกลีบดอกจะห่อหุ้มรังไข่ไว้ซึ่งทาให้มองดูมีลักษณะคล้าย
ลูกบอลสีเขียว ภายในถุงหุ้มรังไข่ (embryo sac) จะมีไข่อ่อน (ovule) บรรจุอยู่ก้านเกสรจะมี
ความยาวแตกต่างกันออกไปตามตามแต่ละชนิดของพันธุ์ ยอดเกสรตัวเมียจะมีขนหรือปุ่มที่หนาแน่น
ปกคลุมอยู่ด้านบน ซึ่งจะเป็นแหล่งผลิตน้าหวานขึ้นมาสาหรับดักจับเกสรตัวผู้ เมื่อยอดเกสรตัวเมีย
ยืดตัวออกเต็มที่และมีลักษณะสีขาวแสดงว่าดอกบานเต็มที่ และเข้าสู่ระยะพร้อมที่จะได้รับการถ่าย
ละอองเกสรและได้รับการผสมพันธุ์แล้ว
ผลหม่อน เป็นผลที่เกิดจากช่อดอก ผลเป็นผลรวมอยู่ในกระจุกเดียวกัน โดยจะออกตามซอก
ใบ ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร ผลเป็นสีเขียว เมื่อผลสุกแล้ว
จะเปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงเข้มหรือสีม่วงดา เกือบดา เนื้อนิ่ม ฉ่าน้า และมีรสหวานอมเปรี้ยว
เมล็ดหม่อน มีลักษณะเป็นรูปไข่ สีเหลืองอ่อน หรือเหลืองเข้ม ขนาดเล็กประมาณ 1
มิลลิเมตร ในผลรวมของหม่อนที่เกิดขึ้นทั้งหมดจะเป็นเมล็ดที่ได้รับการผสมเกสรอยู่ บางส่วน แต่บาง
เมล็ดเป็นเมล็ดลีบที่ไม่ได้รับการผสมเกสร
องค์ประกอบทางเคมี
ใบ มีcarotene, succinic acid, adenine, choline, วิตามินซี และตรวจพบสาร flonoid
phytoestrogen, triterpene, ceramide, mulberroside, kuwanon L, mulberrofuran A,
sangenone C, น้ามันหอมระเหย
ผล มี citric acid, วิตามินซี และพบสารสี anthocyanin
เนื้อไม้ มี morin
กิ่งและลาต้น มี steroidal sapogenin พบสาร 2-oxyresveratrol, mulberroside F
เปลือก มี α-amyrin
ประเภทของหม่อน
แบ่งตามวัตถุประสงค์การนาไปใช้ได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. หม่อนที่ปลูกเพื่อรับประทานผลสด ได้แก่ black mulberry (Morus nigra) มีผลโตเป็น
ช่อ เมื่อผลสุกจะมีสีดา มีรสเปรี้ยวอมหวาน นิยมรับประทานผลสดหรือนาไปแปรรูปเป็นสินค้าอื่นได้
2. หม่อนที่ปลูกเพื่อเลี้ยงไหม ได้แก่ white mulberry (Morus alba Linn.) หม่อนชนิดนี้มี
ผลเป็นช่อขนาดเล็ก เมื่อสุกแล้วจะมีผลสีแดง มีรสเปรี้ยว ไม่ค่อยเป็นที่นิยมรับประทาน แต่มีใบขนาด
ใหญ่ ปริมาณใบมาก ซึ่งสามารถที่จะใช้เป็นอาหารของหนอนไหมได้เป็นอย่างดี
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหม่อน
1. แสงแดด หม่อนควรได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าได้รับแสงแดดไม่เพียงพอจะส่งผลทาให้การ
เจริญเติบโตของต้นหม่อนไม่เต็มที่ มีผลทาให้ผลหม่อนบาง เหี่ยวง่าย คุณค่าทางสารอาหารในใบต่า
ดังนั้นแปลงหม่อนไม่ควรมีร่มบัง
2. อุณหภูมิ เป็นปัจจัยกาหนดลักษณะการเจริญเติบโตของหม่อน หม่อนสามารถเจริญเติบโต
ได้ดีที่อุณหภูมิ 25 - 30 องศาเซลเซียส ในช่วงอุณหภูมิสูงกว่า 40 องศาเซลเซียสขึ้นไป หม่อนมีการ
คายน้าสูง เหี่ยวง่าย แต่ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า 13 องศาเซลเซียส ต้นหม่อนจะชะงักการเจริญเติบโต ทา
ให้หม่อนเกิดการพักตัว ฉะนั้นการปลูกหม่อนในที่ที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน ควรพิจารณาถึงชนิดของ
พันธุ์หม่อนด้วย จากข้อมูลจึงทาให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นเขตที่มีความเหมาะสมในการปลูกหม่อน
เพื่อเป็นอาหารของไหมเป็นอย่างยิ่ง
3. น้า เป็นส่วนประกอบสาคัญต่อการเจริญเติบโตของต้นหม่อน หม่อนต้องการน้ามากในการ
เจริญเติบโต หม่อนที่ได้รับน้าอย่างเพียงพอจะมีการเจริญเติบโตที่ดี การให้ความชุ่มชื้นในแปลงหม่อน
จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งควบคู่กับการให้ธาตุอาหาร ลักษณะการปลูกหม่อนจึงควรให้ดินมีความชุ่มชื้น
อยู่เสมอ แต่ไม่ถึงกับแฉะจนดินขาดออกซิเจนหรือน้าท่วมขัง
4. อากาศ อากาศเป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญในการสังเคราะห์แสง อากาศที่เพียงพอทาให้หม่อน
มีประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงได้อย่างเต็มที่ หม่อนต้องการอากาศเช่นพืชทั่วไป คือ ออกซิเจน
21% ในการหายใจเพื่อการดารงชีวิตและคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์
แสงในเวลากลางวัน
5. ดิน เป็นตัวช่วยค้าพยุงลาต้นและเป็นแหล่งให้ธาตุอาหาร โดยธรรมชาติหม่อนขึ้นได้ในดิน
ทุกชนิด แต่ดินที่เหมาะสมที่สุดควรจะมีหน้าดินลึกอย่างน้อย 1 เมตร มีอินทรียวัตถุสูง มีคุณสมบัติใน
การระบายน้าและถ่ายเทอากาศได้ดีควรเป็นดินร่วนปนทราย มีค่า pH อยู่ระหว่าง 6.0-6.5
ลักษณะหม่อนที่ดี
ให้ผลผลิตสูง ใบหม่อนมีขนาดพอเหมาะ ไม่หนาหรือบางจนเกินไป มีธาตุอาหารในใบสูง
โดยเฉพาะโปรตีน มีน้าหนักใบต่อไร่มาก มีข้อปล้องถี่ จานวนใบต่อกิ่งมาก ซึ่งมีผลให้ต้นเตี้ย เก็บเกี่ยว
ใบได้ง่ายมีความสามารถในการแตกกิ่งดี ลักษณะใบเหมาะสมต่อการเลี้ยงไหม มีการตอบสนองต่อปุ๋ย
ได้ดีปลูกได้ทุกสภาพแวดล้อม ทนต่อโรคและแมลงได้ค่อนข้างดี
โรคและแมลงที่เป็นอันตรายส่งผลต่อการเจริญเติบโต
1. โรคของหม่อน ได้แก่ โรครากเน่า โรคใบด่าง เป็นต้น
2. แมลงศัตรูที่สาคัญ คือ แมลงประเภทปากดูด ได้แก่ แมลงหวี่ขาว เพลี้ยชนิดต่างๆ ไรแดง เป็นต้น
โดยจะดูดกินน้าเลี้ยงจากลาต้น ใบ และยอดอ่อนทาให้เติบโตช้า ใบหงิกงอ แห้งตาย แมลงประเภท
ปากกัด ได้แก่ แมลงค่อมทอง ด้วงเจาะลาต้น ปลวก เป็นต้น โดยจะกัดกินลาต้น ใบ ทาให้แห้งตาย
ประโยชน์และสรรพคุณของหม่อน
ยาพื้นบ้าน ใช้ใบ รสจืดเย็น เป็นยาขับเหงื่อ แก้ไข้ ร้อนใน กระหายน้า ทายาต้มใช้อมแก้ไอ
เจ็บคอ ทาให้เนื้อเยื่อชุ่มชื้น ระงับประสาท แก้ไข้ แก้หวัด แก้ไอ นากิ่งอ่อน ใบอ่อน ใบ น้าต้มและยา
ชง นามาล้างตา แก้อาการติดเชื้อ ตาแดง แฉะ ฝ้าฟาง ใบแก่ตากแห้งมวนสูบเหมือนบุหรี่ แก้ริดสีดวง
จมูก ใบ ใช้ทาชามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ราก ขับพยาธิ และเป็นยาสมาน ตากแห้งต้มผสมน้าผึ้ง ยานี้
จะมีรสหวานเย็น ใช้มากในโรคทางเดินหายใจ และการมีน้าสะสมในร่างกายผิดปกติ ใช้แก้โรคความ
ดันโลหิตสูง แขนขาหมดความรู้สึก มีฤทธิ์เป็นยาชะล้าง ใบอังไฟและทาด้วยน้ามันมะพร้าวใช้วางบน
แผล หรือตาใช้ทาแก้แมลงกัด ยาหล่อลื่นภายนอก ใช้ล้างตา ผสมกับหอมหัวใหญ่เป็นยาพอก รักษา
แผลจากการนอนกดทับ ผลรสเปรี้ยวหวาน ต้มน้าหรือเชื่อมกินเป็นยาเย็น ยาระบายอ่อนๆ บรรเทา
อาการกระหายน้า แก้โรคปวดข้อ แก้โรคได้เช่นเดียวกับเปลือกรากคือ ใช้แก้ไข้ แก้เจ็บคอ ทาให้ชุ่มคอ
บารุงไต ดับร้อน ช่วยย่อย ยาระบาย และยาถ่ายพยาธิ เมล็ด ใช้เพิ่มกากใยอาหาร ส่วนในประเทศจีน
ใช้ เปลือกราก กิ่งอ่อน ใบ ผล เป็นยาบารุง แก้โรคเกี่ยวกับทรวงอก ขับปัสสาวะแก้ไอ หืด วัณโรค
ปอด การสะสมน้าในร่างกายผิดปกติ โรคปวดข้อ นอกจากสรรพคุณดังกล่าวได้มีการนามาแปรรูปเป็น
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ไวน์ น้าผลไม้ วุ้น ชาใบหม่อน แยม เป็นต้น
ฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง: ฮอร์โมนไซโตไคนิน
ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการ
ควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช มีผลต่อการข่มของตายอด การ
เจริญของตาข้าง และการชราของใบการออกฤทธิ์ของสารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าวเมื่อ พ.ศ. 2483
โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตร์ที่ University of Wisconsin–Madison
ไซโตไคนินมีสองประเภท ได้แก่ ไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนโดยมีโซ่ข้างมาเชื่อมต่อ
กับเบสที่ตาแหน่ง N6 ไซโตไคนินแบ่งได้เป็นสองชนิดตามชนิดของโซ่ข้างคือ ไอโซพรีนอยด์ ไซโตไค
นิน (Isoprenoid cytokinin) มีโซ่ข้างเป็นสารกลุ่มไอโซพรีน กับ อะโรมาติก ไซโตไคนิน เช่น ไคนีติน
ซีเอติน และ6-benzylaminopurine อีกกลุ่มหนึ่งคือไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของไดฟีนิลยูเรียและไท
เดียซูรอน (TDZ) ไซโตไคนินชนิดอะดีนีนมักสังเคราะห์ที่ราก แคมเบียม และเนื้อเยื่อเจริญอื่นๆเป็น
แหล่งที่มีการสังเคราะห์ไวโตไคนินเช่นกัน ไม่มีหลักฐานว่าพืชสร้างไซโตไคนินชนิดฟีนิลยูเรียได้ ไซโต
ไคนินเกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณทั้งระยะใกล้และระยะไกล และเกี่ยวข้องกับการขนส่งนิวคลีโอไทด์
ในพืช โดยทั่วไปไซโตไคนินถูกขนส่งผ่านไซเลม
ผลของไซโตไคนิน
1. กระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน tissue culture โดยต้อง
ใช้ร่วมกับ Auxin ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชนั้นหากให้ฮอร์โมน ไซโตไคนินมากกว่าออกซิน จะทาให้
เนื้อเยื่อนั้นเจริญเป็น ตา ใบ และลาต้น แต่ถ้าหากสัดส่วนของออกซินมากกว่าไซโตไคนินจะทาให้
เนื้อเยื่อนั้นสร้างรากขึ้นมา การเปลี่ยนแปลงของตาในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจาก Callus จากส่วนของ
ลาต้นนั้น auxin จะระงับ และไซโตไคนินนั้นจะกระตุ้นการเกิด และต้องมีความสมดุลระหว่างไซโตไค
นินและออกซินชิ้นเนื้อเยื่อจึงจะสร้างตาได้
2. ชะลอกระบวนการเสื่อมสลาย เช่น กรณีของใบที่เจริญเต็มที่แล้วถูกตัดออกจาก
ต้น คลอโรฟิลล์ RNA และโปรตีนจะเริ่มสลายตัวเร็วกว่าใบที่ติดอยู่กับต้น แม้จะมีการให้อาหารกับใบ
เหล่านี้ก็ตาม ถ้าหากเก็บใบเหล่านี้ไว้ในที่มืดการเสื่อมสลายยิ่งเกิดเร็วขึ้น อย่างไรก็ตามหากใบเหล่านี้
เกิดรากขึ้นที่โคนใบหรือก้านใบ จะทาให้การเสื่อมสลายเกิดช้าลง เพราะไซโตไคนินผ่านขึ้นมาจาก
รากทางท่อน้า อย่างไรก็ตามการให้ไซโตไคนินกับใบพืชเหล่านี้จะชะลอการเสื่อมสลายได้เหมือนกับ
รากเช่นกัน นอกจากนั้นไซโตไคนินยังทาให้มีการเคลื่อนย้ายอาหารจากส่วนอื่นมายังส่วนที่ได้รับไซ
โตไคนินได้ เช่น กรณีของใบอ่อนซึ่งมีไซโตไคนินมากกว่าใบแก่จะสามารถดึงอาหารจากใบแก่ได้
ในกรณีเชื้อราที่ทาให้เกิดโรคราสนิม ซึ่งทาให้เกิดการตายของเนื้อเยื่อแล้วบริเวณเนื้อเยื่อที่
ตายจะเกิดสีเขียวล้อมรอบขึ้นมาซึ่งบริเวณสีเขียวนี้มีแป้งสะสมมากแม้กระทั่งส่วนอื่นๆ ของใบตายไป
แล้ว ส่วนสีเขียวอาจจะยังคงอยู่ ลักษณะนี้เรียกว่า Green Island ซึ่งบริเวณนี้จะมี ไซโตไคนินสูง คาด
ว่าเชื้อราสร้างขึ้นมาเพื่อดึงอาหารมาจากส่วนอื่น
3. ทาให้ตาข้างแตกออกมาหรือกาจัดลักษณะ Apical Dominanceได้ การเพิ่ม ไซโตไคนิน
ให้กับตาข้างจะทาให้แตกออกมาเป็นใบได้ ทั้งนี้เพราะตาข้างจะดึงอาหารมาจากส่วนอื่นทาให้ตาข้าง
เจริญได้ เชื้อจุลินทรีย์บางชนิดสามารถสร้างไซโตไคนินกระตุ้นให้พืชเกิดการแตกตาจานวนมากมี
ลักษณะผิดปกติ เช่น โรค Fascination นอกจากนั้นยังเร่งการแตกหน่อของพืช เช่น บอน และโกสน
4. ทาให้ใบเลี้ยงคลี่ขยายตัว กรณีเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่งอกในความมืด ใบเลี้ยงจะเหลือง
และเล็ก เมื่อได้รับแสงจึงจะขยายตัวขึ้นมา ซึ่งเป็นการควบคุมของไฟโตโครม แต่ถ้าหากให้ไซโต
โคนินโดยการตัดใบเลี้ยงมาแช่ในไซโตไคนิน ใบเลี้ยงจะคลี่ขยายได้เช่นกัน ลักษณะดังกล่าวพบ
กับ แรดิช ผักสลัด และแตงกวา ออกซินและจิบเบอเรลลินจะไม่ให้ผลดังกล่าว
5. ทาให้เกิดการสร้างคลอโรพลาสต์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพอย่างหนึ่ง
เช่น เมื่อ Callus ได้รับแสงและไซโตไคนิน Callus จะกลายเป็นสีเขียว เพราะพลาสติดเปลี่ยนเป็น
คลอโรพลาสต์ได้ โดยการเกิดกรานาจะถูกกระตุ้นโดยไซโตไคนิน
6. ทาให้พืชทั้งต้นเจริญเติบโต
7. กระตุ้นการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด
บทที่ 3
การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. กระถางต้นไม้ (บรรจุต้นหม่อน)
2. ถาดรองกระถางต้นไม้
3. ฮอร์โมนไซโตไคนิน
4. ป้ายติดกระถาง
5. ป้ายติดฟอกกี้(กระบอกฉีดน้า)
6. ฟอกกี้(กระบอกฉีดน้า)สาหรับฉีดฮอร์โมนและฉีดน้า
7. หลอดหยด
8. กระบอกตวง
9. บีกเกอร์
10. ไม้เสียบ(สาหรับติดกับป้ายชื่อ)
ระยะเวลาในการทดลอง
เริ่มทาการทดลองเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2560
สิ้นสุดการทดลองเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ขั้นตอนการทดลอง
1. เตรียมต้นหม่อน 9 ต้น โดยที่ต้นหม่อนทุกต้นถูกบรรจุอยู่ในกระถางต้นไม้และวางบนถาดรอง
กระถาง และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น (ชุดควบคุม, ชุด Low dose, ชุด High dose)
รูป 1.1 นาต้นหม่อนมาวางไว้บริเวณใกล้เคียงก่อน เมื่อเตรียมพื้นที่ในการวางแล้วจึงจัดวางต้นหม่อนทั้ง 9 ต้น
รูป 1.2 ต้นหม่อนทั้ง 9 ต้นบริเวณหน้าตึกศิลปะ
2. จัดทาป้ายชื่อสาหรับต้นหม่อนทุกต้น นาไม้เสียบมาติดบริเวณด้านหลังป้ายชื่อต้นหม่อนทุก
ป้าย แล้วจึงนาไปปักลงดินในกระถางต้นหม่อนแต่ละชุดการทดลอง (โดยมีรายละเอียดข้อมูล
ของต้นหม่อน 9 ต้น แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังภาพ)
รูป 2.1 จัดทาป้ายชื่อ (โดยจะเขียนร้อยละของฮอร์โมนที่ละลายในน้าภายหลังการคานวณค่าความเข้มข้น)
รูป 2.2 ชุด ควบคุม รูป 2.3 ชุด Low dose รูป 2.4 ชุด High dose
3. ทาการคานวณค่าความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนินที่ต้องการใช้ทดลอง แล้วนาสารละลาย
ที่ได้บรรจุลงในฟอกกี้แต่ละชุดการทดลอง (ใช้ฟอกกี้ 1 อันต่อชุดการทดลอง 1 ชุด)
- ชุด control (ความเข้มข้นเป็น 0 %)
- ชุด High dose (ความเข้มข้นเป็น 0.1 %)
- ชุด Low dose (ความเข้มข้นเป็น 0.05 %)
รูป 3.1 ขวดฮอร์โมนไซโตไคนิน รูป 3.2 ขณะการเตรียมสารละลาย (กลาง)
4. จัดทาป้ายชื่อสาหรับฟอกกี้ทั้ง 3 กลุ่ม (เพื่อบอกความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนที่ได้
เตรียมไว้) จากนั้นนาป้ายชื่อติดที่ด้านข้างของฟอกกี้ (กระบอกฉีดน้า) ทั้ง 3 กระบอก
รูป 4.1 ฟอกกี้ที่ถูกติดป้ายชื่อบอกข้อมูลค่าความเข้มข้นของสารละลาย
รูป 4.2 ขณะติดป้ายชื่อบอกข้อมูลฮอร์โมนไซโตไคนิน
รูป 3.3 ฟอกกี้ (กระบอกฉีดน้า) ที่ถูกบรรจุ
สารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆ(ขวา)
5. ทาการฉีดฮอร์โมนตามชุดการทดลอง ที่มีความเข้มข้นต่างกันตามส่วนของต้นไม้ในทุกๆวัน
รูป 5.1 ขณะฉีดฮอร์โมนตามชุดการทดลอง
6. สังเกตการเปลี่ยนแปลงจานวนใบของต้นไม้แล้วบันทึกผลการทดลอง
รูป 6.1 ตัวอย่างการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของจานวนใบ
วิธีการเก็บข้อมูล
เริ่มนับจานวนใบของต้นหม่อน ตั้งแต่วันแรกที่ทาการฉีดฮอร์โมน โดยนับจานวนใบก่อนฉีด
หลังจากนั้นจึงฉีดฮอร์โมนแล้วเริ่มทาการนับจานวนใบในทุกๆ 3 วัน โดยทาเครื่องหมายไว้บนใบใหม่ที่
เก็บข้อมูลโดยการนับแล้ว จนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560
ทาการติดตามผลการทดลองอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
มีการใช้ปากกาทาเครื่องหมายไว้บริเวณใบงอกใหม่ที่นับแล้ว
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตารางผลการทดลอง
*หมายเหตุ วันเสาร์-อาทิตย์ สมาชิกกลุ่มได้เลื่อนมาเก็บข้อมูลในวันจันทร์ถัดมา
วันที่ 17-26 ก.ค. 60 เป็นวันสอบจึงไม่สะดวกในการเก็บข้อมูล
**หมายเหตุ ได้มีการเปลี่ยนแปลงต้นไม้ในวันที่ 26 มิ.ย. 60, 3 ก.ค. 60 และ 13 ก.ค. 60
***หมายเหตุ ใบของต้นไม้มีการร่วงบ้างในบางวัน
แผนภูมิแท่งแสดงค่าเฉลี่ยของจานวนใบของต้นหม่อนในวันที่ทาการเก็บข้อมูล
จานวนใบ
วันที่บันทึก High dose (0.1%) Low dose (0.05%) Control (0%)
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3
ค่า
เฉลี่ย
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3
ค่า
เฉลี่ย
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3
ค่า
เฉลี่ย
6 มิ.ย. 60 10 45 13 12.67 12 9 8 9.67 7 9 10 8.67
9 มิ.ย. 60 11 16 14 13.67 13 12 9 11.3
3
7 10 9 8.67
12 มิ.ย. 60 11 15 13 13 10 12 11 11 9 12 10 10.33
1 5มิ.ย. 60 10 12 9 10.33 6 4 5 5 6 4 3 4.33
19 มิ.ย. 60 6 8 7 7 3 4 2 3 3 5 2 3.33
22 มิ.ย. 60 7 9 8 8 3 4 3 3.33 3 4 2 3
26 มิ.ย. 60 8 9 8 8.33 4 5 4 4.33 3 4 2 3
29 มิ.ย. 60 10 10 8 9.33 4 5 3 4 3 4 2 3
3 ก.ค. 60 10 10 9 9.67 5 6 5 5.33 4 5 3 4
6 ก.ค. 60 10 10 9 9.67 5 6 5 5.33 5 6 4 5
10 ก.ค. 60 11 12 10 11 6 5 5 5.33 5 5 5 5
13 ก.ค. 60 12 11 9 10.67 6 5 7 6 5 4 6 5
27 ก.ค. 60 14 15 17 15.33 9 8 9 8.67 6 7 7 5
31 ก.ค. 60 14 15 16 15 9 8 9 8.67 6 7 7 5
ค่าเฉลี่ย 10.29 11.93 10.71 6.78 6.64 6.07 5.14 6.43 5.14
วันที่เก็บข้อมูล
แผนภูมิแท่งแสดงค่าเฉลี่ยของจานวนใบของต้นหม่อนในวันที่ทาการเก็บข้อมูล
วันที่เก็บข้อมูล
แผนภูมิแท่งแสดงค่าเฉลี่ยของจานวนใบของต้นหม่อนในวันที่ทาการเก็บข้อมูล
ค่าเฉลี่ยจานวนใบ
ค่าเฉลี่ยจานวนใบ
วันที่เก็บข้อมูล
ภายหลังทาการทดลอง 2 สัปดาห์ สามารถสังเกตเห็นความแตกต่างของต้นหม่อนในแต่ละชุด
การควบคุมได้โดยการนาต้นหม่อนที่สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงออกมาเปรียบเทียบชุดการทดลองกัน
ค่าเฉลี่ยจานวนใบ
ต้นหม่อนบางต้นเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของสีใบ จากสีเขียวเป็นสีเหลือง บางต้นใบเริ่มเหี่ยว
และเฉาลงจนมีลักษณะแห้งกรอบ และหลุดร่วงลงไปจนกระทั่งตายในที่สุด เนื่องจากปริมาณดินที่มี
น้อยทาให้ขาดสารอาหาร รวมไปถึงสภาพอาหารด้วย
หลังจากนั้นได้นาต้นหม่อนชุดใหม่มาทาการทดลอง โดยนาต้นหม่อนมาทีละ 3 ต้น 3 ครั้ง
แบ่งตามชุดการทดลอง แต่ในครั้งนี้ได้สังเกตปริมาณดินให้มีระดับเท่าๆกันไม่น้อยเกินไป และเมื่อทา
การฉีดฮอร์โมนและบันทึกผลพบว่า ต้นหม่อนมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงคล้ายกับต้นหม่อนในชุดการ
ทดลองเดิม คือ ใบเหี่ยวลง และเริ่มหลุดร่วง แต่เมื่อถึงระยะเวลาหนึ่งพบว่า ต้นหม่อนเริ่มมีการแตก
ตาข้างและมีใบใหม่งอกออกมา
สามารถสังเกตเห็นใบที่งอกออกมาใหม่ได้อย่างชัดเจน
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองการเพิ่มจานวนใบของต้นหม่อนโดยใช้ฮอร์โมนไซโตไคนินในความเข้มขึ้น
ต่างกันไป พบว่ากลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นสูง(กลุ่ม high dose) มีจานวนใบเพิ่มขึ้นมากกว่า
กลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนความเข้มข้นต่า (กลุ่ม low dose) และไม่ใช้ฮอร์โมนควบคุมตามลาดับ แสดงว่า
ฮอร์โมนไซโตไคนินมีคุณสมบัติในการเร่งอัตราเพิ่มจานวนใบของต้นไม้
บรรณานุกรม
1. เว็บเพื่อพืชเกษตรไทย. 2560. หม่อน/ใบหม่อน (mulberry) ประโยชน์ และสรรพคุณหม่อน.
(ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://puechkaset.com/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD%
E0%B8%99/. 15 มิถุนายน 2560.
2. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2560. หม่อน. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=125.
15 มิถุนายน 2560.
3. สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน). 2560. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของ
หม่อน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://www.arda.or.th/kasetinfo/silk/index.php?option=com_content&view=art
icle&id=83&Itemid=77. 15 มิถุนายน 2560.
4. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2560. หม่อน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%
AD%E0%B8%99. 16 มิถุนายน 2560.
5. รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ. 2560. ฮอร์โมนพืช. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm#cyto.
16 มิถุนายน 2560.
6. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2560. ไซโตไคนิน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%82%E0%B8%
95%E0%B9%84%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99. 16
มิถุนายน 2560.
ภาคผนวก
ประมวลภาพระหว่างการดาเนินโครงงาน
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน
สมาชิกกลุ่มการดาเนินโครงงาน (คณะผู้จัดทา)
นางสาวมาริสา ปัญญาวุฒิชัย, นางสาวเบญญากร ศิริรจนากร,
นางสาวจินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ และนางสาวอิสรีย์ ไพพินิจ
โดยเรียงจากซ้ายไปขวาตามลาดับ
ขวดบรรจุฮอร์โมนไซโตไคนินที่ใช้ในการทดลอง
ขณะเตรียมสารละลายฮอร์โมนไซโตไคนิน
การตรวจโครงงานฮอร์โมนพืช ครั้งที่ 1 : 13 กรกฎาคม 2560
ทาการติดตามผลการทดลอง
จนกระทั่งผ่านไปได้ระยะหนึ่งใบใหม่ของต้นหม่อนได้งอกออกมา
ทาการฉีดฮอร์โมนและรดน้าอย่างสม่าเสมอ
การตรวจโครงงานฮอร์โมนพืช ครั้งที่ 2 : 3 สิงหาคม 2560
ตารางการรดน้าต้นไม้
วันที่ การรดน้าและฉีดฮอร์โมน หมายเหตุ
5 มิ.ย.60 จินต์จุฑา
6 มิ.ย.60 เบญญากร
7 มิ.ย.60 มาริสา
8 มิ.ย.60 อิสรีย์
9 มิ.ย.60 จินต์จุฑา
12 มิ.ย.60 มาริสา
13 มิ.ย.60 มาริสา
14 มิ.ย.60 อิสรีย์
15 มิ.ย.60 จินต์จุฑา
16 มิ.ย.60 เบญญากร
19 มิ.ย.60 เบญญากร
20 มิ.ย.60 อิสรีย์
21 มิ.ย.60 จินต์จุฑา
22 มิ.ย.60 จินต์จุฑา
23 มิ.ย.60 มาริสา
26 มิ.ย.60 มาริสา
27 มิ.ย.60 เบญญากร
28 มิ.ย.60 อิสรีย์
29 มิ.ย.60 เบญญากร
30 มิ.ย.60 จินต์จุฑา
3 ก.ค.60 เบญญากร
4 ก.ค.60 มาริสา
5 ก.ค.60 อิสรีย์
6 ก.ค.60 จินต์จุฑา
7 ก.ค.60 มาริสา
10 ก.ค.60 เบญญากร
11 ก.ค.60 อิสรีย์
12 ก.ค.60 จินต์จุฑา
13 ก.ค.60 เบญญากร
วันที่ การรดน้าและฉีดฮอร์โมน หมายเหตุ
14 ก.ค.60 มาริสา
27 ก.ค.60 อิสรีย์
31 ก.ค.60 จินต์จุฑา
1 ส.ค.60 เบญญากร
2 ส.ค.60 มาริสา
3 ส.ค.60 จินต์จุฑา
ประวัติและวิธีการศึกษาฮอร์โมนไซโตไคนิน (ข้อมูลเพิ่มเติม)
ประวัติการค้นพบฮอร์โมนไซโตไคนิน
การค้นพบฮอร์โมนในกลุ่มนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในปี ค.ศ. 1920
Haberlandt ได้แสดงให้เห็นว่ามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยู่ในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ้นให้เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
ในหัวมันฝรั่งกลับกลายเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้ ซึ่งแสดงว่าสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้มีการแบ่งเซลล์
ต่อมามีการพบว่าน้ามะพร้าวและเนื้อเยื่อของหัวแครอทมีคุณสมบัติเช่นเดียวกัน
FOLKE KARL SKOOG
July 15, 1908–February 15, 2001
Skoog และ Steward ได้ทาการทดลองในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยศึกษาความต้องการสิ่ง
ที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนของเซลล์ (Callus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท จากผลการทดลองนี้ทาให้
รู้จักไซโตไคนินในระยะปี ค.ศ. 1950 ซึ่งเป็นฮอร์โมนพืชที่จาเป็นต่อการแบ่งเซลล์และการ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของเนื้อเยื่อ
ปัจจุบันพบว่าไซโตไคนิน ยังเกี่ยวข้องกับการเสื่อมสภาพ(Senescence) และการควบคุมการ
เจริญของตาข้างโดยตายอด (Apical Dominance)
จากการศึกษาของ Skoog โดยเลี้ยงเนื้อเยื่อ pith ของยาสูบ พบว่าการที่เนื้อเยื่อจะเจริญ
ต่อไปได้นั้นจะต้องมีอาหารและฮอร์โมน เช่น ออกซิน โดยถ้าให้ออกซินในอาหารจะมีการเจริญของ
เนื้อเยื่อนั้นน้อยมาก เซลล์ขนาดใหญ่เกิดขึ้นโดยไม่แบ่งเซลล์ นอกจากนั้นจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางคุณภาพ อย่างไรก็ตามหากเพิ่ม Purine Base ชนิดอะดีนีน (Adenine) ลงไปในอาหารรวมกับ
IAA พบว่า เนื้อเยื่อจะกลายเป็นกลุ่มเซลล์ (Callus) ถ้าใส่อะดีนีนอย่างเดียวรวมกับอาหาร เนื้อเยื่อจะ
ไม่สร้างกลุ่มเซลล์ขึ้นมา ดังนั้นจึงมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะดีนีน และ IAA ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการแบ่ง
เซลล์ขึ้น อะดีนีนเป็นพิวรีนเบส ซึ่งมีสูตรเป็น 6-อะมิโนพิวรีน (6-aminopurine) และปรากฏอยู่ใน
สภาพธรรมชาติโดยเป็นส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิค
ในปี ค.ศ.1955 Miller ได้แยกสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายคลึงแต่มีประสิทธิภาพ
ดีกว่าอะดีนีน ซึ่งได้จากการสลายตัวของ DNA ของสเปิร์มจากปลาแฮร์ริง สารชนิดนี้ คือ 6-(furfuryl-
amino) purine ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายอะดีนีน เนื่องจากสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้เกิดการแบ่ง
เซลล์โดยร่วมกับออกซิน จึงได้รับชื่อว่าไคเนติน (Kinetin)
ไคเนติน (Kinetin) เป็นสารที่ไม่พบตามธรรมชาติในต้นพืช แต่เป็นสารสังเคราะห์ ต่อมาได้มี
การค้นพบไซโตไคนินสังเคราะห์อีกหลายชนิด สารสังเคราะห์ที่มีกิจกรรมของไซโตไคนินสูงที่สุดคือ
เบนซิล อะ ดีนีน (Benzyladenine หรื อ BA) แล ะเตตร ะไฮโ ดรไพ ร านิล เบนซิล อะ
ดีนีน (tetrahydropyranylbenzyladenine หรือ PBA)
ซีเอติน ไซโตไคนินธรรมชาติที่พบในพืช
ไซโตไคนินที่พบในพืช
แม้ว่าไคเนติน BA และ PBA เป็นสารที่ไม่พบในต้นพืช แต่สารซึ่งพบในอวัยวะของพืชหลาย
ชนิด เช่น ในน้ามะพร้าว ในผลอ่อนของข้าวโพด ให้ผลทางสรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกับ
สาร BA และ PBA สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลายชนิด ซึ่งมี คุณสมบัติเหมือนไค
เนตินนั้น เรียกโดยทั่วๆ ไปว่า ไซโตไคนิน ซึ่งเป็นสารที่เมื่อมีผลร่วมกับออกซินแล้วจะเร่งให้เกิดการ
แบ่งเซลล์ในพืช
มีหลักฐานเด่นชัดชี้ว่าไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติเป็นสารประกอบพิวรีน ในปี 1964
Letham ได้แยกไซโตไคนินชนิดหนึ่งจากเมล็ดข้าวโพดหวาน พบว่าเป็นสาร 6-(4-hydroxy-3-
methyl but-2-enyl) aminopurine และได้ตั้งชื่อว่า ซีเอติน (Zeatin)
นับตั้งแต่มีการแยกไซโตไคนินชนิดแรกคือซีเอตินแล้ว ก็มีการค้นพบไซโตไคนิน อีกหลายชนิด
ซึ่งทุกชนิดเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีน คือ เป็น 6-substituted aminopurines ซีเอตินเป็นไซโตไคนิน
ธรรมชาติซึ่งมีประสิทธิภาพสูงที่สุด
การสังเคราะห์ไซโตไคนิน
การสังเคราะห์ไซโตไคนินในต้นพืชเกิดโดยการ substitution ของ side chain บนคาร์บอน
อะตอมที่ 6 ของอะดีนีน ซึ่ง side chain ของไซโตไคนินในสภาพธรรมชาติ ประกอบด้วย
คาร์บอน 5 อะตอม จึงเป็นการชี้ให้เห็นว่าเกิดมาจากวิถีการสังเคราะห์ ไอโซพรีนอยด์
(Isoprenoid) ต่อมาพบว่า กลุ่มของไซโตไคนิน เกิดขึ้นบน t-RNA ได้ และเมื่อใช้เมวาโล
เนต (Mavalonate หรือ MVA) ที่มีสารกัมมันตรังสี จะสามารถไปรวมกับกลุ่มอะดีนีนของ t-RNA
เกิดเป็นไดเมทธิลอัลลิล(Dimethylallyl side chain) เกาะด้านข้าง ในเชื้อราRhizopusนั้น
Dimethylallyl adenine สามารถเปลี่ยนไปเป็น Zeatin ได้ จึงคาดกันว่า Zeatin อาจจะเกิดจาก
การออกซิไดซ์ Dimethylallyl adenine
การเกิดกลุ่มของไซโตไคนินใน t-RNA นี้ หมายความว่า ไซโตไคนิน อาจจะเกิดขึ้นมาจาก
การสลายตัวของ t-RNA ซึ่งความเป็นจริงก็พบเหตุการณ์ดังกล่าวบ้าง อย่างไรก็ตามยังมีข้อสงสัยอีก
มากที่เกี่ยวข้องกับการเกิดไซโตไคนินจาก t-RNA อาจจะมีวิถีเฉพาะที่ก่อให้เกิดการสังเคราะห์ไซโตไค
นิน ดังแสดงในรูปที่ 12.4 ซึ่งเป็นวิถีที่แยกอย่างเด็ดขาดจากการเกิดไซโตไคนินโดยการสลายตัว
ของ t-RNA
พบไซโตไคนินมากในผลอ่อนและเมล็ด ในใบอ่อนและปลายรากซึ่งไซโตไคนิน อาจจะ
สังเคราะห์ที่บริเวณดังกล่าวหรืออาจจะเคลื่อนย้ายมาจากส่วนอื่น ๆ ในรากนั้นมีหลักฐานที่ชี้ให้เห็น
ว่าไซโตไคนินสังเคราะห์ที่บริเวณนี้ได้เพราะเมื่อมีการตัดรากหรือลาต้น พบว่าของเหลวที่ไหลออกมา
จากท่อน้าจะปรากฏไซโตไคนินจากส่วนล่างขึ้นมา ติดต่อกันถึง 4 วัน ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าไซโตไค
นินสังเคราะห์ที่รากแล้วส่งไปยังส่วนอื่น ๆ โดยทางท่อน้า หลักฐานที่แสดงว่าสังเคราะห์ที่ส่วนอื่นยัง
ไม่พบและการเคลื่อนย้ายของไซโตไคนินจากส่วนอ่อน เช่น ใบ เมล็ด ผล ยังเกิดไม่ดีและไม่มาก
การสลายตัวของไซโตไคนิน
ไซโตไคนินสามารถถูกทาลายโดยการออกซิเดชั่น ทาให้ side chain หลุดจากกลุ่มอะ
ดีนีน ติดตามด้วยการทางานของเอนไซม์ แซนทีนออกซิเดส (XanthineOxidase) ซึ่งสามารถ
ออกซิไดซ์ พิวรีนเกิดเป็นกรดยูริค (Uric Acid) และกลายเป็นยูเรียไปในที่สุด อย่างไรก็ตามในใบพืช
ไซโตไคนินอาจจะถูกเปลี่ยนไปเป็นกลูโคไซด์ โดยน้าตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตาแหน่ง
ที่ 7 ของอะดีนีนเกิดเป็น 7-กลูโคซีลไซโตไคนิน (7-glucosylcyto- kinins) หน้าที่ของไซโตไค
นิน กลูโคไซด์ ยังไม่ทราบแน่ชัดนัก อาจจะเป็น "detoxification" ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเม
ตาบอลิสม์หรืออาจจะเป็นรูปที่ไซโตไคนินอาจจะถูกปลดปล่อยออกมาในบางสภาวะได้ จาก
การศึกษาโดยใช้ Radioactive BA พบว่าสามารถสลายตัวกลายเป็นกรดยูริคแล้วอาจจะรวม
กับ RNA ได้
การเคลื่อนที่ของไซโตไคนิน
ในการให้ไฃโตไคนินกับตาข้างเพื่อกาจัด Apical dominance นั้น พบว่าไซโตไคนินจะไม่
เคลื่อนที่เลยเป็นระยะเวลานานมาก ในการทดลองกับ BA พบว่า BA สามารถเคลื่อนที่ผ่านก้านใบ
และมีลักษณะแบบ Polar เหมือนกับออกซิน ในทุกการศึกษาพบว่า ไซโตไคนินในใบจะไม่เคลื่อนที่
รวมทั้งในผลอ่อนด้วย ส่วนผลของรากในการควบคุมการเจริญเติบโตของส่วนเหนือดินอาจจะอธิบาย
ได้ถึงไซโตไคนินที่เคลื่อนที่ในท่อน้า ซึ่งพบเสมอในการทดลองว่าไซโตไคนินสามารถเคลื่อนที่จากส่วน
รากไปสู่ยอด แต่การเคลื่อนที่แบบ Polar ยังไม่เป็นที่ยืนยันการเคลื่อนที่ของไซโตไคนินในพืชยังมี
ความขัดแย้งกันอยู่บ้าง
การหาปริมาณของไซโตไคนิน
1. ใช้ Tobacco callus test โดยให้ไซโตไคนินกระตุ้นการเจริญของ tobacco pith
cell โดยการชั่งน้าหนักเนื้อเยื่อพืชที่เพิ่มขึ้น แต่เป็นวิธีที่ใช้เวลานาน
2. Leaf senescence test ไซโตไคนินทาให้คลอโรฟิลล์ไม่สลายตัวในแผ่นใบที่ลอยอยู่ใน
สารละลายไซโตไคนินในที่มืด แล้วหาจานวนของคลอโรฟิลล์ที่เหลืออยู่ หลังจากลอยไว้ 3-
4 วัน วิธีนี้ให้ผลไม่ดีเท่าวิธีแรก
กลไกการทางานของไซโตไคนิน
ไซโตไคนินมีบทบาทสาคัญคือควบคุมการแบ่งเซลล์ และไซโตไคนินที่เกิดในสภาพธรรมชาติ
นั้นเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการทางานจึงมีแนวโน้มในความสัมพันธ์
กับกรดนิวคลีอิค กลไกการทางานของไซโตไคนินยังไม่เด่นชัดเหมือนกับออกซิน และจิบเบอเรลลิน
แต่ไซโตไคนินมีผลให้เกิดการสังเคราะห์ RNA และโปรตีนมากขึ้นในเซลล์พืช ผลการทดลองบาง
รายงานกล่าวว่า หลังจากให้ไซโตไคนินกับเซลล์พืชแล้วจะเพิ่มปริมาณของ m-RNA, t-RNA, r-RNA
การศึกษากลไกการทางานของไซโตไคนิน ในช่วงทศวรรษ 1960 ได้เน้นไปในแง่ที่ว่าไซโตไค
นินอาจจะส่งผลของฮอร์โมนผ่าน t-RNA บางชนิด เนื่องจากมีการค้นพบว่ามีกลุ่มไซโตไคนินปรากฏ
อยู่ร่วมกับ t-RNA หลายชนิด ทั้ง t-RNA ของซีรีน (Serine) และไธโรซีน (Thyrosine) มีอะดีนีนเบส
ซึ่งมี side chain และมีคุณสมบัติเป็นไซโตไคนินซึ่งมีประสิทธิภาพสูง ยิ่งไปกว่านั้นในกรณีอะดีนีนซึ่ง
มีคุณสมบัติของไซโตไคนินจะอยู่ถัดจากแอนติโคดอน (Anticodon) ของ t-RNA จึงเป็นที่เชื่อกันว่า
การปรากฏของไซโตไคนินบน t-RNA อาจจะจาเป็นต่อการเกาะกันของโคดอน (Codon) และแอนติ
โคดอนระหว่าง m-RNA และ t-RNA บนไรโบโซม ซึ่งสมมุติฐานที่ว่าไซโตไคนินควบคุมกระบวนการ
Translation ผ่านทาง t-RNA จึงได้รับความเชื่อกันมากในขณะนั้น
อย่างไรก็ตามสมมุติฐานนี้ ในเวลาต่อมาได้รับการวิจารณ์อย่างรุนแรง เช่น ในการสังเคราะห์
t-RNA ตามปกตินั้น อาจจะเกิดการเปลี่ยนรูปของเบส หลังจากที่มีโพลีนิวคลีโอไทด์
(Polynucleotide) แล้ว ซึ่งหมายความว่า side chain บนตาแหน่งที่ 6 ของอะดีนีนนั้นเกิดขึ้น
หลังจากที่อะดีนีนได้อยู่บน t-RNA เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ไคเนตินและซีเอตินหรือไซโตไคนิน
อื่นๆ จะเข้าร่วมกับ t-RNA ในรูปที่เป็นโมเลกุลที่สมบูรณ์ หลักฐานอีกข้อที่ไม่สนับสนุนสมมุติฐานนี้
คือ การพบว่า t-RNA ของเมล็ดข้าวโพดซึ่งมีซีส-ซีเอติน (Cis-Zeatin) ในขณะที่ไซโตไคนินที่เกิดใน
ธรรมชาติในเมล็ดเดียวกันเป็นทรานส์-ซีเอติน (trans-Zeatin) ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะเชื่อว่าไซโต
ไคนินเป็นสารเริ่มต้นของการสังเคราะห์ t-RNA แม้ว่างานทดลองจะยังสับสนและขัดแย้งกันแต่
โดยทั่วไปการรวมของไซโตไคนินเข้าไปใน t-RNA นั้นเกิดในอัตราที่ต่ามากจนไม่น่าเชื่อสมมุติฐาน
ดังกล่าว
งานวิจัยได้เปลี่ยนแนวและสนับสนุนว่าไซโตไคนินอาจจะทางานโดยควบคุม กิจกรรมของ
เอนไซม์โดยตรงมากกว่าที่จะเกี่ยวกับการสังเคราะห์เอนไซม์ ไซโตไคนินมีอิทธิพลต่อเอนไซม์หลาย
ชนิด เช่น ไคเนส (Kinases) ที่ใช้ในกระบวนการหายใจ นอกจากนั้นกิจกรรมของเอนไซม์ที่ใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์แสงก็เพิ่มขึ้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือguest64f3d9
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)Nicha Nichakorn
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพteadateada
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 

Was ist angesagt? (20)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือ
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 

Ähnlich wie Plant hor 5_77_60 (20)

932 pre6
932 pre6932 pre6
932 pre6
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 

Mehr von Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Mehr von Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant hor 5_77_60

  • 1. โครงงานรายวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน นาเสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกกลุ่มนาเสนอ 1. นางสาวจินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่ 2 2. นางสาวเบญญากร ศิริรจนากร เลขที่ 9 3. นางสาวมาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่ 14 4. นางสาวอิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่ 21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ งานนาเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 ( ว30245 ) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
  • 2. กิตติกรรมประกาศ รายงานโครงงานชีววิทยาเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของ ต้นหม่อน จะไม่สามารถประสบความสาเร็จได้ถ้าไม่ได้รับความช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ คุณครูประจาวิชาชีววิทยา ผู้ให้ความรู้เพื่อเป็นแนวทางการศึกษา รวมไปถึงให้คาปรึกษาตลอด ระยะเวลาการดาเนินโครงงาน โดยได้รับความเอื้อเฟื้อสถานที่จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ปกครองของสมาชิกทุกท่าน ที่ช่วยอนุเคราะห์ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือสาหรับใช้ในการทดลอง ตลอดจนแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ได้นามาใช้ในการอ้างอิงประกอบการดาเนินโครงงานด้วย ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและผู้ปกครองทุกท่าน ที่คอยให้ความช่วยเหลือ และให้การสนับสนุนในการดาเนินโครงงานในครั้งนี้ รวมไปถึงสมาชิกและเพื่อนทุกคนที่ได้ให้ความ ร่วมมือและให้กาลังใจมาโดยตลอด คณะผู้จัดทาขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินโครงงานไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 3. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี จุดประสงค์เพื่อรายงานสรุปผลและนาเสนอข้อมูลจากการดาเนินโครงงานเรื่อง การศึกษาผลของ ฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน ซึ่งประกอบไปด้วย รายละเอียดข้อมูลของพืช และฮอร์โมนที่ใช้ในโครงงาน ระยะเวลาดาเนินการ การเก็บข้อมูล ขั้นตอนการดาเนินการ รวมไปถึง การสรุปผล เป็นต้น ในการจัดทารายงานฉบับนี้สามารถดาเนินการได้อย่างราบรื่นและประสบความสาเร็จเป็น อย่างดีได้เนื่องจากได้รับความช่วยเหลือจาก นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ คุณครูประจาวิชาชีววิทยา ผู้ให้ ความรู้เพื่อเป็นแนวทางการศึกษา รวมไปถึงให้คาปรึกษาตลอดระยะเวลาการดาเนินโครงงาน โดย ได้รับความเอื้อเฟื้อสถานที่จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ปกครองของสมาชิกทุกท่าน ที่ช่วย อนุเคราะห์ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือสาหรับใช้ในการทดลอง ตลอดจนแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ได้ นามาใช้ในการอ้างอิงประกอบการดาเนินโครงงานด้วย คณะผู้จัดทาขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วน เกี่ยวข้องในการดาเนินโครงงานเป็นอย่างยิ่ง คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะสามารถให้ความรู้และประโยชน์แก่ผู้มี ความสนใจที่จะศึกษาทุกท่าน หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยและขอน้อมรับ คาแนะนาเพื่อนามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น มา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก คานา ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 - ปัญหา ที่มาและความสาคัญ - สมมติฐานการทดลอง - วัตถุประสงค์ของการทดลอง - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - ขอบเขตของงานวิจัย - ตัวแปรการทดลอง บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 - ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทดลอง - รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง บทที่ 3การดาเนินงาน 11 - วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี - ระยะเวลาในการทดลอง - ขั้นตอนการทดลอง บทที่ 4ผลการทดลอง 17 บทที่ 5สรุปผลและข้อเสนอแนะ 22
  • 5. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวจินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่ 2 2. นางสาวเบญญากร ศิริรจนากร เลขที่ 9 3. นางสาวมาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่ 14 4. นางสาวอิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่ 21 อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ (ครู คศ. 1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์) ปัญหา ที่มาและความสาคัญ ต้นหม่อน เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้าตาลแดง ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านไม่มากนัก ฮอร์โมนไซโตไคนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สามารถกระตุ้นการเพิ่มของจานวนใบ ดังนั้นเราจึงศึกษาจานวน ใบที่เพิ่มขึ้นของต้นหม่อนจากการใช้ไซโตไคนิน คณะผู้จัดทาโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนไซโต ไคนินที่มีต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหม่อนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความเข้มข้นที่เหมาะสมของไซ โตไคนินต่อต้นหม่อน คณะผู้จัดทาโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ ได้จะมีประโยชน์ต่อการใช้ประโยชน์ของไซโตไคนินในการเร่งการเพิ่มจานวนใบในอนาคต สมมติฐานการทดลอง 1. ต้นหม่อนที่ได้รับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้นมาก จะมีจานวนใบมากกว่าต้นหม่อนที่ ได้รับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้นน้อย 2. หลังจากที่ต้นหม่อนได้รับฮอร์โมนไซโตไคนิน จะมีจานวนใบมากกว่าต้นหม่อนที่ไม่ได้รับ ฮอร์โมนไซโตไคนิน วัตถุประสงค์ของการทดลอง 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อจานวนใบของต้นหม่อน 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความเข้มข้นที่ต่างกันของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อการงอกใบใหม่ ของต้นหม่อน
  • 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน 2. ได้ศึกษาเกี่ยวกับระดับความเข้มข้นที่ต่างกันของฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเร่งการงอก ใบใหม่ของต้นหม่อน 3. สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการดาเนินโครงงานไปเผยแพร่ได้อย่างถูกต้องและเกิด ประโยชน์ต่อผู้ได้รับ ขอบเขตของงานวิจัย ในการทาโครงงานครั้งนี้ คณะผู้จัดทาโครงงานได้มุ่งเน้นศึกษาเฉพาะในส่วนของผลของ ฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อจานวนใบของต้นหม่อน ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนิน ตัวแปรตาม คือ จานวนใบของต้นหม่อน ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน อุณหภูมิ สถานที่ ปริมาณน้า ลม ระยะเวลาในการให้ฮอร์โมน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลรายละเอียดของพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง พืชที่ใช้ทดลอง: ต้นหม่อน
  • 7. การจัดหมวดหมู่ภายใต้ระบบการจัดหมวดหมู่อนุกรมวิธานของต้นหม่อน Division Spermatophyta Class Angiospermae Subclass Dicotyledonae Order Urticales Family Morus Species spp. หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (Mulberry) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morus spp. มีชื่อเรียกแตกต่าง กันตามแต่ละท้องถิ่น เช่น ภาคอีสานเรียก มอน ภาษาจีนเรียก ซังเยี่ย เป็นต้น มีถิ่นกาเนิดในประเทศ จีน มีอายุนานได้มากกว่า 100 ปี หากไม่มีปัจจัยด้านโรคและแมลงศัตรูมารบกวน โดยจะเจริญได้ดี ตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาวจะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลาย ฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ สาหรับประเทศไทยพบมีการปลูกมากในพื้นที่ภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อการผลิตเส้นใยไหมและผ้าไหม เนื่องจากเป็นพืช อาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของการประกอบอาชีพการปลูก หม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน ผล หม่อนสามารถรับประทานได้ สารสกัดด้วยเมทานอลจากกากหม่อนที่เหลือจากการทาน้าผลไม้มีฤทธิ์ กาจัดอนุมูลอิสระ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
  • 8. ต้นหม่อน เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ แถบเทือกเขาหิมาลัย แต่ภายหลังได้มีการ นาเข้ามาปลูกในอินโดจีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ไทย ฯลฯ โดยจัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลางหรือไม้ยืนต้นขนาด เล็ก มีลาต้นตั้งตรง สูงได้ประมาณ 2.5 เมตร บางพันธุ์สูงได้ประมาณ 3-7 เมตร แตกกิ่งก้านไม่มากนัก เปลือกลาต้นเรียบเป็นสีน้าตาลแดง สีขาวปนสีน้าตาล หรือสีเทาปนขาว ส่วนเปลือกรากเป็นสีน้าตาล แดงหรือสีเหลือแดง มีเส้นร้อยแตกที่เปลือกผิว พบได้ทั่วไปในป่าดิบ ในประเทศไทยปลูกกันมากทาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใบหม่อน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ หรือรูปไข่กว้าง ปลายใบ แหลมยาว โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจหรือค่อนข้างตัด ขอบใบเรียบหรือหยักเว้าเป็นพู (ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ที่ปลูก) ใบอ่อนขอบใบจักเป็นพูสองข้างไม่เท่ากัน ขอบพูจักเป็นซี่ฟัน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 8-14 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้มเรียบเงา ท้องใบเป็นสีเขียว อ่อน ใบค่อนข้างหนา หลังใบสากระคายมือ เส้นใบมี 3 เส้น ออกจากโคนยาวไปถึงกลางใบ และเส้น ใบออกจากเส้นกลางใบอีก 4 คู่ เส้นร่างแหเห็นได้ชัดเจนจากด้านล่าง ก้านใบเรียวเล็ก ยาวประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร มีหูใบเป็นรูปแถบแคบปลายแหลม ยาวได้ประมาณ 0.2-0.5 เซนติเมตร
  • 9. ดอกหม่อน ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด ดอกเป็นแบบแยกเพศแต่อยู่บนต้น เดียวกัน ลักษณะของดอกเป็นรูปทรงกระบอก ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียจะอยู่ต่างช่อกัน ดอก ย่อยมีขนาดเล็ก วงกลีบรวมเป็นสีขาวหม่นหรือเป็นสีขาวแกมสีเขียว ช่อดอกเป็นหางกระรอก ยาวได้ ประมาณ 2 เซนติเมตร ดอกเพศผู้ วงกลีบรวมมีแฉก 4 แฉก เกลี้ยง ส่วนดอกเพศเมีย วงกลีบรวมมี แฉก 4 แฉก เกลี้ยง ขอบมีขน เมื่อเป็นผลจะอวบน้า รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียมี 2 อัน ช่อดอกตัวผู้ ประกอบด้วยดอกตัวผู้หลาย ๆ ดอกรวมกันเป็นช่อเดียวกัน ดอกตัวผู้ แต่ละ ดอกจะมีกลีบดอก (sepal) 4 กลีบ และเกสรตัวผู้ 4 เกสร (stamen) ซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ก้านเกสร (filament) และอับละอองเกสร (anther) เมื่อดอกบานก้านเกสรจะยืดตัวออกและ ปลดปล่อยละอองเกสรที่มีลักษณะสีเหลืองออก มาเป็นจานวนมาก มีการแพร่กระจายโดยใช้ลม ช่อดอกตัวเมีย ประกอบด้วย กลีบดอก 4 กลีบ รังไข่ (ovary) ก้านเกสรตัวเมีย (style) และยอดเกสรตัวเมีย (stigma) โดยกลีบดอกจะห่อหุ้มรังไข่ไว้ซึ่งทาให้มองดูมีลักษณะคล้าย ลูกบอลสีเขียว ภายในถุงหุ้มรังไข่ (embryo sac) จะมีไข่อ่อน (ovule) บรรจุอยู่ก้านเกสรจะมี ความยาวแตกต่างกันออกไปตามตามแต่ละชนิดของพันธุ์ ยอดเกสรตัวเมียจะมีขนหรือปุ่มที่หนาแน่น ปกคลุมอยู่ด้านบน ซึ่งจะเป็นแหล่งผลิตน้าหวานขึ้นมาสาหรับดักจับเกสรตัวผู้ เมื่อยอดเกสรตัวเมีย ยืดตัวออกเต็มที่และมีลักษณะสีขาวแสดงว่าดอกบานเต็มที่ และเข้าสู่ระยะพร้อมที่จะได้รับการถ่าย ละอองเกสรและได้รับการผสมพันธุ์แล้ว
  • 10. ผลหม่อน เป็นผลที่เกิดจากช่อดอก ผลเป็นผลรวมอยู่ในกระจุกเดียวกัน โดยจะออกตามซอก ใบ ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร ผลเป็นสีเขียว เมื่อผลสุกแล้ว จะเปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงเข้มหรือสีม่วงดา เกือบดา เนื้อนิ่ม ฉ่าน้า และมีรสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดหม่อน มีลักษณะเป็นรูปไข่ สีเหลืองอ่อน หรือเหลืองเข้ม ขนาดเล็กประมาณ 1 มิลลิเมตร ในผลรวมของหม่อนที่เกิดขึ้นทั้งหมดจะเป็นเมล็ดที่ได้รับการผสมเกสรอยู่ บางส่วน แต่บาง เมล็ดเป็นเมล็ดลีบที่ไม่ได้รับการผสมเกสร องค์ประกอบทางเคมี ใบ มีcarotene, succinic acid, adenine, choline, วิตามินซี และตรวจพบสาร flonoid phytoestrogen, triterpene, ceramide, mulberroside, kuwanon L, mulberrofuran A, sangenone C, น้ามันหอมระเหย ผล มี citric acid, วิตามินซี และพบสารสี anthocyanin เนื้อไม้ มี morin กิ่งและลาต้น มี steroidal sapogenin พบสาร 2-oxyresveratrol, mulberroside F เปลือก มี α-amyrin
  • 11. ประเภทของหม่อน แบ่งตามวัตถุประสงค์การนาไปใช้ได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. หม่อนที่ปลูกเพื่อรับประทานผลสด ได้แก่ black mulberry (Morus nigra) มีผลโตเป็น ช่อ เมื่อผลสุกจะมีสีดา มีรสเปรี้ยวอมหวาน นิยมรับประทานผลสดหรือนาไปแปรรูปเป็นสินค้าอื่นได้ 2. หม่อนที่ปลูกเพื่อเลี้ยงไหม ได้แก่ white mulberry (Morus alba Linn.) หม่อนชนิดนี้มี ผลเป็นช่อขนาดเล็ก เมื่อสุกแล้วจะมีผลสีแดง มีรสเปรี้ยว ไม่ค่อยเป็นที่นิยมรับประทาน แต่มีใบขนาด ใหญ่ ปริมาณใบมาก ซึ่งสามารถที่จะใช้เป็นอาหารของหนอนไหมได้เป็นอย่างดี ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหม่อน 1. แสงแดด หม่อนควรได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าได้รับแสงแดดไม่เพียงพอจะส่งผลทาให้การ เจริญเติบโตของต้นหม่อนไม่เต็มที่ มีผลทาให้ผลหม่อนบาง เหี่ยวง่าย คุณค่าทางสารอาหารในใบต่า ดังนั้นแปลงหม่อนไม่ควรมีร่มบัง 2. อุณหภูมิ เป็นปัจจัยกาหนดลักษณะการเจริญเติบโตของหม่อน หม่อนสามารถเจริญเติบโต ได้ดีที่อุณหภูมิ 25 - 30 องศาเซลเซียส ในช่วงอุณหภูมิสูงกว่า 40 องศาเซลเซียสขึ้นไป หม่อนมีการ คายน้าสูง เหี่ยวง่าย แต่ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า 13 องศาเซลเซียส ต้นหม่อนจะชะงักการเจริญเติบโต ทา ให้หม่อนเกิดการพักตัว ฉะนั้นการปลูกหม่อนในที่ที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน ควรพิจารณาถึงชนิดของ พันธุ์หม่อนด้วย จากข้อมูลจึงทาให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นเขตที่มีความเหมาะสมในการปลูกหม่อน เพื่อเป็นอาหารของไหมเป็นอย่างยิ่ง 3. น้า เป็นส่วนประกอบสาคัญต่อการเจริญเติบโตของต้นหม่อน หม่อนต้องการน้ามากในการ เจริญเติบโต หม่อนที่ได้รับน้าอย่างเพียงพอจะมีการเจริญเติบโตที่ดี การให้ความชุ่มชื้นในแปลงหม่อน จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งควบคู่กับการให้ธาตุอาหาร ลักษณะการปลูกหม่อนจึงควรให้ดินมีความชุ่มชื้น อยู่เสมอ แต่ไม่ถึงกับแฉะจนดินขาดออกซิเจนหรือน้าท่วมขัง 4. อากาศ อากาศเป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญในการสังเคราะห์แสง อากาศที่เพียงพอทาให้หม่อน มีประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงได้อย่างเต็มที่ หม่อนต้องการอากาศเช่นพืชทั่วไป คือ ออกซิเจน 21% ในการหายใจเพื่อการดารงชีวิตและคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์ แสงในเวลากลางวัน 5. ดิน เป็นตัวช่วยค้าพยุงลาต้นและเป็นแหล่งให้ธาตุอาหาร โดยธรรมชาติหม่อนขึ้นได้ในดิน ทุกชนิด แต่ดินที่เหมาะสมที่สุดควรจะมีหน้าดินลึกอย่างน้อย 1 เมตร มีอินทรียวัตถุสูง มีคุณสมบัติใน การระบายน้าและถ่ายเทอากาศได้ดีควรเป็นดินร่วนปนทราย มีค่า pH อยู่ระหว่าง 6.0-6.5
  • 12. ลักษณะหม่อนที่ดี ให้ผลผลิตสูง ใบหม่อนมีขนาดพอเหมาะ ไม่หนาหรือบางจนเกินไป มีธาตุอาหารในใบสูง โดยเฉพาะโปรตีน มีน้าหนักใบต่อไร่มาก มีข้อปล้องถี่ จานวนใบต่อกิ่งมาก ซึ่งมีผลให้ต้นเตี้ย เก็บเกี่ยว ใบได้ง่ายมีความสามารถในการแตกกิ่งดี ลักษณะใบเหมาะสมต่อการเลี้ยงไหม มีการตอบสนองต่อปุ๋ย ได้ดีปลูกได้ทุกสภาพแวดล้อม ทนต่อโรคและแมลงได้ค่อนข้างดี โรคและแมลงที่เป็นอันตรายส่งผลต่อการเจริญเติบโต 1. โรคของหม่อน ได้แก่ โรครากเน่า โรคใบด่าง เป็นต้น 2. แมลงศัตรูที่สาคัญ คือ แมลงประเภทปากดูด ได้แก่ แมลงหวี่ขาว เพลี้ยชนิดต่างๆ ไรแดง เป็นต้น โดยจะดูดกินน้าเลี้ยงจากลาต้น ใบ และยอดอ่อนทาให้เติบโตช้า ใบหงิกงอ แห้งตาย แมลงประเภท ปากกัด ได้แก่ แมลงค่อมทอง ด้วงเจาะลาต้น ปลวก เป็นต้น โดยจะกัดกินลาต้น ใบ ทาให้แห้งตาย ประโยชน์และสรรพคุณของหม่อน ยาพื้นบ้าน ใช้ใบ รสจืดเย็น เป็นยาขับเหงื่อ แก้ไข้ ร้อนใน กระหายน้า ทายาต้มใช้อมแก้ไอ เจ็บคอ ทาให้เนื้อเยื่อชุ่มชื้น ระงับประสาท แก้ไข้ แก้หวัด แก้ไอ นากิ่งอ่อน ใบอ่อน ใบ น้าต้มและยา ชง นามาล้างตา แก้อาการติดเชื้อ ตาแดง แฉะ ฝ้าฟาง ใบแก่ตากแห้งมวนสูบเหมือนบุหรี่ แก้ริดสีดวง จมูก ใบ ใช้ทาชามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ราก ขับพยาธิ และเป็นยาสมาน ตากแห้งต้มผสมน้าผึ้ง ยานี้ จะมีรสหวานเย็น ใช้มากในโรคทางเดินหายใจ และการมีน้าสะสมในร่างกายผิดปกติ ใช้แก้โรคความ ดันโลหิตสูง แขนขาหมดความรู้สึก มีฤทธิ์เป็นยาชะล้าง ใบอังไฟและทาด้วยน้ามันมะพร้าวใช้วางบน แผล หรือตาใช้ทาแก้แมลงกัด ยาหล่อลื่นภายนอก ใช้ล้างตา ผสมกับหอมหัวใหญ่เป็นยาพอก รักษา แผลจากการนอนกดทับ ผลรสเปรี้ยวหวาน ต้มน้าหรือเชื่อมกินเป็นยาเย็น ยาระบายอ่อนๆ บรรเทา อาการกระหายน้า แก้โรคปวดข้อ แก้โรคได้เช่นเดียวกับเปลือกรากคือ ใช้แก้ไข้ แก้เจ็บคอ ทาให้ชุ่มคอ บารุงไต ดับร้อน ช่วยย่อย ยาระบาย และยาถ่ายพยาธิ เมล็ด ใช้เพิ่มกากใยอาหาร ส่วนในประเทศจีน ใช้ เปลือกราก กิ่งอ่อน ใบ ผล เป็นยาบารุง แก้โรคเกี่ยวกับทรวงอก ขับปัสสาวะแก้ไอ หืด วัณโรค ปอด การสะสมน้าในร่างกายผิดปกติ โรคปวดข้อ นอกจากสรรพคุณดังกล่าวได้มีการนามาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ไวน์ น้าผลไม้ วุ้น ชาใบหม่อน แยม เป็นต้น
  • 13. ฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง: ฮอร์โมนไซโตไคนิน ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการ ควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช มีผลต่อการข่มของตายอด การ เจริญของตาข้าง และการชราของใบการออกฤทธิ์ของสารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าวเมื่อ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตร์ที่ University of Wisconsin–Madison ไซโตไคนินมีสองประเภท ได้แก่ ไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนโดยมีโซ่ข้างมาเชื่อมต่อ กับเบสที่ตาแหน่ง N6 ไซโตไคนินแบ่งได้เป็นสองชนิดตามชนิดของโซ่ข้างคือ ไอโซพรีนอยด์ ไซโตไค นิน (Isoprenoid cytokinin) มีโซ่ข้างเป็นสารกลุ่มไอโซพรีน กับ อะโรมาติก ไซโตไคนิน เช่น ไคนีติน ซีเอติน และ6-benzylaminopurine อีกกลุ่มหนึ่งคือไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของไดฟีนิลยูเรียและไท เดียซูรอน (TDZ) ไซโตไคนินชนิดอะดีนีนมักสังเคราะห์ที่ราก แคมเบียม และเนื้อเยื่อเจริญอื่นๆเป็น แหล่งที่มีการสังเคราะห์ไวโตไคนินเช่นกัน ไม่มีหลักฐานว่าพืชสร้างไซโตไคนินชนิดฟีนิลยูเรียได้ ไซโต ไคนินเกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณทั้งระยะใกล้และระยะไกล และเกี่ยวข้องกับการขนส่งนิวคลีโอไทด์ ในพืช โดยทั่วไปไซโตไคนินถูกขนส่งผ่านไซเลม ผลของไซโตไคนิน 1. กระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน tissue culture โดยต้อง ใช้ร่วมกับ Auxin ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชนั้นหากให้ฮอร์โมน ไซโตไคนินมากกว่าออกซิน จะทาให้ เนื้อเยื่อนั้นเจริญเป็น ตา ใบ และลาต้น แต่ถ้าหากสัดส่วนของออกซินมากกว่าไซโตไคนินจะทาให้ เนื้อเยื่อนั้นสร้างรากขึ้นมา การเปลี่ยนแปลงของตาในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจาก Callus จากส่วนของ ลาต้นนั้น auxin จะระงับ และไซโตไคนินนั้นจะกระตุ้นการเกิด และต้องมีความสมดุลระหว่างไซโตไค นินและออกซินชิ้นเนื้อเยื่อจึงจะสร้างตาได้
  • 14. 2. ชะลอกระบวนการเสื่อมสลาย เช่น กรณีของใบที่เจริญเต็มที่แล้วถูกตัดออกจาก ต้น คลอโรฟิลล์ RNA และโปรตีนจะเริ่มสลายตัวเร็วกว่าใบที่ติดอยู่กับต้น แม้จะมีการให้อาหารกับใบ เหล่านี้ก็ตาม ถ้าหากเก็บใบเหล่านี้ไว้ในที่มืดการเสื่อมสลายยิ่งเกิดเร็วขึ้น อย่างไรก็ตามหากใบเหล่านี้ เกิดรากขึ้นที่โคนใบหรือก้านใบ จะทาให้การเสื่อมสลายเกิดช้าลง เพราะไซโตไคนินผ่านขึ้นมาจาก รากทางท่อน้า อย่างไรก็ตามการให้ไซโตไคนินกับใบพืชเหล่านี้จะชะลอการเสื่อมสลายได้เหมือนกับ รากเช่นกัน นอกจากนั้นไซโตไคนินยังทาให้มีการเคลื่อนย้ายอาหารจากส่วนอื่นมายังส่วนที่ได้รับไซ โตไคนินได้ เช่น กรณีของใบอ่อนซึ่งมีไซโตไคนินมากกว่าใบแก่จะสามารถดึงอาหารจากใบแก่ได้ ในกรณีเชื้อราที่ทาให้เกิดโรคราสนิม ซึ่งทาให้เกิดการตายของเนื้อเยื่อแล้วบริเวณเนื้อเยื่อที่ ตายจะเกิดสีเขียวล้อมรอบขึ้นมาซึ่งบริเวณสีเขียวนี้มีแป้งสะสมมากแม้กระทั่งส่วนอื่นๆ ของใบตายไป แล้ว ส่วนสีเขียวอาจจะยังคงอยู่ ลักษณะนี้เรียกว่า Green Island ซึ่งบริเวณนี้จะมี ไซโตไคนินสูง คาด ว่าเชื้อราสร้างขึ้นมาเพื่อดึงอาหารมาจากส่วนอื่น 3. ทาให้ตาข้างแตกออกมาหรือกาจัดลักษณะ Apical Dominanceได้ การเพิ่ม ไซโตไคนิน ให้กับตาข้างจะทาให้แตกออกมาเป็นใบได้ ทั้งนี้เพราะตาข้างจะดึงอาหารมาจากส่วนอื่นทาให้ตาข้าง เจริญได้ เชื้อจุลินทรีย์บางชนิดสามารถสร้างไซโตไคนินกระตุ้นให้พืชเกิดการแตกตาจานวนมากมี ลักษณะผิดปกติ เช่น โรค Fascination นอกจากนั้นยังเร่งการแตกหน่อของพืช เช่น บอน และโกสน 4. ทาให้ใบเลี้ยงคลี่ขยายตัว กรณีเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่งอกในความมืด ใบเลี้ยงจะเหลือง และเล็ก เมื่อได้รับแสงจึงจะขยายตัวขึ้นมา ซึ่งเป็นการควบคุมของไฟโตโครม แต่ถ้าหากให้ไซโต โคนินโดยการตัดใบเลี้ยงมาแช่ในไซโตไคนิน ใบเลี้ยงจะคลี่ขยายได้เช่นกัน ลักษณะดังกล่าวพบ กับ แรดิช ผักสลัด และแตงกวา ออกซินและจิบเบอเรลลินจะไม่ให้ผลดังกล่าว 5. ทาให้เกิดการสร้างคลอโรพลาสต์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพอย่างหนึ่ง เช่น เมื่อ Callus ได้รับแสงและไซโตไคนิน Callus จะกลายเป็นสีเขียว เพราะพลาสติดเปลี่ยนเป็น คลอโรพลาสต์ได้ โดยการเกิดกรานาจะถูกกระตุ้นโดยไซโตไคนิน 6. ทาให้พืชทั้งต้นเจริญเติบโต 7. กระตุ้นการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด บทที่ 3
  • 15. การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. กระถางต้นไม้ (บรรจุต้นหม่อน) 2. ถาดรองกระถางต้นไม้ 3. ฮอร์โมนไซโตไคนิน 4. ป้ายติดกระถาง 5. ป้ายติดฟอกกี้(กระบอกฉีดน้า) 6. ฟอกกี้(กระบอกฉีดน้า)สาหรับฉีดฮอร์โมนและฉีดน้า 7. หลอดหยด 8. กระบอกตวง 9. บีกเกอร์ 10. ไม้เสียบ(สาหรับติดกับป้ายชื่อ) ระยะเวลาในการทดลอง เริ่มทาการทดลองเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2560 สิ้นสุดการทดลองเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ขั้นตอนการทดลอง 1. เตรียมต้นหม่อน 9 ต้น โดยที่ต้นหม่อนทุกต้นถูกบรรจุอยู่ในกระถางต้นไม้และวางบนถาดรอง กระถาง และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น (ชุดควบคุม, ชุด Low dose, ชุด High dose) รูป 1.1 นาต้นหม่อนมาวางไว้บริเวณใกล้เคียงก่อน เมื่อเตรียมพื้นที่ในการวางแล้วจึงจัดวางต้นหม่อนทั้ง 9 ต้น
  • 16. รูป 1.2 ต้นหม่อนทั้ง 9 ต้นบริเวณหน้าตึกศิลปะ 2. จัดทาป้ายชื่อสาหรับต้นหม่อนทุกต้น นาไม้เสียบมาติดบริเวณด้านหลังป้ายชื่อต้นหม่อนทุก ป้าย แล้วจึงนาไปปักลงดินในกระถางต้นหม่อนแต่ละชุดการทดลอง (โดยมีรายละเอียดข้อมูล ของต้นหม่อน 9 ต้น แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังภาพ) รูป 2.1 จัดทาป้ายชื่อ (โดยจะเขียนร้อยละของฮอร์โมนที่ละลายในน้าภายหลังการคานวณค่าความเข้มข้น) รูป 2.2 ชุด ควบคุม รูป 2.3 ชุด Low dose รูป 2.4 ชุด High dose
  • 17. 3. ทาการคานวณค่าความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนินที่ต้องการใช้ทดลอง แล้วนาสารละลาย ที่ได้บรรจุลงในฟอกกี้แต่ละชุดการทดลอง (ใช้ฟอกกี้ 1 อันต่อชุดการทดลอง 1 ชุด) - ชุด control (ความเข้มข้นเป็น 0 %) - ชุด High dose (ความเข้มข้นเป็น 0.1 %) - ชุด Low dose (ความเข้มข้นเป็น 0.05 %) รูป 3.1 ขวดฮอร์โมนไซโตไคนิน รูป 3.2 ขณะการเตรียมสารละลาย (กลาง) 4. จัดทาป้ายชื่อสาหรับฟอกกี้ทั้ง 3 กลุ่ม (เพื่อบอกความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนที่ได้ เตรียมไว้) จากนั้นนาป้ายชื่อติดที่ด้านข้างของฟอกกี้ (กระบอกฉีดน้า) ทั้ง 3 กระบอก รูป 4.1 ฟอกกี้ที่ถูกติดป้ายชื่อบอกข้อมูลค่าความเข้มข้นของสารละลาย รูป 4.2 ขณะติดป้ายชื่อบอกข้อมูลฮอร์โมนไซโตไคนิน รูป 3.3 ฟอกกี้ (กระบอกฉีดน้า) ที่ถูกบรรจุ สารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆ(ขวา)
  • 18. 5. ทาการฉีดฮอร์โมนตามชุดการทดลอง ที่มีความเข้มข้นต่างกันตามส่วนของต้นไม้ในทุกๆวัน รูป 5.1 ขณะฉีดฮอร์โมนตามชุดการทดลอง 6. สังเกตการเปลี่ยนแปลงจานวนใบของต้นไม้แล้วบันทึกผลการทดลอง รูป 6.1 ตัวอย่างการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของจานวนใบ วิธีการเก็บข้อมูล
  • 19. เริ่มนับจานวนใบของต้นหม่อน ตั้งแต่วันแรกที่ทาการฉีดฮอร์โมน โดยนับจานวนใบก่อนฉีด หลังจากนั้นจึงฉีดฮอร์โมนแล้วเริ่มทาการนับจานวนใบในทุกๆ 3 วัน โดยทาเครื่องหมายไว้บนใบใหม่ที่ เก็บข้อมูลโดยการนับแล้ว จนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ทาการติดตามผลการทดลองอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
  • 21. ตารางผลการทดลอง *หมายเหตุ วันเสาร์-อาทิตย์ สมาชิกกลุ่มได้เลื่อนมาเก็บข้อมูลในวันจันทร์ถัดมา วันที่ 17-26 ก.ค. 60 เป็นวันสอบจึงไม่สะดวกในการเก็บข้อมูล **หมายเหตุ ได้มีการเปลี่ยนแปลงต้นไม้ในวันที่ 26 มิ.ย. 60, 3 ก.ค. 60 และ 13 ก.ค. 60 ***หมายเหตุ ใบของต้นไม้มีการร่วงบ้างในบางวัน แผนภูมิแท่งแสดงค่าเฉลี่ยของจานวนใบของต้นหม่อนในวันที่ทาการเก็บข้อมูล จานวนใบ วันที่บันทึก High dose (0.1%) Low dose (0.05%) Control (0%) ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ค่า เฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ค่า เฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ค่า เฉลี่ย 6 มิ.ย. 60 10 45 13 12.67 12 9 8 9.67 7 9 10 8.67 9 มิ.ย. 60 11 16 14 13.67 13 12 9 11.3 3 7 10 9 8.67 12 มิ.ย. 60 11 15 13 13 10 12 11 11 9 12 10 10.33 1 5มิ.ย. 60 10 12 9 10.33 6 4 5 5 6 4 3 4.33 19 มิ.ย. 60 6 8 7 7 3 4 2 3 3 5 2 3.33 22 มิ.ย. 60 7 9 8 8 3 4 3 3.33 3 4 2 3 26 มิ.ย. 60 8 9 8 8.33 4 5 4 4.33 3 4 2 3 29 มิ.ย. 60 10 10 8 9.33 4 5 3 4 3 4 2 3 3 ก.ค. 60 10 10 9 9.67 5 6 5 5.33 4 5 3 4 6 ก.ค. 60 10 10 9 9.67 5 6 5 5.33 5 6 4 5 10 ก.ค. 60 11 12 10 11 6 5 5 5.33 5 5 5 5 13 ก.ค. 60 12 11 9 10.67 6 5 7 6 5 4 6 5 27 ก.ค. 60 14 15 17 15.33 9 8 9 8.67 6 7 7 5 31 ก.ค. 60 14 15 16 15 9 8 9 8.67 6 7 7 5 ค่าเฉลี่ย 10.29 11.93 10.71 6.78 6.64 6.07 5.14 6.43 5.14
  • 23. วันที่เก็บข้อมูล ภายหลังทาการทดลอง 2 สัปดาห์ สามารถสังเกตเห็นความแตกต่างของต้นหม่อนในแต่ละชุด การควบคุมได้โดยการนาต้นหม่อนที่สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงออกมาเปรียบเทียบชุดการทดลองกัน ค่าเฉลี่ยจานวนใบ
  • 24. ต้นหม่อนบางต้นเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของสีใบ จากสีเขียวเป็นสีเหลือง บางต้นใบเริ่มเหี่ยว และเฉาลงจนมีลักษณะแห้งกรอบ และหลุดร่วงลงไปจนกระทั่งตายในที่สุด เนื่องจากปริมาณดินที่มี น้อยทาให้ขาดสารอาหาร รวมไปถึงสภาพอาหารด้วย หลังจากนั้นได้นาต้นหม่อนชุดใหม่มาทาการทดลอง โดยนาต้นหม่อนมาทีละ 3 ต้น 3 ครั้ง แบ่งตามชุดการทดลอง แต่ในครั้งนี้ได้สังเกตปริมาณดินให้มีระดับเท่าๆกันไม่น้อยเกินไป และเมื่อทา การฉีดฮอร์โมนและบันทึกผลพบว่า ต้นหม่อนมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงคล้ายกับต้นหม่อนในชุดการ ทดลองเดิม คือ ใบเหี่ยวลง และเริ่มหลุดร่วง แต่เมื่อถึงระยะเวลาหนึ่งพบว่า ต้นหม่อนเริ่มมีการแตก ตาข้างและมีใบใหม่งอกออกมา สามารถสังเกตเห็นใบที่งอกออกมาใหม่ได้อย่างชัดเจน
  • 26. สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง จากการทดลองการเพิ่มจานวนใบของต้นหม่อนโดยใช้ฮอร์โมนไซโตไคนินในความเข้มขึ้น ต่างกันไป พบว่ากลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นสูง(กลุ่ม high dose) มีจานวนใบเพิ่มขึ้นมากกว่า กลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนความเข้มข้นต่า (กลุ่ม low dose) และไม่ใช้ฮอร์โมนควบคุมตามลาดับ แสดงว่า ฮอร์โมนไซโตไคนินมีคุณสมบัติในการเร่งอัตราเพิ่มจานวนใบของต้นไม้ บรรณานุกรม 1. เว็บเพื่อพืชเกษตรไทย. 2560. หม่อน/ใบหม่อน (mulberry) ประโยชน์ และสรรพคุณหม่อน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
  • 27. http://puechkaset.com/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD% E0%B8%99/. 15 มิถุนายน 2560. 2. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2560. หม่อน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=125. 15 มิถุนายน 2560. 3. สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน). 2560. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของ หม่อน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.arda.or.th/kasetinfo/silk/index.php?option=com_content&view=art icle&id=83&Itemid=77. 15 มิถุนายน 2560. 4. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2560. หม่อน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8% AD%E0%B8%99. 16 มิถุนายน 2560. 5. รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ. 2560. ฮอร์โมนพืช. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm#cyto. 16 มิถุนายน 2560. 6. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2560. ไซโตไคนิน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%82%E0%B8% 95%E0%B9%84%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99. 16 มิถุนายน 2560.
  • 29. สมาชิกกลุ่มการดาเนินโครงงาน (คณะผู้จัดทา) นางสาวมาริสา ปัญญาวุฒิชัย, นางสาวเบญญากร ศิริรจนากร, นางสาวจินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ และนางสาวอิสรีย์ ไพพินิจ โดยเรียงจากซ้ายไปขวาตามลาดับ ขวดบรรจุฮอร์โมนไซโตไคนินที่ใช้ในการทดลอง
  • 32. ตารางการรดน้าต้นไม้ วันที่ การรดน้าและฉีดฮอร์โมน หมายเหตุ 5 มิ.ย.60 จินต์จุฑา 6 มิ.ย.60 เบญญากร 7 มิ.ย.60 มาริสา 8 มิ.ย.60 อิสรีย์ 9 มิ.ย.60 จินต์จุฑา 12 มิ.ย.60 มาริสา 13 มิ.ย.60 มาริสา 14 มิ.ย.60 อิสรีย์ 15 มิ.ย.60 จินต์จุฑา 16 มิ.ย.60 เบญญากร 19 มิ.ย.60 เบญญากร 20 มิ.ย.60 อิสรีย์ 21 มิ.ย.60 จินต์จุฑา 22 มิ.ย.60 จินต์จุฑา 23 มิ.ย.60 มาริสา 26 มิ.ย.60 มาริสา 27 มิ.ย.60 เบญญากร 28 มิ.ย.60 อิสรีย์ 29 มิ.ย.60 เบญญากร 30 มิ.ย.60 จินต์จุฑา 3 ก.ค.60 เบญญากร 4 ก.ค.60 มาริสา 5 ก.ค.60 อิสรีย์ 6 ก.ค.60 จินต์จุฑา 7 ก.ค.60 มาริสา 10 ก.ค.60 เบญญากร 11 ก.ค.60 อิสรีย์ 12 ก.ค.60 จินต์จุฑา
  • 33. 13 ก.ค.60 เบญญากร วันที่ การรดน้าและฉีดฮอร์โมน หมายเหตุ 14 ก.ค.60 มาริสา 27 ก.ค.60 อิสรีย์ 31 ก.ค.60 จินต์จุฑา 1 ส.ค.60 เบญญากร 2 ส.ค.60 มาริสา 3 ส.ค.60 จินต์จุฑา
  • 34. ประวัติและวิธีการศึกษาฮอร์โมนไซโตไคนิน (ข้อมูลเพิ่มเติม) ประวัติการค้นพบฮอร์โมนไซโตไคนิน การค้นพบฮอร์โมนในกลุ่มนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในปี ค.ศ. 1920 Haberlandt ได้แสดงให้เห็นว่ามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยู่ในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ้นให้เนื้อเยื่อพาเรนไคมา ในหัวมันฝรั่งกลับกลายเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้ ซึ่งแสดงว่าสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้มีการแบ่งเซลล์ ต่อมามีการพบว่าน้ามะพร้าวและเนื้อเยื่อของหัวแครอทมีคุณสมบัติเช่นเดียวกัน FOLKE KARL SKOOG July 15, 1908–February 15, 2001 Skoog และ Steward ได้ทาการทดลองในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยศึกษาความต้องการสิ่ง ที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนของเซลล์ (Callus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ไม่มีการ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท จากผลการทดลองนี้ทาให้ รู้จักไซโตไคนินในระยะปี ค.ศ. 1950 ซึ่งเป็นฮอร์โมนพืชที่จาเป็นต่อการแบ่งเซลล์และการ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของเนื้อเยื่อ ปัจจุบันพบว่าไซโตไคนิน ยังเกี่ยวข้องกับการเสื่อมสภาพ(Senescence) และการควบคุมการ เจริญของตาข้างโดยตายอด (Apical Dominance) จากการศึกษาของ Skoog โดยเลี้ยงเนื้อเยื่อ pith ของยาสูบ พบว่าการที่เนื้อเยื่อจะเจริญ ต่อไปได้นั้นจะต้องมีอาหารและฮอร์โมน เช่น ออกซิน โดยถ้าให้ออกซินในอาหารจะมีการเจริญของ เนื้อเยื่อนั้นน้อยมาก เซลล์ขนาดใหญ่เกิดขึ้นโดยไม่แบ่งเซลล์ นอกจากนั้นจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางคุณภาพ อย่างไรก็ตามหากเพิ่ม Purine Base ชนิดอะดีนีน (Adenine) ลงไปในอาหารรวมกับ
  • 35. IAA พบว่า เนื้อเยื่อจะกลายเป็นกลุ่มเซลล์ (Callus) ถ้าใส่อะดีนีนอย่างเดียวรวมกับอาหาร เนื้อเยื่อจะ ไม่สร้างกลุ่มเซลล์ขึ้นมา ดังนั้นจึงมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะดีนีน และ IAA ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการแบ่ง เซลล์ขึ้น อะดีนีนเป็นพิวรีนเบส ซึ่งมีสูตรเป็น 6-อะมิโนพิวรีน (6-aminopurine) และปรากฏอยู่ใน สภาพธรรมชาติโดยเป็นส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิค ในปี ค.ศ.1955 Miller ได้แยกสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายคลึงแต่มีประสิทธิภาพ ดีกว่าอะดีนีน ซึ่งได้จากการสลายตัวของ DNA ของสเปิร์มจากปลาแฮร์ริง สารชนิดนี้ คือ 6-(furfuryl- amino) purine ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายอะดีนีน เนื่องจากสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้เกิดการแบ่ง เซลล์โดยร่วมกับออกซิน จึงได้รับชื่อว่าไคเนติน (Kinetin) ไคเนติน (Kinetin) เป็นสารที่ไม่พบตามธรรมชาติในต้นพืช แต่เป็นสารสังเคราะห์ ต่อมาได้มี การค้นพบไซโตไคนินสังเคราะห์อีกหลายชนิด สารสังเคราะห์ที่มีกิจกรรมของไซโตไคนินสูงที่สุดคือ เบนซิล อะ ดีนีน (Benzyladenine หรื อ BA) แล ะเตตร ะไฮโ ดรไพ ร านิล เบนซิล อะ ดีนีน (tetrahydropyranylbenzyladenine หรือ PBA) ซีเอติน ไซโตไคนินธรรมชาติที่พบในพืช ไซโตไคนินที่พบในพืช แม้ว่าไคเนติน BA และ PBA เป็นสารที่ไม่พบในต้นพืช แต่สารซึ่งพบในอวัยวะของพืชหลาย ชนิด เช่น ในน้ามะพร้าว ในผลอ่อนของข้าวโพด ให้ผลทางสรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกับ สาร BA และ PBA สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลายชนิด ซึ่งมี คุณสมบัติเหมือนไค เนตินนั้น เรียกโดยทั่วๆ ไปว่า ไซโตไคนิน ซึ่งเป็นสารที่เมื่อมีผลร่วมกับออกซินแล้วจะเร่งให้เกิดการ แบ่งเซลล์ในพืช มีหลักฐานเด่นชัดชี้ว่าไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติเป็นสารประกอบพิวรีน ในปี 1964 Letham ได้แยกไซโตไคนินชนิดหนึ่งจากเมล็ดข้าวโพดหวาน พบว่าเป็นสาร 6-(4-hydroxy-3- methyl but-2-enyl) aminopurine และได้ตั้งชื่อว่า ซีเอติน (Zeatin) นับตั้งแต่มีการแยกไซโตไคนินชนิดแรกคือซีเอตินแล้ว ก็มีการค้นพบไซโตไคนิน อีกหลายชนิด ซึ่งทุกชนิดเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีน คือ เป็น 6-substituted aminopurines ซีเอตินเป็นไซโตไคนิน ธรรมชาติซึ่งมีประสิทธิภาพสูงที่สุด
  • 36. การสังเคราะห์ไซโตไคนิน การสังเคราะห์ไซโตไคนินในต้นพืชเกิดโดยการ substitution ของ side chain บนคาร์บอน อะตอมที่ 6 ของอะดีนีน ซึ่ง side chain ของไซโตไคนินในสภาพธรรมชาติ ประกอบด้วย คาร์บอน 5 อะตอม จึงเป็นการชี้ให้เห็นว่าเกิดมาจากวิถีการสังเคราะห์ ไอโซพรีนอยด์ (Isoprenoid) ต่อมาพบว่า กลุ่มของไซโตไคนิน เกิดขึ้นบน t-RNA ได้ และเมื่อใช้เมวาโล เนต (Mavalonate หรือ MVA) ที่มีสารกัมมันตรังสี จะสามารถไปรวมกับกลุ่มอะดีนีนของ t-RNA เกิดเป็นไดเมทธิลอัลลิล(Dimethylallyl side chain) เกาะด้านข้าง ในเชื้อราRhizopusนั้น Dimethylallyl adenine สามารถเปลี่ยนไปเป็น Zeatin ได้ จึงคาดกันว่า Zeatin อาจจะเกิดจาก การออกซิไดซ์ Dimethylallyl adenine การเกิดกลุ่มของไซโตไคนินใน t-RNA นี้ หมายความว่า ไซโตไคนิน อาจจะเกิดขึ้นมาจาก การสลายตัวของ t-RNA ซึ่งความเป็นจริงก็พบเหตุการณ์ดังกล่าวบ้าง อย่างไรก็ตามยังมีข้อสงสัยอีก มากที่เกี่ยวข้องกับการเกิดไซโตไคนินจาก t-RNA อาจจะมีวิถีเฉพาะที่ก่อให้เกิดการสังเคราะห์ไซโตไค นิน ดังแสดงในรูปที่ 12.4 ซึ่งเป็นวิถีที่แยกอย่างเด็ดขาดจากการเกิดไซโตไคนินโดยการสลายตัว ของ t-RNA พบไซโตไคนินมากในผลอ่อนและเมล็ด ในใบอ่อนและปลายรากซึ่งไซโตไคนิน อาจจะ สังเคราะห์ที่บริเวณดังกล่าวหรืออาจจะเคลื่อนย้ายมาจากส่วนอื่น ๆ ในรากนั้นมีหลักฐานที่ชี้ให้เห็น ว่าไซโตไคนินสังเคราะห์ที่บริเวณนี้ได้เพราะเมื่อมีการตัดรากหรือลาต้น พบว่าของเหลวที่ไหลออกมา จากท่อน้าจะปรากฏไซโตไคนินจากส่วนล่างขึ้นมา ติดต่อกันถึง 4 วัน ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าไซโตไค นินสังเคราะห์ที่รากแล้วส่งไปยังส่วนอื่น ๆ โดยทางท่อน้า หลักฐานที่แสดงว่าสังเคราะห์ที่ส่วนอื่นยัง ไม่พบและการเคลื่อนย้ายของไซโตไคนินจากส่วนอ่อน เช่น ใบ เมล็ด ผล ยังเกิดไม่ดีและไม่มาก การสลายตัวของไซโตไคนิน ไซโตไคนินสามารถถูกทาลายโดยการออกซิเดชั่น ทาให้ side chain หลุดจากกลุ่มอะ ดีนีน ติดตามด้วยการทางานของเอนไซม์ แซนทีนออกซิเดส (XanthineOxidase) ซึ่งสามารถ ออกซิไดซ์ พิวรีนเกิดเป็นกรดยูริค (Uric Acid) และกลายเป็นยูเรียไปในที่สุด อย่างไรก็ตามในใบพืช ไซโตไคนินอาจจะถูกเปลี่ยนไปเป็นกลูโคไซด์ โดยน้าตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตาแหน่ง ที่ 7 ของอะดีนีนเกิดเป็น 7-กลูโคซีลไซโตไคนิน (7-glucosylcyto- kinins) หน้าที่ของไซโตไค นิน กลูโคไซด์ ยังไม่ทราบแน่ชัดนัก อาจจะเป็น "detoxification" ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเม ตาบอลิสม์หรืออาจจะเป็นรูปที่ไซโตไคนินอาจจะถูกปลดปล่อยออกมาในบางสภาวะได้ จาก การศึกษาโดยใช้ Radioactive BA พบว่าสามารถสลายตัวกลายเป็นกรดยูริคแล้วอาจจะรวม กับ RNA ได้
  • 37. การเคลื่อนที่ของไซโตไคนิน ในการให้ไฃโตไคนินกับตาข้างเพื่อกาจัด Apical dominance นั้น พบว่าไซโตไคนินจะไม่ เคลื่อนที่เลยเป็นระยะเวลานานมาก ในการทดลองกับ BA พบว่า BA สามารถเคลื่อนที่ผ่านก้านใบ และมีลักษณะแบบ Polar เหมือนกับออกซิน ในทุกการศึกษาพบว่า ไซโตไคนินในใบจะไม่เคลื่อนที่ รวมทั้งในผลอ่อนด้วย ส่วนผลของรากในการควบคุมการเจริญเติบโตของส่วนเหนือดินอาจจะอธิบาย ได้ถึงไซโตไคนินที่เคลื่อนที่ในท่อน้า ซึ่งพบเสมอในการทดลองว่าไซโตไคนินสามารถเคลื่อนที่จากส่วน รากไปสู่ยอด แต่การเคลื่อนที่แบบ Polar ยังไม่เป็นที่ยืนยันการเคลื่อนที่ของไซโตไคนินในพืชยังมี ความขัดแย้งกันอยู่บ้าง การหาปริมาณของไซโตไคนิน 1. ใช้ Tobacco callus test โดยให้ไซโตไคนินกระตุ้นการเจริญของ tobacco pith cell โดยการชั่งน้าหนักเนื้อเยื่อพืชที่เพิ่มขึ้น แต่เป็นวิธีที่ใช้เวลานาน 2. Leaf senescence test ไซโตไคนินทาให้คลอโรฟิลล์ไม่สลายตัวในแผ่นใบที่ลอยอยู่ใน สารละลายไซโตไคนินในที่มืด แล้วหาจานวนของคลอโรฟิลล์ที่เหลืออยู่ หลังจากลอยไว้ 3- 4 วัน วิธีนี้ให้ผลไม่ดีเท่าวิธีแรก กลไกการทางานของไซโตไคนิน ไซโตไคนินมีบทบาทสาคัญคือควบคุมการแบ่งเซลล์ และไซโตไคนินที่เกิดในสภาพธรรมชาติ นั้นเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการทางานจึงมีแนวโน้มในความสัมพันธ์ กับกรดนิวคลีอิค กลไกการทางานของไซโตไคนินยังไม่เด่นชัดเหมือนกับออกซิน และจิบเบอเรลลิน แต่ไซโตไคนินมีผลให้เกิดการสังเคราะห์ RNA และโปรตีนมากขึ้นในเซลล์พืช ผลการทดลองบาง รายงานกล่าวว่า หลังจากให้ไซโตไคนินกับเซลล์พืชแล้วจะเพิ่มปริมาณของ m-RNA, t-RNA, r-RNA การศึกษากลไกการทางานของไซโตไคนิน ในช่วงทศวรรษ 1960 ได้เน้นไปในแง่ที่ว่าไซโตไค นินอาจจะส่งผลของฮอร์โมนผ่าน t-RNA บางชนิด เนื่องจากมีการค้นพบว่ามีกลุ่มไซโตไคนินปรากฏ อยู่ร่วมกับ t-RNA หลายชนิด ทั้ง t-RNA ของซีรีน (Serine) และไธโรซีน (Thyrosine) มีอะดีนีนเบส ซึ่งมี side chain และมีคุณสมบัติเป็นไซโตไคนินซึ่งมีประสิทธิภาพสูง ยิ่งไปกว่านั้นในกรณีอะดีนีนซึ่ง มีคุณสมบัติของไซโตไคนินจะอยู่ถัดจากแอนติโคดอน (Anticodon) ของ t-RNA จึงเป็นที่เชื่อกันว่า การปรากฏของไซโตไคนินบน t-RNA อาจจะจาเป็นต่อการเกาะกันของโคดอน (Codon) และแอนติ โคดอนระหว่าง m-RNA และ t-RNA บนไรโบโซม ซึ่งสมมุติฐานที่ว่าไซโตไคนินควบคุมกระบวนการ Translation ผ่านทาง t-RNA จึงได้รับความเชื่อกันมากในขณะนั้น อย่างไรก็ตามสมมุติฐานนี้ ในเวลาต่อมาได้รับการวิจารณ์อย่างรุนแรง เช่น ในการสังเคราะห์ t-RNA ตามปกตินั้น อาจจะเกิดการเปลี่ยนรูปของเบส หลังจากที่มีโพลีนิวคลีโอไทด์
  • 38. (Polynucleotide) แล้ว ซึ่งหมายความว่า side chain บนตาแหน่งที่ 6 ของอะดีนีนนั้นเกิดขึ้น หลังจากที่อะดีนีนได้อยู่บน t-RNA เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ไคเนตินและซีเอตินหรือไซโตไคนิน อื่นๆ จะเข้าร่วมกับ t-RNA ในรูปที่เป็นโมเลกุลที่สมบูรณ์ หลักฐานอีกข้อที่ไม่สนับสนุนสมมุติฐานนี้ คือ การพบว่า t-RNA ของเมล็ดข้าวโพดซึ่งมีซีส-ซีเอติน (Cis-Zeatin) ในขณะที่ไซโตไคนินที่เกิดใน ธรรมชาติในเมล็ดเดียวกันเป็นทรานส์-ซีเอติน (trans-Zeatin) ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะเชื่อว่าไซโต ไคนินเป็นสารเริ่มต้นของการสังเคราะห์ t-RNA แม้ว่างานทดลองจะยังสับสนและขัดแย้งกันแต่ โดยทั่วไปการรวมของไซโตไคนินเข้าไปใน t-RNA นั้นเกิดในอัตราที่ต่ามากจนไม่น่าเชื่อสมมุติฐาน ดังกล่าว งานวิจัยได้เปลี่ยนแนวและสนับสนุนว่าไซโตไคนินอาจจะทางานโดยควบคุม กิจกรรมของ เอนไซม์โดยตรงมากกว่าที่จะเกี่ยวกับการสังเคราะห์เอนไซม์ ไซโตไคนินมีอิทธิพลต่อเอนไซม์หลาย ชนิด เช่น ไคเนส (Kinases) ที่ใช้ในกระบวนการหายใจ นอกจากนั้นกิจกรรมของเอนไซม์ที่ใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์แสงก็เพิ่มขึ้น