SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นความถี่
กับบทบาทหน้าที่ของ กสทช. ที่จะปรับเปลี่ยนไป
วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง
NBTC Policy Watch
พยายามดึงอานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่กลับไปยัง
หน่วยงานรัฐ
• มาตรา 27 (๑) จัดทําแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ ตารางกําหนดคลื่น
ความถี่แห่งชาติ แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ แผน
แม่บทกิจการโทรคมนาคม แผนความถี่วิทยุ และแผนเลขหมายโทรคมนาคม
และแผนความถี่วิทยุในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ
โทรคมนาคม ที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนการพัฒนาดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคมของคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ
พยายามดึงอานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่กลับไปยัง
หน่วยงานรัฐ
• มาตรา ๔๘ ให้มีแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ เสนอต่อคณะกรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้
(๑) รายละเอียดเกี่ยวกับตารางกําหนดคลื่นความถี่ทั้งหมดที่ประเทศไทยสามารถ
นํามาใช้ประโยชน์ได้
(๒) แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ระหว่างประเทศ
(๓) รายละเอียดเกี่ยวกับคลื่นความถี่ที่กําหนดให้ใช้ในกิจการกระจายเสียงและ
กิจการโทรทัศน์กิจการโทรคมนาคม และกิจการอื่น
(๔) แนวทางในการคืนคลื่นความถี่เพื่อนําไปจัดสรรใหม่หรือการปรับปรุงการใช้
คลื่นความถี่
พยายามดึงอานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่กลับไปยัง
หน่วยงานรัฐ
• มาตรา 27 (๒) กําหนดการจัดสรรคลื่นความถี่ระหว่างคลื่นความถี่ที่ใช้ใน
กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการ
โทรคมนาคม
• มาตรา 27 (๔) พิจารณาอนุญาตและกํากับดูแลการใช้คลื่นความถี่และ
เครื่องวิทยุคมนาคมในการประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และ
กิจการโทรคมนาคม หรือในกิจการวิทยุคมนาคม และกําหนดหลักเกณฑ์และ
วิธีการเกี่ยวกับการอนุญาต เงื่อนไข หรือค่าธรรมเนียม การอนุญาตดังกล่าว
ข้อสังเกต
• คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินั้นส่วนมากเป็นตัวแทนของ
หน่วยงานรัฐ (ประมาณ 25 ตําแหน่ง) ที่เหลือเป็นกรรมการผู้แทนภาคเอกชน (4
ตําแหน่ง) และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (5-8 ตําแหน่ง) ซึ่งแต่งตั้งโดย ครม.
• ประธานกรรมการบริษัท ทีโอที และ กสท โทรคมนาคม เป็นคณะกรรมการอยู่
ด้วย
• มีแนวโน้มที่จะออกแบบนโยบายการจัดสรรคลื่นความถี่ (รวมถึงการคืนคลื่น
ความถี่) ไปในทางเพื่อผลประโยชน์ของรัฐ
• ผู้ประกอบการอย่างทีโอทีและ กสท. กลับมีอํานาจในการกําหนดการจัดสรรคลื่น
ความถี่เสียเอง
• ไม่มีตัวแทนด้านสังคม (สวัสดิการ ชุมชน ฯลฯ) การจัดสรรคลื่นความถี่เพื่อ
ประโยชน์ของคนกลุ่มนี้อาจจะหายไป
เปลี่ยนจากการประมูลไปเป็ นการคัดเลือก
• มาตรา 41 วรรค 6 ในกรณีที่เป็นการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการ
กระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ซึ่งเป็นการประกอบกิจการทางธุรกิจตามที่
กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการ
โทรทัศน์ ให้ใช้วิธีคัดเลือกโดยวิธีการประมูลคลื่นความถี่ ทั้งในระดับชาติ ระดับ
ภูมิภาคและระดับท้องถิ่น โดยให้แยกกันประมูลในแต่ละระดับ ทั้งนี้ตาม
หลักเกณฑ์วิธีการ ระยะเวลาและเงื่อนไขที่กสทช. ประกาศกําหนด
• แก้มาตรา 45 วรรค 1 ผู้ใดประสงค์จะใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมต้อง
ได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องดําเนินการโดยวิธีการประมูลคลื่น
ความถี่คัดเลือก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และเงื่อนไขที่ กสทช.
ประกาศกําหนด โดยให้นําความในมาตรา ๔๑ วรรคสี่ และวรรคเจ็ดมาใช้บังคับ
โดยอนุโลม...
ข้อสังเกต
• กรณีกิจการวิทยุและโทรทัศน์
– มายาคติ: ประเทศอื่นๆ ไม่ใช้การประมูลในการให้ใบอนุญาต ประเด็นคือ กิจการ
ประเภทสาธารณะและชุมชนก็ใช้วิธีการคัดเลือกอยู่แล้ว มีเฉพาะประเภทธุรกิจที่
ต้องประมูล
– วิธีอื่นจะมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสร้างการแข่งขันที่เท่าเทียมและเป็นธรรมได้
ดีกว่าหรือเปล่า?
– หากมีการให้ใบอนุญาตด้วยวิธีอื่นที่ไม่ใช่ประมูล จะไม่เป็นธรรมต่อทีวีดิจิตอล 24
ช่องที่ประมูลไปแล้วหรือไม่?
– ระวังเกิดทีวีและวิทยุธุรกิจเพื่อความมั่นคง (สาธารณะประเภท 2 ก็มีแนวโน้มที่จะ
เป็นเช่นนั้น)
ข้อสังเกต
• กรณีกิจการโทรคมนาคม
– วิธีประมูลเป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับกันทั่วโลก
– ถือเป็นวิธีการจัดสรรคลื่นที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพที่สุด
– ขนาดประมูลที่ผ่านมายังเกิดการวิพากษ์วิจารณ์มากมาย
– การประมูลสามารถใส่มิติของการประกวดคุณสมบัติเข้าไปได้
– ระวังผู้ประกอบการบางรายที่แข่งขันไม่ได้ใช้ประโยชน์การกฎกติกาที่ยืดหยุ่นเกินไป
ทําให้คลื่นความถี่ไม่ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
สนับสนุนให้หน่วยงานรัฐได้ใช้คลื่นความถี่มากขึ้น
• แก้มาตรา 41 วรรค 4 การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการกระจาย
เสียงและกิจการโทรทัศน์ ต้องคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนใน
ระดับชาติระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ในด้าน การศึกษา วัฒนธรรม
ความมั่นคงของรัฐ และประโยชน์สาธารณะอื่น รวมทั้งการแข่งขันโดยเสรี
อย่างเป็นธรรมและต้องดําเนินการในลักษณะที่มีการกระจายการใช้
ประโยชน์โดยทั่วถึงในกิจการด้านต่างๆ ซึ่งต้องจัดสรรให้เพียงพอสําหรับการ
จัดทําบริการสาธารณะของรัฐ ให้เหมาะสมแก่การเป็นทรัพยากรสื่อสาร
ของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ
ข้อสังเกต
• บริการสาธารณะตามนิยามใน พรบ. ประกอบกิจการฯ ไม่จําเป็นต้องเป็นรัฐ
เท่านั้น ทําไมจึงต้อง favor รัฐเป็นพิเศษ
• ใครได้ประโยชน์? หน่วยงานรัฐที่ต้องการเข้ามาใช้ประโยชน์จากคลื่นความถี่
(เช่น ประชาสัมพันธ์องค์กรของตน ฯลฯ) โดยอาจไม่ได้ทําประโยชน์
สาธารณะอย่างแท้จริง โดยเฉพาะประเภทความมั่นคงที่สามารถหารายได้
จากการโฆษณาได้
ตัดอานาจในการประสานงานเกี่ยวกับการบริหารคลื่น
ความถี่ระหว่างประเทศ
• มาตรา 27 (๑๔) ประสานงานเกี่ยวกับการบริหารคลื่นความถี่ทั้งในประเทศ
และระหว่างประเทศ
ตัดอานาจในการจัดการคลื่นความถี่ไม่ให้รบกวนกัน
• มาตรา 27 (๕) กําหนดหลักเกณฑ์การใช้คลื่นความถี่ให้เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและปราศจากการรบกวนซึ่งกันและกัน ทั้งในกิจการประเภท
เดียวกันและระหว่างกิจการแต่ละประเภท
• มาตรา 27 (๑๕) ร่วมให้ข้อมูลกับรัฐบาลในการวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาการ
ใช้คลื่นความถี่ที่มีการรบกวนซึ่งกันและกัน
ข้อสังเกต
• การตัดอํานาจหน้าที่ในการประสานงานเกี่ยวกับการบริหารคลื่นความถี่
ระหว่างประเทศอาจทําให้อํานาจในการจัดสรรวงโคจรดาวเทียมเป็นของ
กระทรวง ICT โดยปริยาย ทั้งที่ก่อนหน้านี้มีข้อถกเถียงว่า กสทช. หรือ
กระทรวง ICT ควรเป็นหน่วยงานอํานวยการด้านโทรคมนาคมในนามรัฐบาล
อย่างเป็นทางการ
• รัฐบาลเหมาะหรือไม่ที่จะเข้ามาวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาการใช้คลื่นความถี่ที่
รบกวนกัน (อาจเป็นคู่กรณีเองหรือด้านความสามารถ)
ยุบกองทุน กสช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา
ดิจิทัล
• ยกเลิกหมวด 4 กองทุนและพัฒนากิจการกระจายเสียงและเพิ่มเติมว่า
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบหรือคาสั่งอื่นใดอ้างถึง
กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ
โทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ให้ถือ
ว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสั่งนั้นอ้างถึง
กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่าด้วย
กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แล้วแต่กรณี
ยุบกองทุน กสช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา
ดิจิทัล
• แก้มาตรา 42 วรรค 1 ให้ กสทช. มีอํานาจกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
ตามมาตรา ๔๑ โดยแยกเป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ และ
ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการ ซึ่งต้องชําระเมื่อได้รับใบอนุญาตและ
ต้องชําระเป็นรายปีในอัตราที่เหมาะสมกับประเภทของใบอนุญาตตามกฎหมายว่า
ด้วยการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เว้นแต่ค่าธรรมเนียม
ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อประกอบกิจการทางธุรกิจ ให้ถือว่าเงินที่ได้จาก
การประมูลตามมาตรา ๔๑ วรรคหกเป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่น
ความถี่ซึ่งต้องชําระเมื่อได้รับใบอนุญาตและให้นําส่งเข้ากองทุนตามมาตรา ๕๒
การคัดเลือกตามมาตรา ๔๑ วรรคหก เป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่น
ความถี่ซึ่งต้องชําระเมื่อได้รับใบอนุญาต และเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้วให้นําส่งเข้า
กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนพัฒนา
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นจํานวนร้อยละห้าสิบ เหลือเท่าใดให้นําส่งเป็น
รายได้แผ่นดิน
ยุบกองทุน กสช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา
ดิจิทัล
• แก้มาตรา 45 วรรค 1 ผู้ใดประสงค์จะใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการ
โทรคมนาคมต้องได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งต้อง
ดาเนินการโดยวิธีการประมูลคลื่นความถี่คัดเลือก ทั้งนี้ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และเงื่อนไขที่ กสทช. ประกาศกาหนด
โดยให้นาความในมาตรา ๔๑ วรรคสี่ และวรรคเจ็ดมาใช้บังคับโดย
อนุโลม และเงินที่ได้จากการประมูลเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้วให้ส่งเข้าเป็น
รายได้แผ่นดิน และเงินที่ได้จากการคัดเลือกเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้วให้
นาส่งเข้ากองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่า
ด้วยกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นจานวนร้อยละห้า
สิบ เหลือเท่าใดให้นาส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
ยุบกองทุน กสทช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา
ดิจิทัล
• แก้ไขมาตรา 65 วรรค 2 รายได้ของสํานักงาน กสทช. ตาม (๑) และ (๒)
เมื่อได้หักรายจ่ายสําหรับการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพของสํานักงาน
กสทช. ค่าภาระต่างๆ ที่จําเป็น เงินที่จัดสรรเพื่อสมทบกองทุนตามมาตรา
๕๒ และกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย
การศึกษาแห่งชาติ เหลือเท่าใดให้นําส่งเป็นรายได้แผ่นดิน เงินที่จัดสรรเพื่อ
สมทบกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แห่งชาติ และกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่า
ด้วยกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นจํานวนร้อยละห้าสิบ
เหลือเท่าใดให้นําส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
หน้าที่ของ กสทช. บางอย่างยังอยู่ โดยเฉพาะส่วนที่ผูก
ติดอยู่กับกองทุน กสทช. แต่กองทุนถูกยุบไปแล้ว
• มาตรา 27 (๑๒) กําหนดมาตรการให้มีการกระจายบริการด้านโทรคมนาคม
ให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกันตามมาตรา ๕๐
• มาตรา 27 (๑๘) ส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้รับใบอนุญาต ผู้ผลิตรายการ
และผู้ประกอบวิชาชีพ สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวกับกิจการกระจายเสียงและ
กิจการ โทรทัศน์เป็นองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อทําหน้าที่จัดทํามาตรฐาน
ทางจริยธรรมของการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพและการควบคุมการ
ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพกันเองภายใต้มาตรฐานทางจริยธรรม
ข้อสังเกต
• ที่มาของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาดิจิทัลฯ มาจากการแต่งตั้งของ
คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (7 คน) ซึ่งไม่มี
ตัวแทนด้านสังคม ด้านผู้บริโภค ด้านวิทยุและโทรทัศน์
• กรอบการใช้จ่ายระบุกว้างๆ ว่า “เพื่อการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม” และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินตามที่
คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกําหนด
• คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสามารถให้คุณให้โทษ
กับกรรมการได้(โดยที่ตัวแทนคณะกรรมการดิจิทัลฯ ก็มีผลประโยชน์
เกี่ยวข้องกับการจัดสรรเงินของกองทุนนี้ เช่น CAT TOT หรือหน่วยงานรัฐ
ต่างๆ
ข้อสังเกต
• บทบาทหน้าที่ของกองทุน กสทช. กับกองทุนดิจิทัลนั้นแตกต่างกัน (โดยเฉพาะใน
มิติทางสังคมและการสนับสนุนการกํากับดูแลในกิจการวิทยุและโทรทัศน์) เราจะ
justify การใช้เงินในกิจการดังกล่าวเพื่อเป้ าหมายอื่นอย่างไร
• กฎหมายยังกําหนดหน้าที่ให้ กสทช. ทําบางอย่างที่เกี่ยวเนื่องกับกองทุน เช่น
USO หรือสนับสนุนการกํากับดูแลกันเองในวิชาชีพ หากมีการดึงเงินส่วนนี้ไป
กสทช. ยังควรมีหน้าที่ดังกล่าวหรือไม่?
• กองทุน กสทช. อย่างน้อยยังมีระบบการถ่วงดุลตรวจสอบและการเปิดเผยข้อมูล
กับสาธารณะ ซึ่งกรณีกองทุนดิจิทัลไม่มี และโดยหลักการ อย่างน้อย กสทช. ถือ
เป็นองค์กรอิสระ เวลาตรวจสอบการใช้เงินของหน่วยงานรัฐยังถือว่าถ่วงดุลกัน
เช่น การให้กระทรวง ICT ทําเรื่อง free wifi สุดท้ายทําไม่สําเร็จก็ต้องเอาเงินคืน
หากเป็นกองทุนดิจิทัล ใครจะตรวจสอบ?
รีบเร่งในการแก้ไข ดูมี agenda ชัดเจน จึงแก้ไขแบบที่ไม่
สอดคล้องกันหลายจุด
• มาตรา 27 (๒๐) อนุมัติงบประมาณรายจ่ายของสํานักงาน กสทช. รวมทั้ง
เงินที่จะจัดสรรเข้ากองทุนตามมาตรา ๕๒
• มาตรา 27 (๒๑) พิจารณาและให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการจัดสรร
เงินกองทุนตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุนเสนอตามมาตรา ๕๕
• การกําหนดลักษณะการควบรวม การครองสิทธิข้ามสื่อหรือการครอบงําตาม
(๑๗ ) ให้กสทช. รับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง
ประกอบด้วย
Thought Experiments
• มีการออกแผนแม่บทคลื่นความถี่ใหม่ และคําสั่งที่บังคับใช้ในแผนแม่บทคลื่น
ความถี่ปัจจุบันถูกยกเลิกไป
– กรณีหน่วยงานของหน่วยงานรัฐที่ให้ผู้อื่นประกอบกิจการ ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุด
อายุการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญา
– การใช้คลื่นความถี่ของหน่วยงานของรัฐที่มิได้กําหนดอายุคลื่นความถี่ ให้ กสทช. กําหนด
ระยะเวลาในการคืนคลื่น แต่ไม่เกิน 5 ปีกรณีวิทยุ ไม่เกิน 10 ปีกรณีโทรทัศน์ และไม่เกิน
15 ปีกรณีโทรคมนาคม
• คณะกรรมการดิจิทัลฯ เข้ามาแทรกแซงการจัดสรรคลื่นความถี่
– กําหนดสัดส่วนให้รัฐใช้คลื่นความถี่อย่างไม่เหมาะสม โดยเฉพาะเพื่อความมั่นคงและเพื่อ
ประโยชน์สาธารณะโดยหน่วยงานรัฐ
– ยืดระยะเวลาคืนคลื่นความถี่ของหน่วยงานรัฐออกไป
– กําหนดให้คลื่นที่หมดช่วงเวลาการอนุญาต สัมปทาน สัญญา ไม่กลับไปที่ กสทช. เพื่อ
จัดสรรใหม่
• กสทช. เลือกใช้วิธีการให้ใบอนุญาตด้วยวิธีการอื่นที่ไม่ใช่ประมูล
Thought Experiments
• ผลที่อาจเกิดขึ้น:
– อาจมีกรณีที่คลื่นความถี่หมดอายุการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญา กลับไปที่
หน่วยงานรัฐ เช่น คลื่นวิทยุกลับไปที่หน่วยงานความมั่นคง คลื่นโทรคมนาคม
กลับไปที่รัฐวิสาหกิจ
– กระบวนการการคืนคลื่นความถี่ของหน่วยงานรัฐเพื่อจัดสรรใหม่ถูกยืดออกไปอีก
(ยืดไปจากเวลา 5 ปี 10 ปี และ 15 ปี หรือพิจารณาให้เต็มช่วงเวลามากกว่า
พิจารณาตามความจําเป็น) เช่น คลื่น 2.1 GHz หรือ 2.3 GHz ของ TOT คลื่น
850 ของ CAT และคลื่นวิทยุที่หน่วยงานรัฐถือครองเกือบทั้งหมด
– การจัดสรรคลื่นความถี่แบบไร้ประสิทธิภาพและขาดความโปร่งใส ซึ่งนําไปสู่การ
แข่งขันที่ไม่เท่าเทียมและรัฐเสียรายได้มหาศาล

More Related Content

What's hot

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์Settapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ความเป็นมา 3 g ประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ความเป็นมา 3 g ประเทศไทยSettapong-Broadband
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive testพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive testSettapong Malisuwan
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?Isriya Paireepairit
 
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทยอนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทยIsriya Paireepairit
 
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 gpuiwassana
 
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555Victor Ronin
 
[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trend
[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trend[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trend
[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trendpuiwassana
 
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยนายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยIsriya Paireepairit
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io t
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io tพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io t
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io tSettapong Malisuwan
 
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐Poramate Minsiri
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทยpuiwassana
 
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016Settapong Malisuwan
 

What's hot (18)

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
 
[24 nov 2013] it
[24 nov 2013] it[24 nov 2013] it
[24 nov 2013] it
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ความเป็นมา 3 g ประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive testพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
 
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทยอนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
3 glicensing
3 glicensing3 glicensing
3 glicensing
 
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
 
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
 
[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trend
[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trend[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trend
[ดร.เศรษฐพงค์ฯ] Mega trend
 
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยนายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io t
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io tพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io t
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ยุคใหม่การสื่อสารกับ Io t
 
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
 
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 

Viewers also liked

จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยIsriya Paireepairit
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
NBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in Telecommunication
NBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in TelecommunicationNBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in Telecommunication
NBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in TelecommunicationSupot Tiarawut
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)Worawut Thongchan
 
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 YOZZO
 

Viewers also liked (6)

จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
 
NBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in Telecommunication
NBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in TelecommunicationNBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in Telecommunication
NBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in Telecommunication
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
 
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
 

More from Isriya Paireepairit

20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯIsriya Paireepairit
 
Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Isriya Paireepairit
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติIsriya Paireepairit
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzIsriya Paireepairit
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิIsriya Paireepairit
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIIsriya Paireepairit
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งIsriya Paireepairit
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementIsriya Paireepairit
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIsriya Paireepairit
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมIsriya Paireepairit
 
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)Isriya Paireepairit
 
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทชทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทชIsriya Paireepairit
 
Presentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang Minh
Presentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang MinhPresentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang Minh
Presentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang MinhIsriya Paireepairit
 

More from Isriya Paireepairit (20)

20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
 
Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency Management
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand Case
 
Three IT Kingdoms
Three IT KingdomsThree IT Kingdoms
Three IT Kingdoms
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
 
Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4
 
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
 
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทชทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
 
Presentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang Minh
Presentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang MinhPresentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang Minh
Presentation by Assoc. Prof. Dr. Pham Quang Minh
 
Presentation by Ong Keng Yong
Presentation by Ong Keng YongPresentation by Ong Keng Yong
Presentation by Ong Keng Yong
 

อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น

  • 2. พยายามดึงอานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่กลับไปยัง หน่วยงานรัฐ • มาตรา 27 (๑) จัดทําแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ ตารางกําหนดคลื่น ความถี่แห่งชาติ แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ แผน แม่บทกิจการโทรคมนาคม แผนความถี่วิทยุ และแผนเลขหมายโทรคมนาคม และแผนความถี่วิทยุในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ โทรคมนาคม ที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนการพัฒนาดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคมของคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ
  • 3. พยายามดึงอานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่กลับไปยัง หน่วยงานรัฐ • มาตรา ๔๘ ให้มีแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ เสนอต่อคณะกรรมการดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) รายละเอียดเกี่ยวกับตารางกําหนดคลื่นความถี่ทั้งหมดที่ประเทศไทยสามารถ นํามาใช้ประโยชน์ได้ (๒) แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ระหว่างประเทศ (๓) รายละเอียดเกี่ยวกับคลื่นความถี่ที่กําหนดให้ใช้ในกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์กิจการโทรคมนาคม และกิจการอื่น (๔) แนวทางในการคืนคลื่นความถี่เพื่อนําไปจัดสรรใหม่หรือการปรับปรุงการใช้ คลื่นความถี่
  • 4. พยายามดึงอานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่กลับไปยัง หน่วยงานรัฐ • มาตรา 27 (๒) กําหนดการจัดสรรคลื่นความถี่ระหว่างคลื่นความถี่ที่ใช้ใน กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการ โทรคมนาคม • มาตรา 27 (๔) พิจารณาอนุญาตและกํากับดูแลการใช้คลื่นความถี่และ เครื่องวิทยุคมนาคมในการประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และ กิจการโทรคมนาคม หรือในกิจการวิทยุคมนาคม และกําหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการเกี่ยวกับการอนุญาต เงื่อนไข หรือค่าธรรมเนียม การอนุญาตดังกล่าว
  • 5. ข้อสังเกต • คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินั้นส่วนมากเป็นตัวแทนของ หน่วยงานรัฐ (ประมาณ 25 ตําแหน่ง) ที่เหลือเป็นกรรมการผู้แทนภาคเอกชน (4 ตําแหน่ง) และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (5-8 ตําแหน่ง) ซึ่งแต่งตั้งโดย ครม. • ประธานกรรมการบริษัท ทีโอที และ กสท โทรคมนาคม เป็นคณะกรรมการอยู่ ด้วย • มีแนวโน้มที่จะออกแบบนโยบายการจัดสรรคลื่นความถี่ (รวมถึงการคืนคลื่น ความถี่) ไปในทางเพื่อผลประโยชน์ของรัฐ • ผู้ประกอบการอย่างทีโอทีและ กสท. กลับมีอํานาจในการกําหนดการจัดสรรคลื่น ความถี่เสียเอง • ไม่มีตัวแทนด้านสังคม (สวัสดิการ ชุมชน ฯลฯ) การจัดสรรคลื่นความถี่เพื่อ ประโยชน์ของคนกลุ่มนี้อาจจะหายไป
  • 6. เปลี่ยนจากการประมูลไปเป็ นการคัดเลือก • มาตรา 41 วรรค 6 ในกรณีที่เป็นการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการ กระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ซึ่งเป็นการประกอบกิจการทางธุรกิจตามที่ กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ ให้ใช้วิธีคัดเลือกโดยวิธีการประมูลคลื่นความถี่ ทั้งในระดับชาติ ระดับ ภูมิภาคและระดับท้องถิ่น โดยให้แยกกันประมูลในแต่ละระดับ ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑ์วิธีการ ระยะเวลาและเงื่อนไขที่กสทช. ประกาศกําหนด • แก้มาตรา 45 วรรค 1 ผู้ใดประสงค์จะใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมต้อง ได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องดําเนินการโดยวิธีการประมูลคลื่น ความถี่คัดเลือก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และเงื่อนไขที่ กสทช. ประกาศกําหนด โดยให้นําความในมาตรา ๔๑ วรรคสี่ และวรรคเจ็ดมาใช้บังคับ โดยอนุโลม...
  • 7. ข้อสังเกต • กรณีกิจการวิทยุและโทรทัศน์ – มายาคติ: ประเทศอื่นๆ ไม่ใช้การประมูลในการให้ใบอนุญาต ประเด็นคือ กิจการ ประเภทสาธารณะและชุมชนก็ใช้วิธีการคัดเลือกอยู่แล้ว มีเฉพาะประเภทธุรกิจที่ ต้องประมูล – วิธีอื่นจะมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสร้างการแข่งขันที่เท่าเทียมและเป็นธรรมได้ ดีกว่าหรือเปล่า? – หากมีการให้ใบอนุญาตด้วยวิธีอื่นที่ไม่ใช่ประมูล จะไม่เป็นธรรมต่อทีวีดิจิตอล 24 ช่องที่ประมูลไปแล้วหรือไม่? – ระวังเกิดทีวีและวิทยุธุรกิจเพื่อความมั่นคง (สาธารณะประเภท 2 ก็มีแนวโน้มที่จะ เป็นเช่นนั้น)
  • 8. ข้อสังเกต • กรณีกิจการโทรคมนาคม – วิธีประมูลเป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับกันทั่วโลก – ถือเป็นวิธีการจัดสรรคลื่นที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพที่สุด – ขนาดประมูลที่ผ่านมายังเกิดการวิพากษ์วิจารณ์มากมาย – การประมูลสามารถใส่มิติของการประกวดคุณสมบัติเข้าไปได้ – ระวังผู้ประกอบการบางรายที่แข่งขันไม่ได้ใช้ประโยชน์การกฎกติกาที่ยืดหยุ่นเกินไป ทําให้คลื่นความถี่ไม่ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
  • 9. สนับสนุนให้หน่วยงานรัฐได้ใช้คลื่นความถี่มากขึ้น • แก้มาตรา 41 วรรค 4 การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการกระจาย เสียงและกิจการโทรทัศน์ ต้องคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนใน ระดับชาติระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ในด้าน การศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ และประโยชน์สาธารณะอื่น รวมทั้งการแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็นธรรมและต้องดําเนินการในลักษณะที่มีการกระจายการใช้ ประโยชน์โดยทั่วถึงในกิจการด้านต่างๆ ซึ่งต้องจัดสรรให้เพียงพอสําหรับการ จัดทําบริการสาธารณะของรัฐ ให้เหมาะสมแก่การเป็นทรัพยากรสื่อสาร ของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ
  • 10. ข้อสังเกต • บริการสาธารณะตามนิยามใน พรบ. ประกอบกิจการฯ ไม่จําเป็นต้องเป็นรัฐ เท่านั้น ทําไมจึงต้อง favor รัฐเป็นพิเศษ • ใครได้ประโยชน์? หน่วยงานรัฐที่ต้องการเข้ามาใช้ประโยชน์จากคลื่นความถี่ (เช่น ประชาสัมพันธ์องค์กรของตน ฯลฯ) โดยอาจไม่ได้ทําประโยชน์ สาธารณะอย่างแท้จริง โดยเฉพาะประเภทความมั่นคงที่สามารถหารายได้ จากการโฆษณาได้
  • 11. ตัดอานาจในการประสานงานเกี่ยวกับการบริหารคลื่น ความถี่ระหว่างประเทศ • มาตรา 27 (๑๔) ประสานงานเกี่ยวกับการบริหารคลื่นความถี่ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ
  • 12. ตัดอานาจในการจัดการคลื่นความถี่ไม่ให้รบกวนกัน • มาตรา 27 (๕) กําหนดหลักเกณฑ์การใช้คลื่นความถี่ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและปราศจากการรบกวนซึ่งกันและกัน ทั้งในกิจการประเภท เดียวกันและระหว่างกิจการแต่ละประเภท • มาตรา 27 (๑๕) ร่วมให้ข้อมูลกับรัฐบาลในการวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาการ ใช้คลื่นความถี่ที่มีการรบกวนซึ่งกันและกัน
  • 13. ข้อสังเกต • การตัดอํานาจหน้าที่ในการประสานงานเกี่ยวกับการบริหารคลื่นความถี่ ระหว่างประเทศอาจทําให้อํานาจในการจัดสรรวงโคจรดาวเทียมเป็นของ กระทรวง ICT โดยปริยาย ทั้งที่ก่อนหน้านี้มีข้อถกเถียงว่า กสทช. หรือ กระทรวง ICT ควรเป็นหน่วยงานอํานวยการด้านโทรคมนาคมในนามรัฐบาล อย่างเป็นทางการ • รัฐบาลเหมาะหรือไม่ที่จะเข้ามาวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาการใช้คลื่นความถี่ที่ รบกวนกัน (อาจเป็นคู่กรณีเองหรือด้านความสามารถ)
  • 14. ยุบกองทุน กสช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา ดิจิทัล • ยกเลิกหมวด 4 กองทุนและพัฒนากิจการกระจายเสียงและเพิ่มเติมว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบหรือคาสั่งอื่นใดอ้างถึง กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ให้ถือ ว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสั่งนั้นอ้างถึง กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่าด้วย กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แล้วแต่กรณี
  • 15. ยุบกองทุน กสช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา ดิจิทัล • แก้มาตรา 42 วรรค 1 ให้ กสทช. มีอํานาจกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ตามมาตรา ๔๑ โดยแยกเป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ และ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการ ซึ่งต้องชําระเมื่อได้รับใบอนุญาตและ ต้องชําระเป็นรายปีในอัตราที่เหมาะสมกับประเภทของใบอนุญาตตามกฎหมายว่า ด้วยการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เว้นแต่ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อประกอบกิจการทางธุรกิจ ให้ถือว่าเงินที่ได้จาก การประมูลตามมาตรา ๔๑ วรรคหกเป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่น ความถี่ซึ่งต้องชําระเมื่อได้รับใบอนุญาตและให้นําส่งเข้ากองทุนตามมาตรา ๕๒ การคัดเลือกตามมาตรา ๔๑ วรรคหก เป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่น ความถี่ซึ่งต้องชําระเมื่อได้รับใบอนุญาต และเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้วให้นําส่งเข้า กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนพัฒนา ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นจํานวนร้อยละห้าสิบ เหลือเท่าใดให้นําส่งเป็น รายได้แผ่นดิน
  • 16. ยุบกองทุน กสช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา ดิจิทัล • แก้มาตรา 45 วรรค 1 ผู้ใดประสงค์จะใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการ โทรคมนาคมต้องได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งต้อง ดาเนินการโดยวิธีการประมูลคลื่นความถี่คัดเลือก ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และเงื่อนไขที่ กสทช. ประกาศกาหนด โดยให้นาความในมาตรา ๔๑ วรรคสี่ และวรรคเจ็ดมาใช้บังคับโดย อนุโลม และเงินที่ได้จากการประมูลเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้วให้ส่งเข้าเป็น รายได้แผ่นดิน และเงินที่ได้จากการคัดเลือกเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้วให้ นาส่งเข้ากองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่า ด้วยกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นจานวนร้อยละห้า สิบ เหลือเท่าใดให้นาส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
  • 17. ยุบกองทุน กสทช. โยกงบประมาณไปยังกองทุนพัฒนา ดิจิทัล • แก้ไขมาตรา 65 วรรค 2 รายได้ของสํานักงาน กสทช. ตาม (๑) และ (๒) เมื่อได้หักรายจ่ายสําหรับการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพของสํานักงาน กสทช. ค่าภาระต่างๆ ที่จําเป็น เงินที่จัดสรรเพื่อสมทบกองทุนตามมาตรา ๕๒ และกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแห่งชาติ เหลือเท่าใดให้นําส่งเป็นรายได้แผ่นดิน เงินที่จัดสรรเพื่อ สมทบกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติ และกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่า ด้วยกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นจํานวนร้อยละห้าสิบ เหลือเท่าใดให้นําส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
  • 18. หน้าที่ของ กสทช. บางอย่างยังอยู่ โดยเฉพาะส่วนที่ผูก ติดอยู่กับกองทุน กสทช. แต่กองทุนถูกยุบไปแล้ว • มาตรา 27 (๑๒) กําหนดมาตรการให้มีการกระจายบริการด้านโทรคมนาคม ให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกันตามมาตรา ๕๐ • มาตรา 27 (๑๘) ส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้รับใบอนุญาต ผู้ผลิตรายการ และผู้ประกอบวิชาชีพ สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวกับกิจการกระจายเสียงและ กิจการ โทรทัศน์เป็นองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อทําหน้าที่จัดทํามาตรฐาน ทางจริยธรรมของการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพและการควบคุมการ ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพกันเองภายใต้มาตรฐานทางจริยธรรม
  • 19. ข้อสังเกต • ที่มาของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาดิจิทัลฯ มาจากการแต่งตั้งของ คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (7 คน) ซึ่งไม่มี ตัวแทนด้านสังคม ด้านผู้บริโภค ด้านวิทยุและโทรทัศน์ • กรอบการใช้จ่ายระบุกว้างๆ ว่า “เพื่อการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม” และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินตามที่ คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกําหนด • คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสามารถให้คุณให้โทษ กับกรรมการได้(โดยที่ตัวแทนคณะกรรมการดิจิทัลฯ ก็มีผลประโยชน์ เกี่ยวข้องกับการจัดสรรเงินของกองทุนนี้ เช่น CAT TOT หรือหน่วยงานรัฐ ต่างๆ
  • 20. ข้อสังเกต • บทบาทหน้าที่ของกองทุน กสทช. กับกองทุนดิจิทัลนั้นแตกต่างกัน (โดยเฉพาะใน มิติทางสังคมและการสนับสนุนการกํากับดูแลในกิจการวิทยุและโทรทัศน์) เราจะ justify การใช้เงินในกิจการดังกล่าวเพื่อเป้ าหมายอื่นอย่างไร • กฎหมายยังกําหนดหน้าที่ให้ กสทช. ทําบางอย่างที่เกี่ยวเนื่องกับกองทุน เช่น USO หรือสนับสนุนการกํากับดูแลกันเองในวิชาชีพ หากมีการดึงเงินส่วนนี้ไป กสทช. ยังควรมีหน้าที่ดังกล่าวหรือไม่? • กองทุน กสทช. อย่างน้อยยังมีระบบการถ่วงดุลตรวจสอบและการเปิดเผยข้อมูล กับสาธารณะ ซึ่งกรณีกองทุนดิจิทัลไม่มี และโดยหลักการ อย่างน้อย กสทช. ถือ เป็นองค์กรอิสระ เวลาตรวจสอบการใช้เงินของหน่วยงานรัฐยังถือว่าถ่วงดุลกัน เช่น การให้กระทรวง ICT ทําเรื่อง free wifi สุดท้ายทําไม่สําเร็จก็ต้องเอาเงินคืน หากเป็นกองทุนดิจิทัล ใครจะตรวจสอบ?
  • 21. รีบเร่งในการแก้ไข ดูมี agenda ชัดเจน จึงแก้ไขแบบที่ไม่ สอดคล้องกันหลายจุด • มาตรา 27 (๒๐) อนุมัติงบประมาณรายจ่ายของสํานักงาน กสทช. รวมทั้ง เงินที่จะจัดสรรเข้ากองทุนตามมาตรา ๕๒ • มาตรา 27 (๒๑) พิจารณาและให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการจัดสรร เงินกองทุนตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุนเสนอตามมาตรา ๕๕ • การกําหนดลักษณะการควบรวม การครองสิทธิข้ามสื่อหรือการครอบงําตาม (๑๗ ) ให้กสทช. รับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
  • 22. Thought Experiments • มีการออกแผนแม่บทคลื่นความถี่ใหม่ และคําสั่งที่บังคับใช้ในแผนแม่บทคลื่น ความถี่ปัจจุบันถูกยกเลิกไป – กรณีหน่วยงานของหน่วยงานรัฐที่ให้ผู้อื่นประกอบกิจการ ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุด อายุการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญา – การใช้คลื่นความถี่ของหน่วยงานของรัฐที่มิได้กําหนดอายุคลื่นความถี่ ให้ กสทช. กําหนด ระยะเวลาในการคืนคลื่น แต่ไม่เกิน 5 ปีกรณีวิทยุ ไม่เกิน 10 ปีกรณีโทรทัศน์ และไม่เกิน 15 ปีกรณีโทรคมนาคม • คณะกรรมการดิจิทัลฯ เข้ามาแทรกแซงการจัดสรรคลื่นความถี่ – กําหนดสัดส่วนให้รัฐใช้คลื่นความถี่อย่างไม่เหมาะสม โดยเฉพาะเพื่อความมั่นคงและเพื่อ ประโยชน์สาธารณะโดยหน่วยงานรัฐ – ยืดระยะเวลาคืนคลื่นความถี่ของหน่วยงานรัฐออกไป – กําหนดให้คลื่นที่หมดช่วงเวลาการอนุญาต สัมปทาน สัญญา ไม่กลับไปที่ กสทช. เพื่อ จัดสรรใหม่ • กสทช. เลือกใช้วิธีการให้ใบอนุญาตด้วยวิธีการอื่นที่ไม่ใช่ประมูล
  • 23. Thought Experiments • ผลที่อาจเกิดขึ้น: – อาจมีกรณีที่คลื่นความถี่หมดอายุการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญา กลับไปที่ หน่วยงานรัฐ เช่น คลื่นวิทยุกลับไปที่หน่วยงานความมั่นคง คลื่นโทรคมนาคม กลับไปที่รัฐวิสาหกิจ – กระบวนการการคืนคลื่นความถี่ของหน่วยงานรัฐเพื่อจัดสรรใหม่ถูกยืดออกไปอีก (ยืดไปจากเวลา 5 ปี 10 ปี และ 15 ปี หรือพิจารณาให้เต็มช่วงเวลามากกว่า พิจารณาตามความจําเป็น) เช่น คลื่น 2.1 GHz หรือ 2.3 GHz ของ TOT คลื่น 850 ของ CAT และคลื่นวิทยุที่หน่วยงานรัฐถือครองเกือบทั้งหมด – การจัดสรรคลื่นความถี่แบบไร้ประสิทธิภาพและขาดความโปร่งใส ซึ่งนําไปสู่การ แข่งขันที่ไม่เท่าเทียมและรัฐเสียรายได้มหาศาล