SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
สัมมนา iZen ครั้งที่ 1 ประจําเดือนตุลาคม 2552
     จัดโดย Siam Intelligence Unit
   “พลวัตรเศรษฐกิจโลก”
               15 ตุลาคม 2552
                    เสนอโดย
             สุรศักดิ์ ธรรมโม
 นักเศรษฐศาสตร ของ Siam Intelligence Unit

http://www.siamintelligence.com/
ทําความเขาใจกันกอน
1. นักเศรษฐศาสตรพยากรณเศรษฐกิจทั้งการดิ่งลงของเศรษฐกิจสูวิกฤติและการ
   ฟนตัวของเศรษฐกิจผิดพลาดมาโดยตลอด
2. องคความรูของวิชาเศรษฐศาสตรปจจุบันมีปญหาอยางรุนแรงดังที่เสนอโดย
   นิตยสาร The Economist ฉบับ July 18,2009 (Where it went wrong -and how
   the crisis is changing it ?) และ Paul Krugman เขียนไวใน NY Times Sep
   2,2009 (How Did Economists Get It So Wrong?)
3. ผูบรรยายตองการนําเสนอความเคลื่อนไหวของเศรษฐกิจโลกและกลยุทธของ
   ประเทศตางๆในการรับมือ ตอบสนองตอภาวะวิกฤติโลก รวมทั้งประเมินกล
   ยุทธของประเทศสําคัญที่กาหนดใหประเทศอืนๆตองเดินตาม ซึ่งผูบรรยาย
                            ํ                 ่
   เชือวาสิ่งนีจะกําหนดฉากทัศน (Scenario) ของเศรษฐกิจโลกในอนาคตวาจะ
      ่         ้
   เปนไปในรูปแบบใด มากกวาดูองคประกอบของ GDP แตละประเทศเพียง
   อยางเดียว
ภาวะเศรษฐกิจโลก
     ปจจุบัน
ภาพรวมสถานการณเศรษฐกิจโลก
  ในไตรมาสที่ 2 ป 2552 ดัชนีทางเศรษฐกิจประเทศตางๆแสดงใหเห็นวา เศรษฐกิจโลกไดถึงจุดต่ําสุด
  และเริ่มฟนตัวอยางชัดเจน หลังจากตลาดการเงินกลับเขาสูภาวะทีมีเสถียรภาพขึ้น โดยรัฐบาลมีบทบาท
                                                                ่
  สําคัญที่สุดที่ชวยใหเศรษฐกิจฟนตัว
  ในไตรมาส 1 ป 2552 เศรษฐกิจของประเทศเอเชียบางประเทศเริ่มสงสัญญาณการแยกตัว (De-
  Coupling) ออกจากเศรษฐกิจ G-3 อยางชัดเจน เชน จีน อินเดีย อินโดนีเซีย
  “จีน” เปนประเทศทีมีบทบาทสําคัญในการเปนผูนําเขาสินคาทุน จาก เยอรมนี เกาหลี ญี่ปุน และ นําเขา
                    ่
  สินคาโภคภัณฑจาก ออสเตรเลีย และ บราซิล
  การคาระหวางประเทศ ในครึ่งหลังป 2552 มีความเสี่ยงที่อาจจะชะลอตัว เนื่องจากระดับสินคาคงคลัง
  ไมไดลดลงต่ําเหมือนกับในชวงไตรมาสที่ 1/52
  สัญญาณการฟนตัวอยางชัดเจนในบางประเทศจะนําไปสูการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นโดย
  ออสเตรเลียไดเปนประเทศแรกในกลุม G-20 ที่ปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นไปแลว ในขณะที่ตลาดประเมินวา
  จีน อินเดียอาจจะใชมาตรการทางการเงินที่เขมงวดขึ้นหลังจากที่ผอนคลายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ
                                                                                
  สภาพคลองที่กลับมาสูระดับกอนวิกฤติ ความกังวลเรื่องการออนคาของเงินดอลลารสหรัฐออนคาอาจจะ
  ทําใหเกิดฟองสบูในตลาดสินทรัพยบางประเภทโดยเฉพาะดัชนีตลาดหลักทรัพยประเทศเอเชียและภาวะ
  ฟองสบูอาจจะแตกเร็วกวาที่คาด เพราะพื้นฐานทางเศรษฐกิจยังไมไดฟนตัวอยางแข็งแกรง
การประเมินเศรษฐกิจโลกโดยIMF
                         IMF ระบุวา “Global Recession is ending..”
                         IMF ระบุชัดเจนวาการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกมาจาก
                         ภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะจีนและอินเดียรวมทั้งประเกิด
                         ใหมเอเชีย
                         ความเสี่ยงที่ IMF ประเมินคือ การที่ประเทศตางๆออก
                         จาก Exit Strategies เร็วกวาที่คาด ความเปราะบางของ
                         สถาบันการเงิน และการที่ประเทศ G-3 โดยเฉพาะ
                         สหรัฐฯจะลดการบริโภคลงและสงผลใหการสงออกของ
                         ประเทศเอเชียจะตองชะลอลงตาม โดยความเสี่ยงนี้จะ
                         เกิ ด ขึ้ น ในป 2011 และอาจจะส ง ผลให เ ศรษฐกิ จ โลก
                         เติบโตในอัตราที่ต่ํา
                         IMF ประเมินวาประเทศในแถบเอเชียมีความเสี่ยงที่จะ
                         เผชิญกับภาวะเงินเฟอเรงตัวขึ้นในขณะที่ประเทศพัฒนา
                         แล ว โดยเฉพาะสหรั ฐ ฯและญี ปุ น จะตกอยู ใ นภาวะ
                         Deflation ยาวนานกวาที่คาด
                         SIU ประเมินเศรษฐกิจโลกเขาสูภาวะเสถียรภาพแลวแต
                         การฟนตัวอยางเขมแข็งตองอาศัยการฟนตัวของตลาด
                         สินเชื่อและการทําใหสถาบันการเงินกลับมาทํางานอีก
                         ครั้ ง แต ก ารฟ น ตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกอย า งเข ม แข็ ง นั้ น
                         แยกไม อ อกจากการฟ น ตั ว ของสถาบั น การเงิ น ดั ง นั้ น
                         การจั ด การภาระหนี้ เ สี ย และการเพิ่ ม ทุ น ของสถาบั น
                         การเงินจึงเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดการฟนตัวของ
                         เศรษฐกิจโลกวาจะเปนไปอยางเขมแข็งหรือไม
IMF : Global Financial Stability
Report




 IMF ประเมินวาอัตราการขยายตัวในการปลอยสินเชื่อในป 2009 ของ Euro Area, UK และ USA จะอยูที่ -4.6 %,-8.6
 % และ -3.2 % ตามลําดับ ในขณะที่ป 2010 IMF คาดวาจะหดตัวที่ -2.7 %,-4.5 % และ -2.8 % ตามลําดับ จาก
 ตัวเลขดังกลาวนี้ SIU ประเมินวาเศรษฐกิจอังกฤษมีความเสี่ยงสูงมากอันเนื่องมาจากการหดตัวของสินเชื่ออยาง
 รุนแรงในป 2009-10
 IMF ยังประเมินวาความเสี่ยงทางการเงินของประเทศตลาดเกิดใหมในป 2009-10 คือการ Refinance ในวงเงิน
 ประมาณ $ 446 bn โดยสัดสวนวงเงินที่ตอง Refinance ในป 2009 ของ Latin, Europe &CIS,ME&A และ Asia อยูท่ี
 ประมาณ $ 50 bn, $87 bn, $42 bn,และ $ 61 bn ตามลําดับ และในป 2010 วงเงิน Refinance ตามการคาดการณของ
 IMF อยูที่ $ 42 bn, $ 69 bn, $ 32 bn และ $ 63 bn ตามลําดับ จากขอมูลนี้จะพบวา ยุโรปตะวันออกและCIS เปน
 ชาติที่จะตอง Refinance มากสุดและนาจะเปนความเสี่ยงที่โยงไปยัง Western Europe และอาจจะกดดันคาเงินยูโรใน
 อนาคต
Financial Write Down
  Unit : ‘000 Mn USD                                                           IMF ประเมินวาการตัดขาดทุนของสถาบัน
                                 3Q09   2Q09    1Q09    4Q08    3Q08   Total
                                                                               การเงิน (write-down)ในชวงป 2550-2553
  Worldwide                       0.5    126     148     379     270   1618
  Freddie Mac                      -    24.5    13.5    22.2     19    119.6
                                                                               จะตัดขาดทุนที่ 3.4 ลานลานดอลลาร
  Fannie Mae                       -     27.7    19.3     17     20    118.3   สหรัฐฯ ขณะนี้สถาบันการเงินทั่วโลกตัด
  Citigroup Inc.                   -    10.2    13.8    19.7    12.8   112.2   ขาดทุนไปแลว 1.62 ลานลานดอลลารา
  Wachovia Corporation             -       -       0    49.8    29.4   101.9   สหรัฐฯ เทากับวายังเหลือความเสียหายอีก
  American International Group     -    11.6     2.5    23.3    15.6   101.4   1.78 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ
  Bank of America                  -     13.1    13.8   14.5     6.7    69.6
  Merrill lynch & Co.              -       -       0       0     12     55.9
  UBS AG                           -     -0.2     2.4      2     4.4    52.8   ความเสียงสําคัญประการหนึ่งที่ IMF ระบุใน
                                                                                        ่
  HSBC Holdings Plc.               -      7.9      0     15.6    4.8    50.1   รายงานคือความเสียงหนี้สาธารณะและ
                                                                                                  ่
  JP Morgan Chase & Co             -       8     7.7     9.8     8.1    49.2   นําไปสูการดําเนินนโยบายการคลังแบบ
  Washington Mutual Fund           -       -       0       0    30.9    45.3   ขาดดุล (Fiscal Deficit) จะกระทบตอตนทุน
  Well Fargo                       -       5     4.5     8.6     5.5    32.8
                                                                               ทางการเงินระยะยาว โดย IMF ประเมินวา
  HBOS Plc                         -       -       0     18.3    3.9    28.2
  Royal Bank of Scotland           -      1.6    3.3    10.1     0.3    27.6   การเพิ่มขึนของการขาดดุลงบประมาณ 1%
                                                                                          ้
  National City Corp.              -       -       0    19.9     0.9    25.2   จะนําไปสูการเพิ่มขึนของอัตราดอกเบีย
                                                                                                    ้             ้
                                                                               ระยะยาวประมาณ 0.1-0.6%
ที่มา: Bloomberg ปรับปรุงลาสุด 9 ต.ค. 2552
Regional Financial Write Down




ที่มา: Bloomberg ปรับปรุงลาสุด 15 ต.ค. 2552
        IMF คาดการณวาในชวงป 2550-2553 สหรัฐฯ จะตัดขาดทุนรวมที่ 1.025 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ
       ปจจุบันตัดขาดทุนไปแลว1 .08 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ เกินกวาการคาดการณของ IMF ในขณะที่ภูมภาค
                                                                                                  ิ
       ยุโรป (Euro Area) จะตัดขาดทุนรวม 814,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ ปจจุบันตัดขาดทุนไปแลว 507,000 ลาน
       ดอลลารสหรัฐฯหรือประมาณ 62 % ของความเสียหายที่คาดวาจะเกิดขึ้น
       สถาบันการเงินในสหรัฐฯ อังกฤษและภูมภาคยุโรปมีความเสี่ยงจากการที่แหลงเงินทุนสวนหนึ่งที่มาจากการ
                                            ิ
       ระดมทุนในตลาดตราสารหนี้หรือที่เรียกวา Wholesale Funding ในอีก 2-3 ปขางหนาจะครบอายุ โดย IMF
       คํานวณวาตราสารหนี้ท่ออกโดยสถาบันการเงินซึ่งครบอายุในป 2555 และสงผลใหสถาบันการเงินในสหรัฐฯ
                              ี
       อังกฤษและภูมภาคยุโรปตองทําการ Re-finance จะอยูที่วงเงินประมาณ 1.5 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ
                     ิ
การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศอุตสาหกรรม
  ชั้นนํา

  % qoq
   1                                                                                         0.6
                            0.3                                   0.3
   0
                 -0.2
  -1                                        -0.6
                                                                               -1.0
                                                           -1.4
  -2

  -3      -2.5                       -2.5

                                                                                      -3.3
  -4                    -3.5 Q1/09                 Q2/09

  -5
                                                                        -4.8

  -6
          Euro zone     Germany         UK                  France         US          Japan


ที่มา: Bloomberg
การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศอาเซียน


yoy




  ที่มา: Bloomberg
การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศกลุม BRICs


yoy




ที่มา: Bloomberg
OECD Leading Indicators




 ที่มา: Bloomberg
ภาวะเศรษฐกิจโลก
     อนาคต
แนวโนมเศรษฐกิจโลกในอนาคต 1
  ในป 2010 เศรษฐกิจโลกจะฟนตัวในอัตราที่สูงคือประมาณ 3.1 % yoy เนื่องจากฐานคํานวณในป 2009
  ที่ต่ําและมาตรการภาครัฐในการกระตุนเศรษฐกิจโดยเฉพาะจากสหรัฐฯและเอเชียโดยเฉพาะจีน ผนวก
  กับนโยบายทางการเงินของประเทศพัฒนาแลวโดยเฉพาะกลุม G-3 (USA,EU และ Japan) ที่กดอัตรา
  ดอกเบี้ยใหต่ําใกลเคียง 0 % (ZIRP: Zero Interest Rate Policy) แตถาพิจารณาในเชิงมูลคาของ GDP โลก
  ตามการประมาณของ IMF พบวา...อาจจะตองใชเวลาถึงป 2011 เปนตนไป มูลคา GDP โลกจึงจะ
  กลับมาอยูในระดับเดียวกับกอนวิกฤติ
  แตพิจารณาในภาพยอย พบวากลุมประเทศเกิดใหมประกอบไปดวยกลุมเอเชีย กลุมละตินอเมริกา กลุม
  ยุโรปตะวันออก+รัสเซีย นั้นกลุมเอเชียโดยเฉพาะ กลุมอาเซียน...แมวาจะขยายตัวนอยกวาการขยายตัว
  ของตัวเองในอดีต....แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆทั่วโลก ....กลุมอาเซียนมีการขยายตัวที่สูงที่สุด
  ทวา ในป 2011 เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมจะกลับมาชะลอลงคือขยายตัวนอยกวา 3% อันเนื่องจากประเทศ
  พัฒนาแลวเริ่มหมดศักยภาพในการกระตุนเศรษฐกิจดวยการใชนโยบายการคลังแบบขาดดุล ในขณะที่
  ประเทศเอเชียแมวาจะพยายามแยกตัวออกจากการพึ่งพาเศรษฐกิจตะวันตกและกระตุนเศรษฐกิจ
  ภายในประเทศ....แตการแยกตัวของเอเชียนี้ยงตองใชเวลาไมสามารถจะดําเนินการสําเร็จไดใน 2-5 ป...
                                          ั
  ผนวกับการที่เอเชียมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในป 2010 ที่แข็งแกรงกวาโดยเปรียบเทียบกับตะวันตก
  จะสงผลใหเกิดกระแสเงินทุนไหลเขามายังเอเชียจํานวนมากซึงในที่สุดจะสงผลใหเกิดภาวะฟองสบูใน
                                                         ่
  สนิทรัพยบางประเภทและนําไปสูการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางประเทศเอเชียเพื่อควบคุมเงินเฟอ
  และการควบคุมปริมาณเงินสงผลใหเศรษฐกิจเอเชียอาจจะชะลอลง
แนวโนมเศรษฐกิจโลกในอนาคต 2
  กลุม G-20 จะเปนกลุมกําหนดนโยบายเศรษฐกิจโลกแทนกลุม G-8
  กลุม BRICs ซึ่งเปนกลุมยอยใน G-20 จะทวีบทบาททาทายสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตกมากขึ้น
  เรื่อยๆ โดยเฉพาะหลังจากการประชุม BRICs Summit ที่รัสเซียเมื่อ 16 มิ.ย. 2552 โดยเฉพาะการเขามา
  ขอมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจและการเงินโลกในองคกรเศรษฐกิจระหวางประเทศเชน
  IMF และ World Bank ประการสําคัญ คือ การทาทายสกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ โดยจีนและรัสเซีย
  จีนจะมีขนาดเศรษฐกิจแซงหนาญีปนเปนอันดับ 2 ของโลกในสิ้นป 2010 แตการทะยานขึ้นไปเปน
                                ุ
  เศรษฐกิจอันดับหนึ่งของโลกแทนสหรัฐอเมริกานั้นอาจจะตองใชเวลาถึงป 2050 (ตามการประมาณ
  การณของ Goldman Sachs และสภาขาวกรองสหรัฐฯ)
  โลกาภิวัตนจะยังคงอยู แตจะกระจุกตัวในภูมภาคมากขึ้น ดังจะเห็นจากขอตกลงประชาคมเศรษฐกิจ
                                            ิ
  อาเซียน (AEC) ความรวมมือทางเศรษฐกิจการคาและการลงทุนระหวางอาเซียนและจีน เกาหลีใต ญีปุน
  เชน ความริเริ่มเชียงใหมแบบพหุภาคี (CMIM)
  ประเทศเอเชีย จะเริ่มหันเหการสงออกจาก G-3 ไปประเทศอื่นๆและกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ
  หรืออีกนัยหนึ่งคือ Rebancing Global Economy กําลังจะเริ่มขึ้นแตระดับการ Rebalance จะชากวา
  นักวิเคราะหทางเศรษฐกิจคาดไวเนื่องจากโครงสรางเศรษฐกิจมีความหนืดในการเปลี่ยนแปลง
  การสิ้นสุดของนโยบายทางเศรษฐกิจเสรีนิยมแบบ Washington Consensus และการเริ่มตนของระบบทุน
  นิยมที่ถูกควบคุม (Regulated Capitalism)
แนวโนมการขยายตัวเศรษฐกิจโลก




ที่มา: IMF October 2009
BRICs Summit June 16,2009




Source: Financial Times
BRICs
        อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจรายไตรมาส (yoy) ของ BRICs   BRICs มีทุนสํารองระหวางประเทศรวมกัน (ณ 14
yoy
                                                              ต.ค. 2552) ประมาณ 3.14 ลานลานดอลลาร
                                                              สหรัฐฯ (42.5 % ของทุนสํารองระหวางประเทศทั่ว
                                                              โลก)
                                                              BRICs ถือเงินดอลลารสหรัฐฯสูงในทุนสํารอง
                                                              ระหวางประเทศเฉพาะจีนประเทศเดียวนั้นถือ
                                                              ครองเงินดอลลารสหรัฐฯประมาณ 70% ของ
                                                              เงินทุนสํารอง หรือ 1.4 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ
                                                              สวนรัสเซียถือเงินดอลลารสหรัฐฯในทุนสํารอง
                                                              ระหวางประเทศประมาณ 30% ราว 1.2 แสนลาน
                                                              ดอลลารสหรัฐฯ
                                                              SIU คํานวณโดยอาศัยขอมูล IMF พบวาในป 2552
                                                              BRICs จะมีสัดสวน GDP โลกประมาณ 15.4 %
                                                              ขณะที่ป 2551 BRICs มีสวนในการขยายตัวทาง
                                                              เศรษฐกิจโลกสูงถึง 59% ขณะที่ประเทศ G-3 มี
                                                              สัดสวนในการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก 11%
                                                              สะทอนใหเห็นวาการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก
 Source: Bloomberg
                                                              ในชวง 2-3 ปขางหนา จะถูกจับเคลื่อนโดยประเทศ
                                                              กลุม BRICs เนื่องจากประเทศพัฒนาแลวยังคง
                                                              ไดรับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก
BRICs Proposition
 อัตราการขยายตัวของผลผลิตอุตสาหกรรม (Industrail Production:IP) ของ BRICs   BRICs เรียกรองขอบทบาทที่มากยิ่งขึ้นใน
 yoy
                                                                           ระบบการเงินโลกและขอสิทธิออกเสียงใน
                                                                           สถาบันการเงินระหวางประเทศอาทิเชน
                                                                           สิทธิออกเสียงในกองทุนการเงินระหวาง
                                                                           ประเทศ (IMF) และที่นั่งคณะมนตรีความ
                                                                           มั่นคงฯ ในองคการสหประชาชาติ (UN)
                                                                           SIU ประเมินวาการเปลี่ยนเงินสกุลสํารอง
                                                                           จากดอลลารสหรัฐฯ ไปเปนเงินสกุลอื่นๆ
                                                                           จะคอยๆเกิดขึ้น เพราะ BRICs เองตางถือ
                                                                           ครองเงินดอลลารสหรัฐฯในสัดสวนที่สงใน
                                                                                                               ู
                                                                           เงินทุนสํารองระหวางประเทศ การระบุหรือ
                                                                           กําหนดทิศทางเงินสกุลใหมที่จะแทนเงิน
                                                                           ดอลลารสหรัฐฯโดยไมไดมีเงินสกุลที่
                                                                           สามารถแทนเงินดอลลารสหรัฐฯไดอยาง
                                                                           แทจริงจะสงผลใหคาเงินดอลลารสหรัฐฯ
                                                                           ผันผวนซึ่งในแงนี้กระทบกับมูลคาของ
                                                                           เงินทุนสํารองระหวางประเทศของ BRICs
                                                                           โดยตรง

Source: Bloomberg
BRICs consumption
GDP per capita (US$) ของ BRICs และ G3
                                          2,360                  รายไดตอหัวของ BRICs ยังอยูในอัตราที่ตํามากเมื่อ
                                                                                                          ่
                            จีน
                                        930

                       อินเดีย           950                     เทียบกับG-3 ดังนั้น การขยายตัวของการบริโภคของ
                                        500

                        รัสเซีย
                                                    7,560        ประเทศ BRICs จึงไมอาจทดแทนการลดลงของการ
                                         1,710

                       บราซิล                     5,910                            บริโภค G3 ได
                                               3,870

                                                                                              36,329
 ประเทศภาคพื้นยุโรป(Euro Zone)
                                                                         22,315

                                                                                                37,670
                         ญี่ ปุน
                                                                                            34,620
                                                                                                             46,040
                 สหรัฐ อเมริกา                                                              34,400
                                                                                                                      $ ตอป
                                    0      5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 40,000 45,000 50,000

                                                          2000                    2007
Source : World Bank 2008
G-20 Sep 25, 2009 Meeting Results
  เวทีในการกําหนดเศรษฐกิจโดยเฉพาะการคาและการเงินระหวางประเทศจะถูกเปลี่ยนมาเปนกลุม G-20 แทน
  กลุม G-8
  G-20 ยังคงยืนยันมาตรการกระตุนเศรษฐกิจตอไปจนกวาสัญญาณการฟนตัวทางเศรษฐกิจจะชัดเจนจึงจะเริม  ่
  ดําเนินการกลยุทธออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ (Exit Strategies)
  การกําหนดกลยุทธในการออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจหรือที่เรียกวา Exit Strategies นั้นขณะนี้กําลังอยู
                                                 
  ระหวางศึกษาซึ่งทีประชุม G-20 ในครังนี้ไดกําหนดใหรัฐมนตรีการคลังของกลุมประเทศ G-20 กองทุน
                      ่               ้
  การเงินระหวางประเทศ (IMF) คณะกรรมการเสถียรภาพทางการเงิน (Financial Stability Board) ซึ่งประกอบ
  ไปดวย ธนาคารกลางของกลุม G-20 และหนวยงานที่กํากับกฎระเบียบของกลุม G-20 รวมทั้ง
  กระทรวงการคลังของประเทศสมาชิก G-20 ตองสงรายงานกลยุทธในการออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ 
  ในเดือน พ.ย. 2552
  เนนการ Regulate ในภาคการเงินมากขึ้นทั้งการควบคุมผลตอบแทนผูบริหารภาคการเงิน (เสนอผูนํา G-20
  ใน March 2010) การเขาไปกํากับการซื้อขายอนุพันธในตลาด OTC (เสนอผูนํา G-20 ในสิ้นป 2012)
  เนนการปรับสมดุลเศรษฐกิจโลกโดยมีนยยะวาสหรัฐฯจะลดการบริโภค (ลดการนําเขา) เพิมการออม ในขณะที่
                                        ั                                           ่
  ชาติเอเชียที่ดําเนินยุทธศาสตร Export Oriented ตองลดการสงออกลง
ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลก
         อนาคต
ความเสี่ยงของเศรษฐกิจโลกในป 2010
      ราคาน้ํามันดิบในตนป 2010 ทะยานขึ้นสูงอยางตอเนื่องใกลระดับ 100 ดอลลาร
      สหรัฐฯ ตอบารเรล มีความเปนไปไดสูงมาก
      การออนคาของคาเงินดอลลารสหรัฐฯอยางตอเนื่อง ความเปนไปไดสูงมาก
      วิกฤติสถาบันการเงินในยุโรปตะวันออก ซ้ําเติมเศรษฐกิจยุโรปตะวันตกใหถดถอย
      อีกครั้ง ความเปนไปไดในระดับสูง
      นโยบาย Exit Strategies ที่เร็วเกินไปของประเทศสําคัญทางเศรษฐกิจของโลก เชน
      จีน สหรัฐอเมริกา และยุโรปสงผลใหเศรษฐกิจโลกดิงลงอีกครั้ง (Double Dip
      Recession) ความเปนไปไดระดับต่ํา
      การกลายพันธุของไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ความเปนไปไดระดับปานกลาง
      การลมสลายคาของเงินดอลลารสหรัฐฯ ความเปนไปไดระดับต่ํา
USD : After speech of Bernanke




ที่มา: Bloomberg
USD :Fed Reserve Balance Sheet




ที่มา: Fed
USD :Fed Exit Strategy




ที่มา: Fed
Asia Decoupling ?




ที่มา: ADB June 2009                                                ที่มา: ADB June 2009

  SIU ประเมินวาประเทศในเอเชียตะวันออกที่นาจะแยกตัวออกจากเศรษฐกิจ G-3 ไดเร็วที่สุด
  คือ จีนและอินโดนีเซีย ในขณะที่ ฟลิปปนสแมจะมี Export Share ที่ต่ํา แตฟลิปปนสเปดรับตอ
  เงินโอนจากตางประเทศในระดับสูง (OFW Remittance)ประมาณ 10 % ตอ GDP ในแตละป
  โดยเงินโอนดังกลาวมาจากแรงงานฟลิปปนสในตางประเทศที่โอนกลับประเทศ
Fiscal Balance
     % GDP
      2                    ในขณะที่ประเทศกําลังพัฒนาจะมีศักยภาพในการลดการขาดดุลทางการคลังไดดีกวาประเทศ
                           พัฒนาแลว ดังนั้น การขึ้นอัตราภาษีจึงกระทําไดในอัตราที่นอยกวารวมทั้งไมจําเปนตองลดการ
                           ใชจายภาครัฐในระดับเดียวกับประเทศพัฒนาแลว
      0
                           Advanced economies
                           Emerging and developing economies
                           World
     -2


     -4


     -6
                                ประเทศพัฒนาแลวมีแนวโนมเผชิญปญหาการขาดดุลการคลังมากที่สุด
                                เปนประวัติการณบงชี้วาในอนาคตรัฐบาลประเทศพัฒนาแลวจําเปนตองขึ้น
                                ภาษีและลดการใชจายภาครัฐเพื่อลดการขาดดุลการคลังซึ่งมีนัยยะตอวาการ
     -8                         บริโภคในประเทศพัฒนาแลวจะลดลง


    -10
          1970
          1971
          1972
          1973
          1974
          1975
          1976
          1977
          1978
          1979
          1980
          1981
          1982
          1983
          1984
          1985
          1986
          1987
          1988
          1989
          1990
          1991
          1992
          1993
          1994
          1995
          1996
          1997
          1998
          1999
          2000
          2001
          2002
          2003
          2004
          2005
          2006
          2007
          2008
          2009
          2010
          2011
          2012
          2013
          2014
Source: IMF October 2009
Public Debt




                            29
 Source: IMF October 2009
ขอบคุณและ Q&A
US Commercial Bank loan




Source: Bloomberg
Dollar Index




Source: Bloomberg
US Dollar in Central Bank Reserve




Source: Bloomberg
MSCI World Index




Source: Bloomberg
Contribution to Growth of Global Economy




Source: IMF October 2009
Contribution to Growth of USA
Contribution to Growth of Euro Zone
Contribution to Growth of Japan
Change in US Treasury HoldingAug08 to June 09




   Source: ADB September 2009
คาเงินบาทในวิกฤติขาวลือ




Source: Bloomberg
คาเงินบาทในวิกฤติขาวลือ




 Source: Bloomberg
คาเงินบาทในวิกฤติขาวลือ




 Source: Bloomberg

More Related Content

Similar to SIU - Dynamics of Global Economy

เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfEIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfSCBEICSCB
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfSCBEICSCB
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfSCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...SCBEICSCB
 
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVEPloy50
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFINNOMENAMarketing
 
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
K bank multi asset strategies dec 2010  thai_K bank multi asset strategies dec 2010  thai_
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_KBank Fx Dealing Room
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
KBank Multi Asset Strategies Nov 2011 (Thai version)
KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)
KBank Multi Asset Strategies Nov 2011 (Thai version)KBank Fx Dealing Room
 
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228FINNOMENAMarketing
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
Seminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvinSeminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvinnongalisanaja
 
KBank multi asset strategies sept 2011 thai
KBank multi asset strategies   sept 2011 thaiKBank multi asset strategies   sept 2011 thai
KBank multi asset strategies sept 2011 thaiKBank Fx Dealing Room
 

Similar to SIU - Dynamics of Global Economy (18)

เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfEIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
K bank multi asset strategies dec 2010  thai_K bank multi asset strategies dec 2010  thai_
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
KBank Multi Asset Strategies Nov 2011 (Thai version)
KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)KBank Multi Asset Strategies Nov 2011   (Thai version)
KBank Multi Asset Strategies Nov 2011 (Thai version)
 
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
Seminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvinSeminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvin
 
sept 2011 thai
   sept 2011 thai   sept 2011 thai
sept 2011 thai
 
KBank multi asset strategies sept 2011 thai
KBank multi asset strategies   sept 2011 thaiKBank multi asset strategies   sept 2011 thai
KBank multi asset strategies sept 2011 thai
 

More from Isriya Paireepairit

ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559
ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559
ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559Isriya Paireepairit
 
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯIsriya Paireepairit
 
Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Isriya Paireepairit
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นอนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นIsriya Paireepairit
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยIsriya Paireepairit
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติIsriya Paireepairit
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?Isriya Paireepairit
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzIsriya Paireepairit
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิIsriya Paireepairit
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIIsriya Paireepairit
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งIsriya Paireepairit
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementIsriya Paireepairit
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIsriya Paireepairit
 

More from Isriya Paireepairit (20)

ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559
ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559
ทิศทางอุตสาหกรรมโทรทัศน์ ปี 2559
 
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
 
Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
 
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นอนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency Management
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand Case
 

SIU - Dynamics of Global Economy

  • 1. สัมมนา iZen ครั้งที่ 1 ประจําเดือนตุลาคม 2552 จัดโดย Siam Intelligence Unit “พลวัตรเศรษฐกิจโลก” 15 ตุลาคม 2552 เสนอโดย สุรศักดิ์ ธรรมโม นักเศรษฐศาสตร ของ Siam Intelligence Unit http://www.siamintelligence.com/
  • 2. ทําความเขาใจกันกอน 1. นักเศรษฐศาสตรพยากรณเศรษฐกิจทั้งการดิ่งลงของเศรษฐกิจสูวิกฤติและการ ฟนตัวของเศรษฐกิจผิดพลาดมาโดยตลอด 2. องคความรูของวิชาเศรษฐศาสตรปจจุบันมีปญหาอยางรุนแรงดังที่เสนอโดย นิตยสาร The Economist ฉบับ July 18,2009 (Where it went wrong -and how the crisis is changing it ?) และ Paul Krugman เขียนไวใน NY Times Sep 2,2009 (How Did Economists Get It So Wrong?) 3. ผูบรรยายตองการนําเสนอความเคลื่อนไหวของเศรษฐกิจโลกและกลยุทธของ ประเทศตางๆในการรับมือ ตอบสนองตอภาวะวิกฤติโลก รวมทั้งประเมินกล ยุทธของประเทศสําคัญที่กาหนดใหประเทศอืนๆตองเดินตาม ซึ่งผูบรรยาย ํ ่ เชือวาสิ่งนีจะกําหนดฉากทัศน (Scenario) ของเศรษฐกิจโลกในอนาคตวาจะ ่ ้ เปนไปในรูปแบบใด มากกวาดูองคประกอบของ GDP แตละประเทศเพียง อยางเดียว
  • 4. ภาพรวมสถานการณเศรษฐกิจโลก ในไตรมาสที่ 2 ป 2552 ดัชนีทางเศรษฐกิจประเทศตางๆแสดงใหเห็นวา เศรษฐกิจโลกไดถึงจุดต่ําสุด และเริ่มฟนตัวอยางชัดเจน หลังจากตลาดการเงินกลับเขาสูภาวะทีมีเสถียรภาพขึ้น โดยรัฐบาลมีบทบาท ่ สําคัญที่สุดที่ชวยใหเศรษฐกิจฟนตัว ในไตรมาส 1 ป 2552 เศรษฐกิจของประเทศเอเชียบางประเทศเริ่มสงสัญญาณการแยกตัว (De- Coupling) ออกจากเศรษฐกิจ G-3 อยางชัดเจน เชน จีน อินเดีย อินโดนีเซีย “จีน” เปนประเทศทีมีบทบาทสําคัญในการเปนผูนําเขาสินคาทุน จาก เยอรมนี เกาหลี ญี่ปุน และ นําเขา ่ สินคาโภคภัณฑจาก ออสเตรเลีย และ บราซิล การคาระหวางประเทศ ในครึ่งหลังป 2552 มีความเสี่ยงที่อาจจะชะลอตัว เนื่องจากระดับสินคาคงคลัง ไมไดลดลงต่ําเหมือนกับในชวงไตรมาสที่ 1/52 สัญญาณการฟนตัวอยางชัดเจนในบางประเทศจะนําไปสูการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นโดย ออสเตรเลียไดเปนประเทศแรกในกลุม G-20 ที่ปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นไปแลว ในขณะที่ตลาดประเมินวา จีน อินเดียอาจจะใชมาตรการทางการเงินที่เขมงวดขึ้นหลังจากที่ผอนคลายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ  สภาพคลองที่กลับมาสูระดับกอนวิกฤติ ความกังวลเรื่องการออนคาของเงินดอลลารสหรัฐออนคาอาจจะ ทําใหเกิดฟองสบูในตลาดสินทรัพยบางประเภทโดยเฉพาะดัชนีตลาดหลักทรัพยประเทศเอเชียและภาวะ ฟองสบูอาจจะแตกเร็วกวาที่คาด เพราะพื้นฐานทางเศรษฐกิจยังไมไดฟนตัวอยางแข็งแกรง
  • 5. การประเมินเศรษฐกิจโลกโดยIMF IMF ระบุวา “Global Recession is ending..” IMF ระบุชัดเจนวาการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกมาจาก ภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะจีนและอินเดียรวมทั้งประเกิด ใหมเอเชีย ความเสี่ยงที่ IMF ประเมินคือ การที่ประเทศตางๆออก จาก Exit Strategies เร็วกวาที่คาด ความเปราะบางของ สถาบันการเงิน และการที่ประเทศ G-3 โดยเฉพาะ สหรัฐฯจะลดการบริโภคลงและสงผลใหการสงออกของ ประเทศเอเชียจะตองชะลอลงตาม โดยความเสี่ยงนี้จะ เกิ ด ขึ้ น ในป 2011 และอาจจะส ง ผลให เ ศรษฐกิ จ โลก เติบโตในอัตราที่ต่ํา IMF ประเมินวาประเทศในแถบเอเชียมีความเสี่ยงที่จะ เผชิญกับภาวะเงินเฟอเรงตัวขึ้นในขณะที่ประเทศพัฒนา แล ว โดยเฉพาะสหรั ฐ ฯและญี ปุ น จะตกอยู ใ นภาวะ Deflation ยาวนานกวาที่คาด SIU ประเมินเศรษฐกิจโลกเขาสูภาวะเสถียรภาพแลวแต การฟนตัวอยางเขมแข็งตองอาศัยการฟนตัวของตลาด สินเชื่อและการทําใหสถาบันการเงินกลับมาทํางานอีก ครั้ ง แต ก ารฟ น ตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกอย า งเข ม แข็ ง นั้ น แยกไม อ อกจากการฟ น ตั ว ของสถาบั น การเงิ น ดั ง นั้ น การจั ด การภาระหนี้ เ สี ย และการเพิ่ ม ทุ น ของสถาบั น การเงินจึงเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดการฟนตัวของ เศรษฐกิจโลกวาจะเปนไปอยางเขมแข็งหรือไม
  • 6. IMF : Global Financial Stability Report IMF ประเมินวาอัตราการขยายตัวในการปลอยสินเชื่อในป 2009 ของ Euro Area, UK และ USA จะอยูที่ -4.6 %,-8.6 % และ -3.2 % ตามลําดับ ในขณะที่ป 2010 IMF คาดวาจะหดตัวที่ -2.7 %,-4.5 % และ -2.8 % ตามลําดับ จาก ตัวเลขดังกลาวนี้ SIU ประเมินวาเศรษฐกิจอังกฤษมีความเสี่ยงสูงมากอันเนื่องมาจากการหดตัวของสินเชื่ออยาง รุนแรงในป 2009-10 IMF ยังประเมินวาความเสี่ยงทางการเงินของประเทศตลาดเกิดใหมในป 2009-10 คือการ Refinance ในวงเงิน ประมาณ $ 446 bn โดยสัดสวนวงเงินที่ตอง Refinance ในป 2009 ของ Latin, Europe &CIS,ME&A และ Asia อยูท่ี ประมาณ $ 50 bn, $87 bn, $42 bn,และ $ 61 bn ตามลําดับ และในป 2010 วงเงิน Refinance ตามการคาดการณของ IMF อยูที่ $ 42 bn, $ 69 bn, $ 32 bn และ $ 63 bn ตามลําดับ จากขอมูลนี้จะพบวา ยุโรปตะวันออกและCIS เปน ชาติที่จะตอง Refinance มากสุดและนาจะเปนความเสี่ยงที่โยงไปยัง Western Europe และอาจจะกดดันคาเงินยูโรใน อนาคต
  • 7. Financial Write Down Unit : ‘000 Mn USD IMF ประเมินวาการตัดขาดทุนของสถาบัน 3Q09 2Q09 1Q09 4Q08 3Q08 Total การเงิน (write-down)ในชวงป 2550-2553 Worldwide 0.5 126 148 379 270 1618 Freddie Mac - 24.5 13.5 22.2 19 119.6 จะตัดขาดทุนที่ 3.4 ลานลานดอลลาร Fannie Mae - 27.7 19.3 17 20 118.3 สหรัฐฯ ขณะนี้สถาบันการเงินทั่วโลกตัด Citigroup Inc. - 10.2 13.8 19.7 12.8 112.2 ขาดทุนไปแลว 1.62 ลานลานดอลลารา Wachovia Corporation - - 0 49.8 29.4 101.9 สหรัฐฯ เทากับวายังเหลือความเสียหายอีก American International Group - 11.6 2.5 23.3 15.6 101.4 1.78 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ Bank of America - 13.1 13.8 14.5 6.7 69.6 Merrill lynch & Co. - - 0 0 12 55.9 UBS AG - -0.2 2.4 2 4.4 52.8 ความเสียงสําคัญประการหนึ่งที่ IMF ระบุใน ่ HSBC Holdings Plc. - 7.9 0 15.6 4.8 50.1 รายงานคือความเสียงหนี้สาธารณะและ ่ JP Morgan Chase & Co - 8 7.7 9.8 8.1 49.2 นําไปสูการดําเนินนโยบายการคลังแบบ Washington Mutual Fund - - 0 0 30.9 45.3 ขาดดุล (Fiscal Deficit) จะกระทบตอตนทุน Well Fargo - 5 4.5 8.6 5.5 32.8 ทางการเงินระยะยาว โดย IMF ประเมินวา HBOS Plc - - 0 18.3 3.9 28.2 Royal Bank of Scotland - 1.6 3.3 10.1 0.3 27.6 การเพิ่มขึนของการขาดดุลงบประมาณ 1% ้ National City Corp. - - 0 19.9 0.9 25.2 จะนําไปสูการเพิ่มขึนของอัตราดอกเบีย ้ ้ ระยะยาวประมาณ 0.1-0.6% ที่มา: Bloomberg ปรับปรุงลาสุด 9 ต.ค. 2552
  • 8. Regional Financial Write Down ที่มา: Bloomberg ปรับปรุงลาสุด 15 ต.ค. 2552 IMF คาดการณวาในชวงป 2550-2553 สหรัฐฯ จะตัดขาดทุนรวมที่ 1.025 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ปจจุบันตัดขาดทุนไปแลว1 .08 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ เกินกวาการคาดการณของ IMF ในขณะที่ภูมภาค ิ ยุโรป (Euro Area) จะตัดขาดทุนรวม 814,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ ปจจุบันตัดขาดทุนไปแลว 507,000 ลาน ดอลลารสหรัฐฯหรือประมาณ 62 % ของความเสียหายที่คาดวาจะเกิดขึ้น สถาบันการเงินในสหรัฐฯ อังกฤษและภูมภาคยุโรปมีความเสี่ยงจากการที่แหลงเงินทุนสวนหนึ่งที่มาจากการ ิ ระดมทุนในตลาดตราสารหนี้หรือที่เรียกวา Wholesale Funding ในอีก 2-3 ปขางหนาจะครบอายุ โดย IMF คํานวณวาตราสารหนี้ท่ออกโดยสถาบันการเงินซึ่งครบอายุในป 2555 และสงผลใหสถาบันการเงินในสหรัฐฯ ี อังกฤษและภูมภาคยุโรปตองทําการ Re-finance จะอยูที่วงเงินประมาณ 1.5 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ิ
  • 9. การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศอุตสาหกรรม ชั้นนํา % qoq 1 0.6 0.3 0.3 0 -0.2 -1 -0.6 -1.0 -1.4 -2 -3 -2.5 -2.5 -3.3 -4 -3.5 Q1/09 Q2/09 -5 -4.8 -6 Euro zone Germany UK France US Japan ที่มา: Bloomberg
  • 12. OECD Leading Indicators ที่มา: Bloomberg
  • 14. แนวโนมเศรษฐกิจโลกในอนาคต 1 ในป 2010 เศรษฐกิจโลกจะฟนตัวในอัตราที่สูงคือประมาณ 3.1 % yoy เนื่องจากฐานคํานวณในป 2009 ที่ต่ําและมาตรการภาครัฐในการกระตุนเศรษฐกิจโดยเฉพาะจากสหรัฐฯและเอเชียโดยเฉพาะจีน ผนวก กับนโยบายทางการเงินของประเทศพัฒนาแลวโดยเฉพาะกลุม G-3 (USA,EU และ Japan) ที่กดอัตรา ดอกเบี้ยใหต่ําใกลเคียง 0 % (ZIRP: Zero Interest Rate Policy) แตถาพิจารณาในเชิงมูลคาของ GDP โลก ตามการประมาณของ IMF พบวา...อาจจะตองใชเวลาถึงป 2011 เปนตนไป มูลคา GDP โลกจึงจะ กลับมาอยูในระดับเดียวกับกอนวิกฤติ แตพิจารณาในภาพยอย พบวากลุมประเทศเกิดใหมประกอบไปดวยกลุมเอเชีย กลุมละตินอเมริกา กลุม ยุโรปตะวันออก+รัสเซีย นั้นกลุมเอเชียโดยเฉพาะ กลุมอาเซียน...แมวาจะขยายตัวนอยกวาการขยายตัว ของตัวเองในอดีต....แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆทั่วโลก ....กลุมอาเซียนมีการขยายตัวที่สูงที่สุด ทวา ในป 2011 เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมจะกลับมาชะลอลงคือขยายตัวนอยกวา 3% อันเนื่องจากประเทศ พัฒนาแลวเริ่มหมดศักยภาพในการกระตุนเศรษฐกิจดวยการใชนโยบายการคลังแบบขาดดุล ในขณะที่ ประเทศเอเชียแมวาจะพยายามแยกตัวออกจากการพึ่งพาเศรษฐกิจตะวันตกและกระตุนเศรษฐกิจ ภายในประเทศ....แตการแยกตัวของเอเชียนี้ยงตองใชเวลาไมสามารถจะดําเนินการสําเร็จไดใน 2-5 ป... ั ผนวกับการที่เอเชียมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในป 2010 ที่แข็งแกรงกวาโดยเปรียบเทียบกับตะวันตก จะสงผลใหเกิดกระแสเงินทุนไหลเขามายังเอเชียจํานวนมากซึงในที่สุดจะสงผลใหเกิดภาวะฟองสบูใน ่ สนิทรัพยบางประเภทและนําไปสูการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางประเทศเอเชียเพื่อควบคุมเงินเฟอ และการควบคุมปริมาณเงินสงผลใหเศรษฐกิจเอเชียอาจจะชะลอลง
  • 15. แนวโนมเศรษฐกิจโลกในอนาคต 2 กลุม G-20 จะเปนกลุมกําหนดนโยบายเศรษฐกิจโลกแทนกลุม G-8 กลุม BRICs ซึ่งเปนกลุมยอยใน G-20 จะทวีบทบาททาทายสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตกมากขึ้น เรื่อยๆ โดยเฉพาะหลังจากการประชุม BRICs Summit ที่รัสเซียเมื่อ 16 มิ.ย. 2552 โดยเฉพาะการเขามา ขอมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจและการเงินโลกในองคกรเศรษฐกิจระหวางประเทศเชน IMF และ World Bank ประการสําคัญ คือ การทาทายสกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ โดยจีนและรัสเซีย จีนจะมีขนาดเศรษฐกิจแซงหนาญีปนเปนอันดับ 2 ของโลกในสิ้นป 2010 แตการทะยานขึ้นไปเปน ุ เศรษฐกิจอันดับหนึ่งของโลกแทนสหรัฐอเมริกานั้นอาจจะตองใชเวลาถึงป 2050 (ตามการประมาณ การณของ Goldman Sachs และสภาขาวกรองสหรัฐฯ) โลกาภิวัตนจะยังคงอยู แตจะกระจุกตัวในภูมภาคมากขึ้น ดังจะเห็นจากขอตกลงประชาคมเศรษฐกิจ ิ อาเซียน (AEC) ความรวมมือทางเศรษฐกิจการคาและการลงทุนระหวางอาเซียนและจีน เกาหลีใต ญีปุน เชน ความริเริ่มเชียงใหมแบบพหุภาคี (CMIM) ประเทศเอเชีย จะเริ่มหันเหการสงออกจาก G-3 ไปประเทศอื่นๆและกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ หรืออีกนัยหนึ่งคือ Rebancing Global Economy กําลังจะเริ่มขึ้นแตระดับการ Rebalance จะชากวา นักวิเคราะหทางเศรษฐกิจคาดไวเนื่องจากโครงสรางเศรษฐกิจมีความหนืดในการเปลี่ยนแปลง การสิ้นสุดของนโยบายทางเศรษฐกิจเสรีนิยมแบบ Washington Consensus และการเริ่มตนของระบบทุน นิยมที่ถูกควบคุม (Regulated Capitalism)
  • 17. BRICs Summit June 16,2009 Source: Financial Times
  • 18. BRICs อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจรายไตรมาส (yoy) ของ BRICs BRICs มีทุนสํารองระหวางประเทศรวมกัน (ณ 14 yoy ต.ค. 2552) ประมาณ 3.14 ลานลานดอลลาร สหรัฐฯ (42.5 % ของทุนสํารองระหวางประเทศทั่ว โลก) BRICs ถือเงินดอลลารสหรัฐฯสูงในทุนสํารอง ระหวางประเทศเฉพาะจีนประเทศเดียวนั้นถือ ครองเงินดอลลารสหรัฐฯประมาณ 70% ของ เงินทุนสํารอง หรือ 1.4 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ สวนรัสเซียถือเงินดอลลารสหรัฐฯในทุนสํารอง ระหวางประเทศประมาณ 30% ราว 1.2 แสนลาน ดอลลารสหรัฐฯ SIU คํานวณโดยอาศัยขอมูล IMF พบวาในป 2552 BRICs จะมีสัดสวน GDP โลกประมาณ 15.4 % ขณะที่ป 2551 BRICs มีสวนในการขยายตัวทาง เศรษฐกิจโลกสูงถึง 59% ขณะที่ประเทศ G-3 มี สัดสวนในการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก 11% สะทอนใหเห็นวาการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก Source: Bloomberg ในชวง 2-3 ปขางหนา จะถูกจับเคลื่อนโดยประเทศ กลุม BRICs เนื่องจากประเทศพัฒนาแลวยังคง ไดรับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก
  • 19. BRICs Proposition อัตราการขยายตัวของผลผลิตอุตสาหกรรม (Industrail Production:IP) ของ BRICs BRICs เรียกรองขอบทบาทที่มากยิ่งขึ้นใน yoy ระบบการเงินโลกและขอสิทธิออกเสียงใน สถาบันการเงินระหวางประเทศอาทิเชน สิทธิออกเสียงในกองทุนการเงินระหวาง ประเทศ (IMF) และที่นั่งคณะมนตรีความ มั่นคงฯ ในองคการสหประชาชาติ (UN) SIU ประเมินวาการเปลี่ยนเงินสกุลสํารอง จากดอลลารสหรัฐฯ ไปเปนเงินสกุลอื่นๆ จะคอยๆเกิดขึ้น เพราะ BRICs เองตางถือ ครองเงินดอลลารสหรัฐฯในสัดสวนที่สงใน ู เงินทุนสํารองระหวางประเทศ การระบุหรือ กําหนดทิศทางเงินสกุลใหมที่จะแทนเงิน ดอลลารสหรัฐฯโดยไมไดมีเงินสกุลที่ สามารถแทนเงินดอลลารสหรัฐฯไดอยาง แทจริงจะสงผลใหคาเงินดอลลารสหรัฐฯ ผันผวนซึ่งในแงนี้กระทบกับมูลคาของ เงินทุนสํารองระหวางประเทศของ BRICs โดยตรง Source: Bloomberg
  • 20. BRICs consumption GDP per capita (US$) ของ BRICs และ G3 2,360 รายไดตอหัวของ BRICs ยังอยูในอัตราที่ตํามากเมื่อ ่ จีน 930 อินเดีย 950 เทียบกับG-3 ดังนั้น การขยายตัวของการบริโภคของ 500 รัสเซีย 7,560 ประเทศ BRICs จึงไมอาจทดแทนการลดลงของการ 1,710 บราซิล 5,910 บริโภค G3 ได 3,870 36,329 ประเทศภาคพื้นยุโรป(Euro Zone) 22,315 37,670 ญี่ ปุน 34,620 46,040 สหรัฐ อเมริกา 34,400 $ ตอป 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 40,000 45,000 50,000 2000 2007 Source : World Bank 2008
  • 21. G-20 Sep 25, 2009 Meeting Results เวทีในการกําหนดเศรษฐกิจโดยเฉพาะการคาและการเงินระหวางประเทศจะถูกเปลี่ยนมาเปนกลุม G-20 แทน กลุม G-8 G-20 ยังคงยืนยันมาตรการกระตุนเศรษฐกิจตอไปจนกวาสัญญาณการฟนตัวทางเศรษฐกิจจะชัดเจนจึงจะเริม ่ ดําเนินการกลยุทธออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ (Exit Strategies) การกําหนดกลยุทธในการออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจหรือที่เรียกวา Exit Strategies นั้นขณะนี้กําลังอยู  ระหวางศึกษาซึ่งทีประชุม G-20 ในครังนี้ไดกําหนดใหรัฐมนตรีการคลังของกลุมประเทศ G-20 กองทุน ่ ้ การเงินระหวางประเทศ (IMF) คณะกรรมการเสถียรภาพทางการเงิน (Financial Stability Board) ซึ่งประกอบ ไปดวย ธนาคารกลางของกลุม G-20 และหนวยงานที่กํากับกฎระเบียบของกลุม G-20 รวมทั้ง กระทรวงการคลังของประเทศสมาชิก G-20 ตองสงรายงานกลยุทธในการออกจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ  ในเดือน พ.ย. 2552 เนนการ Regulate ในภาคการเงินมากขึ้นทั้งการควบคุมผลตอบแทนผูบริหารภาคการเงิน (เสนอผูนํา G-20 ใน March 2010) การเขาไปกํากับการซื้อขายอนุพันธในตลาด OTC (เสนอผูนํา G-20 ในสิ้นป 2012) เนนการปรับสมดุลเศรษฐกิจโลกโดยมีนยยะวาสหรัฐฯจะลดการบริโภค (ลดการนําเขา) เพิมการออม ในขณะที่ ั ่ ชาติเอเชียที่ดําเนินยุทธศาสตร Export Oriented ตองลดการสงออกลง
  • 23. ความเสี่ยงของเศรษฐกิจโลกในป 2010 ราคาน้ํามันดิบในตนป 2010 ทะยานขึ้นสูงอยางตอเนื่องใกลระดับ 100 ดอลลาร สหรัฐฯ ตอบารเรล มีความเปนไปไดสูงมาก การออนคาของคาเงินดอลลารสหรัฐฯอยางตอเนื่อง ความเปนไปไดสูงมาก วิกฤติสถาบันการเงินในยุโรปตะวันออก ซ้ําเติมเศรษฐกิจยุโรปตะวันตกใหถดถอย อีกครั้ง ความเปนไปไดในระดับสูง นโยบาย Exit Strategies ที่เร็วเกินไปของประเทศสําคัญทางเศรษฐกิจของโลก เชน จีน สหรัฐอเมริกา และยุโรปสงผลใหเศรษฐกิจโลกดิงลงอีกครั้ง (Double Dip Recession) ความเปนไปไดระดับต่ํา การกลายพันธุของไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ความเปนไปไดระดับปานกลาง การลมสลายคาของเงินดอลลารสหรัฐฯ ความเปนไปไดระดับต่ํา
  • 24. USD : After speech of Bernanke ที่มา: Bloomberg
  • 25. USD :Fed Reserve Balance Sheet ที่มา: Fed
  • 26. USD :Fed Exit Strategy ที่มา: Fed
  • 27. Asia Decoupling ? ที่มา: ADB June 2009 ที่มา: ADB June 2009 SIU ประเมินวาประเทศในเอเชียตะวันออกที่นาจะแยกตัวออกจากเศรษฐกิจ G-3 ไดเร็วที่สุด คือ จีนและอินโดนีเซีย ในขณะที่ ฟลิปปนสแมจะมี Export Share ที่ต่ํา แตฟลิปปนสเปดรับตอ เงินโอนจากตางประเทศในระดับสูง (OFW Remittance)ประมาณ 10 % ตอ GDP ในแตละป โดยเงินโอนดังกลาวมาจากแรงงานฟลิปปนสในตางประเทศที่โอนกลับประเทศ
  • 28. Fiscal Balance % GDP 2 ในขณะที่ประเทศกําลังพัฒนาจะมีศักยภาพในการลดการขาดดุลทางการคลังไดดีกวาประเทศ พัฒนาแลว ดังนั้น การขึ้นอัตราภาษีจึงกระทําไดในอัตราที่นอยกวารวมทั้งไมจําเปนตองลดการ ใชจายภาครัฐในระดับเดียวกับประเทศพัฒนาแลว 0 Advanced economies Emerging and developing economies World -2 -4 -6 ประเทศพัฒนาแลวมีแนวโนมเผชิญปญหาการขาดดุลการคลังมากที่สุด เปนประวัติการณบงชี้วาในอนาคตรัฐบาลประเทศพัฒนาแลวจําเปนตองขึ้น ภาษีและลดการใชจายภาครัฐเพื่อลดการขาดดุลการคลังซึ่งมีนัยยะตอวาการ -8 บริโภคในประเทศพัฒนาแลวจะลดลง -10 1970 1971 1972 1973 1974 1975 1976 1977 1978 1979 1980 1981 1982 1983 1984 1985 1986 1987 1988 1989 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 Source: IMF October 2009
  • 29. Public Debt 29 Source: IMF October 2009
  • 31. US Commercial Bank loan Source: Bloomberg
  • 33. US Dollar in Central Bank Reserve Source: Bloomberg
  • 35. Contribution to Growth of Global Economy Source: IMF October 2009
  • 37. Contribution to Growth of Euro Zone
  • 39. Change in US Treasury HoldingAug08 to June 09 Source: ADB September 2009