SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
ชุดกิจกรรมเคมี 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
เรื่อง ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com 
ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร 
โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 
เล่ม 1 
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์เขต 3
คำนำ 
ชุดกิจกรรมวิชาเคมี เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แบ่งเป็น 8 เล่ม ใช้เวลาเรียนเล่มละ 2 ชั่วโมง 
สำหรับชุดกิจกรรมวิชาเคมี เล่ม 1 เรื่อง ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
นักเรียนจะได้ทดลองเพื่อศึกษา อธิบาย อภิปราย อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ฝึกสร้างกราฟ และคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จากการปฏิบัติ 
กิจกรรม จะส่งผลให้นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดการพัฒนา 
ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี 
ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร 
ก 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com
ข 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com 
1 . ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 
2 . ศึกษาสาระสำคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ 
3 . ศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ 
4 . ทำกิจกรรมที่ 3.1 
5 . ศึกษาการคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
6. ทำกิจกรรมที่ 3.2 
7. ทำแบบทดสอบหลังเรียน
สารบัญ 
เรื่อง ต์ 
หน้า 
คำนำ ก 
คำชี้แจง ไซcom 
ข 
แบบทดสอบก่อน-หลังเรีบยน... ..............................................1 
1. สาระสำคัญ .......................................................................เว็4 
2. จุดประสงค์นการเรียนร.ู้.......................................................4 
แพ3. กิจร่กรรบมการเรียนรู้……… ................................................5 
3.1 สkroobannok.ร้างความสนใจ.........................................................5 
เผย3.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี………..………………….6 
www.- กิจกรรมที่ 3.1.......................................................... 9 
- แนวคำตอบกิจกรรมที่ 3.1 ......................................15 
3.3 การคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี……................18 
- กิจกรรมที่ 3.2 .........................................................21 
- แนวคำตอบกิจกรรมที่ 3.2 ......................................23 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ..............................28 
หนังสืออ้างอิง
แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 
ชุดกิจกรรมวิชาเคมี เล่ม 1 ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ข้อสอบ 10 ข้อ เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน 
คำสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หาได้จากความสัมพันธ์ใด 
ก. ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงต่อหนึ่งหน่วยเวลา 
ข. ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหนึ่งหน่วยเวลา 
ค. ปริมาณสารตั้งต้นที่เหลืออยู่ต่อเวลาในการดำเนินปฏิกิริยา 
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข. 
2. จากปฏิกิริยา Mg(s) + 2 HCl (aq)  MgCl2(aq) + H2(g) วิธีวัดปริมาณของสาร 
ในปฏิกิริยา ที่สะดวกที่สุดคือวิธีใด 
ก. วัดปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น 
ข. วัดมวลของโลหะแมกนีเซียมที่ลดลง 
ค. วัดความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ลดลง 
ง. วัดความเข้มข้นของแมกนีเซียมคลอไรด์ที่เกิดขึ้น 
3. ธูปไม่ทายาหม่องใช้เวลาลุกติดไฟ 6 วินาที จะมีอัตราการลุกติดไฟเท่าใด ถ้าแทนธูปลุกติดไฟ 
ด้วย 1 หน่วย 
ก. 0.167 หน่วย / วินาที ข. 0.25 หน่วย / วินาที 
ค. 1 หน่วย / วินาที ง. 6 หน่วย / วินาที 
4. เมื่อเผาแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นเวลา 10 นาที เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้น 100 
ลูกบาศก์เซนติเมตร อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมีค่าตรงตามข้อใด 
ก. 5 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที ข. 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที 
ค. 15 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที ง. 20 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที 
1 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com
2 
5. เผาสารประกอบไฮโดรคาร์บอน100 กรัม พบว่าเกิดน้ำขึ้น 20 มิลลิลิตร โดยใช้เวลา 
ในการเผา 10 นาที จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีนี้ 
ก. 0.5 มิลลิลิตรต่อนาที ข. 1 มิลลิลิตรต่อนาที 
ค. 1.5 มิลลิลิตรต่อนาที ง. 2 มิลลิลิตรต่อนาที 
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 6-8 
จากผลการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างแมกนีเซียมกับ 
กรดไฮโดรคลอริกได้ผลดังต่อไปนี้ 
ต์ 
ปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน บ(cm3) ไซเวลา com 
(s) 
1 
20 
2 
40 
บkroobannok.น3 
เว็70 
ร่4 
90 
5 
110 
6. อัตยรากาแพรเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย มีค่ากี่ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที 
เผก. 4 ข. 4 ค. 5 ง. 5 
www.90 
100 
110 
320 
7. อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ที่ปริมาตรระหว่าง 1-2 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีค่า 
กี่ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที 
ก. 1 ข. 1 ค. 1 ง. 2 
20 
30 
40 
60 
8. อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ที่ปริมาตรระหว่าง 2-3 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีค่า 
กี่ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที 
1 ข. 30 
ก. 20 
1 ค. 50 
3 ง. 3 
70
3 
คำชี้แจง ใช้กราฟและข้อความต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อ 9-10 
เมื่อเอาแผ่นโลหะแมกนีเซียมมาทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง 
จะได้แก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น ถ้าจับเวลาและปริมาตรของแก๊ส จะได้ผลตามกราฟ 
5 
- 
ต์ 
4 - 
•ไซ3 - 
E 
•D 
บcom 
2 - 
•C 
เว็1 - 
•B 
นแพ•A 
ร่บ| kroobannok.| | | | | 
เวลา ( วินาที) 
ย30 60 90 120 150 180 
เผwww.ปริมาตรแก๊ส H2 ( ลูกบาศก์เซนติเมตร ) 
9. กราฟช่วงใดที่แสดงว่าแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้นในอัตราที่รวดเร็วมากที่สุด 
ก. AB ข. CD ค. BD ง. DE 
10. กราฟช่วงใดที่แสดงว่าแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้นในอัตราที่ช้าที่สุด 
ก. AB ข. CD ค. BD ง. DE
4 
ชุดกิจกรรมวิชาเคมี เล่ม 1 
ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
1. สาระสำคัญ 
ต์ 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ไซหมายถึง การเปลี่ยนแปลงขอบงสารในหนึ่งหน่วยเวลา com 
ซึ่งหาได้จาก 
ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงต่อเว็หนึ่งหน่วยเวลา หรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ 
ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งบkroobannok.หน่วยนเวลา เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 
แพร่ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = 
เวลาในการดำเนินปฏิกิริยา 
ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น 
เผยอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = 
เวลาในการดำเนินปฏิกิริยา 
2. www.จุดประสงค์การเรียนรู้ 
1) อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได  
2) ทดลองเพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม 
กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีได้ 
3) คำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 
4) บอกและเลือกวิธีวัดปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลง เพื่อหาอัตราการ 
เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
5 
3. กิจกรรมการเรียนรู้ 
3.1 สร้างความสนใจ 
ครูบ่มกล้วยอยู่ 2โอ่ต์ 
ง โอ่งใบแรก 
ใส่แคลเซียมคาร์ไบด์หรือถ่านแก๊ส ส่วน 
เว็อีกโอ่งหนึ่งไซไม่ใส่ถ่านแก๊ส ทิ้งไว้ 3 วัน 
kroobannok.กล้วยบในโอ่งแรกสุกหมด แต่com 
โอ่งหนึ่ง 
นพบว่า 5 วันจึงสุก การบ่มกล้วยแบบไหน 
บมีอัตราการสุกเร็วกว่ากัน 
แพร่เผอัตราการสุกเป็นอย่างไร 
www.ยหนูรู้แต่ว่ากล้วยที่บ่มโดยใช้ 
ถ่านแก๊สสุกเร็วกว่าค่ะ 
การสุกของกล้วยเป็นปฏิกิริยาเคมี 
อย่างหนึ่ง ถ้านักเรียนอยากทราบว่า 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีคืออะไร 
จะไดศึ้กษาดังต่อไปนี้
3.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ไซต์ 
แพร่บkroobannok.นเว็บcom 
เผwww.ยภาพ : ธูปทายาหม่องกับธูปที่ไม่ทายาหม่อง 
ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร 
ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 8 มกราคม 2551 
6 
ครูมีธูป 2 ดอก ธูปดอกแรกทายาหม่อง 
ไว้ที่ปลายธูป ส่วนดอกที่สองไม่ทายาหม่อง 
ให้เพื่อนทดลองจุดธูป และจับเวลาตั้งแต่เริ่มจุดธูป 
จนธูปลุกติดไฟ แล้วให้หาอัตราการติดไฟของธูป 
ทั้งสอง 
ภาพ : ธูปที่ทายาหม่องลุกติดไฟ
ตั้งแต่เริ่มจุดธูปจนกระทั่งธูปลุกติดไฟ 
ใช้เวลากี่วินาที ให้หาอัตราการลุกติดไฟ 
ของธูปทั้งสอง 
ไซต์ 
ธูปทายาหม่องใช้เวลา 
ลุกติดcom 
ไฟ 1 วินาที 
บธูปไม่ทายาหม่อง ใช้ 
kroobannok.เว็เวลาลุกติดไฟ 6 วินาทีค่ะ 
หาอัตรา 
การลุกติดไฟ 
ดังนี้ แพร่บนธูปลุกติดไฟ 
ยอัตราการลุกติดไฟ = 
เผเวลา 
www.ธูปลุกติดไฟ (แทนด้วย 1 หน่วยอัตราการลุกติดไฟของธูปทายาหม่อง = ) 
เวลา (วินาที) 
= 
1 หน่วย 
1 วินาที 
= 1 หน่วย / วินาที 
อัตราการลุกติดไฟของธูปไม่ทายาหม่อง = 
= 
7 
ธูปลุกติดไฟ (แทนด้วย1 หน่วย) 
เวลา (วินาที) 
1 หน่วย 
6 วินาที 
= 0.167 หน่วย / วินาที
8 
ธูปอันไหนมีอัตราการลุกติดไฟเร็วกว่ากันคะ 
ธูปทาไซยาหม่อง ต์ 
ครับ 
เว็บcom 
สำหรับอัตราการเกินดปฏิกิริยาเคมีอื่น ๆ 
หาได้ในทำนองเดีบยวกัน คือ หาได้จากปริมาณสาร 
ที่เกิแพดขึ้นต่อเวร่ลา หkroobannok.รือหาได้จากปริมาณสารตั้งต้น 
ยที่ลดลงต่อเวลา ดังการทดลองต่อไปนี้ 
เผwww.สรุป 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งหาได้จาก 
ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ 
ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยเวลา
กิจกรรมที่ 1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม 
กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 
ชื่อ-สกุล………………….....…………………………………..ชั้น………….เลขที่…………. 
จุดประสงค์ 
1) ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม 
กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก และเขียนสมการต์ 
แสดงปฏิกิริยาเคมีได้ 
2) คำนวณ และเปรียบเทียบอัตราการเกิดปไซฏิกิริยาเคมี ณ ช่วงเวลาต่าง ๆได้ 
3) บอกและเลือกวิธีวัดปริมาณสารที่เปบลี่ยนแปลง เพื่อหาอัตราcom 
การเกิดปฏิกิริยาเคมีได  
สารเคมี-วัสดุอุปกรณ์/กลุ่kroobannok.ม 
นเว็แพร่บเผwww.ย9 
1) บีกเกอร์ขนาด 100 cm3 จำนวน 1 ใบ 2) กระบอกตวงขนาด 10 cm3 จำนวน 1 ใบ 
3) นาฬิกาจับเวลา จำนวน 1 เรือน 4) คัตเตอร์ จำนวน 1 อัน 
5) ที่จับหลอดทดลอง จำนวน 1 อัน 
6) กรดไฮโดรคลอริก 0.2 mol/ dm3 จำนวน 50 cm3 
7) ลวดแมกนีเซียมที่ขัดสะอาดแล้ว ขนาด 0.5 cm x 10 cm จำนวน 3 ชิ้น 
8) จุกคอร์กสำหรับปิดปากกระบอกตวง จำนวน 1 อัน 
(7) (8) 
ภาพ : อุปกรณ์การทดลอง 
ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร 
ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 8 มกราคม 2551
10 
การเตรียมวัสดุ 
- เหลาปลายจุกคอร์กให้มีขนาดพอดีกับปากกระบอกตวง กรีดกลางจุกคอร์กให้เป็นแนวเล็ก ๆ 
แล้วเสียบลวดแมกนีเซียมที่พับทบ ดังภาพ 
วิธีทดลอง 
1) ใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริกในกระบอกตวงขนาด 10 cm3จนเต็ม 
2) นำจุกคอร์กไปปิดปากกระบอกตวง ดังภาพ 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com 
ภาพ : การนำจุกคอร์กปิดปากกระบอกตวง 
ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร 
ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 
8 มกราคม 2551
4) อ่านปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น ณ เวลาที่ผ่านไป แล้วทดลองซ้ำอีก 2 ครั้ง 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com 
ภาพ : ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น 
ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร 
ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 8 มกราคม 2551 
11 
3) คว่ำกระบอกตวงลงในบีกเกอร์ซึ่งใส่น้ำไว้ประมาณ 50 cm3 เริ่มจับเวลาเมื่อของเหลว 
ในกระบอกตวงอยู่ที่ขีด 1 cm3 และทุกระยะที่ของเหลวลดลง 1 cm3 จนถึงขีด 10 cm3 
บันทึกผลการทดลอง 
ภาพ : การคว่ำปากกระบอกตวงลงในอ่างน้ำ
ผลการทดลอง 
1. จับเวลาการเกิดแก๊สไฮโดรเจนทุก ๆ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร ได้ดังนี้ 
ต์ 
ปริมาตรแก๊ส 
เวลาที่ใช้ (s) 
ไฮโดรเจน (cm3) 
ไซเมื่อถึงขีดที่ 
เว็ครั้งที่ 1 บครั้งที่ 2 ครั้com 
งที่ 3 เวลาเฉลี่ย 
2 
3 
แพร่น4 
บ5 
6 
kroobannok.เผ7 
www.ย8 
9 
10 
2. คำนวณหาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาต่าง ๆ ได้ดังนี้ 
2.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 2 - 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
= ………………………………….…….. 
= ………………………………….……. 
12 
ให้แต่ละกลุ่มบันทึกผลการทดลอง 
หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน แล้ว 
อภิปราย สรุปผลการทดลองในกลุ่ม 
เพื่อนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
= ผลต่างของปริมาตรแก๊สช่วง 2 - 3 cm3 (cm3) 
ผลต่างของเวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊สช่วง 2 - 3 cm3 (s)
2.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 5 - 6 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
= ………………………………………………..………….. 
= …………………………………………………………… 
2.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วไซงเวลาที่เกิต์ 
ดแก๊ส 9 -10 cm3 
บkroobannok.เว็บcom 
= น…………….. ……………………………………………. 
แพร่= ……………………………………………………………. 
2.4 หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ยได้ดังนี้ 
เผwww.ย= ……………………………………………………………. 
= ……………….……………………………………………. 
อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 
1) แก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 
คือแก๊สอะไร จงสืบค้นแล้วเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมี 
……………………………………………………….……………….………..….. 
…………………………………………………………….….………………….... 
………………………………….…………………………………….……….…… 
13 
= ผลต่างของปริมาตรแก๊สช่วง 5 - 6 cm3 (cm3) 
ผลต่างของเวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊สช่วง 5 - 6 cm3 (s) 
= ผลต่างของปริมาตรแก๊สช่วง 9 -10 cm3 (cm3) 
ผลต่างของเวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊สช่วง 9 -10 cm3 (s) 
= ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมด (cm3) 
เวลาทั้งหมด (s)
14 
2) จงเปรียบเทียบและอธิบายอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วงเวลา 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
………………………………….…………………………………….……….…… 
……………………………………………………………………………………… 
3) อัตราการเกิดไฮโดรเจนเฉลี่ย หาได้อย่างไร 
………………………………….……………………….…………………………. 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
4) การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 
นอกจากหาจากอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนแล้ว น่าจะมีวิธีอื่นหรือไม่ 
………………………………….…………………………………….……….…… 
……………………………………………………………………………………… 
………………………………….…………………………………….……….…… 
……………………………………………………………………………………… 
………………………………….…………………………………….……….…… 
……………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………… 
………………………………….…………………………………….……….…… 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com 
คะแนนเต็ม 10 ได้......................คะแนน
แนวคำตอบ 
ตัวอย่างผลการทดลอง 
1. จับเวลาการเกิดแก๊สไฮโดรเจนทุก ๆ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร ได้ดังนี้ 
ปริมาตรแก๊ส 
เวลาที่ใช้ ต์ 
(s) 
ไฮโดรเจน (cm3) 
เมื่อถึงขีดที่ 
ครั้งที่ 1 บครั้งไซที่ 2 ครั้งที่ 3 com 
เวลาเฉลี่ย 
2 น15 เว็14 16 15 
3 23 23 23 23 
4 31 32 33 32 
แพ5 ร่บkroobannok.45 47 46 46 
6 60 59 61 60 
เผย7 86 85 84 85 
8 105 104 106 105 
www.9 133 135 134 134 
10 163 164 165 164 
2. หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาต่าง ๆ ได้ดังนี้ 
2.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 2 - 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
1 cm 3 
= = 2.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 5 - 6 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
= 6 – 5 cm3 
60 – 46 s 
= 1 cm3 
14 s 
= 0.071 cm3/ s 
15 
กิจกรรมที่ 1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม 
กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 
3 - 2 cm3 
23 - 15 s 
8 s = 0.125 cm3/ s
แนวคำตอบ 
= = 0.050 cm3 /s 
ต์ 
9 cm3 
บไซ164 com 
s 
บkroobannok.นเว็แพร่เผwww.ย= 10 – 9 cm3 
1 cm3 
164 – 134 s 
20 s แก๊สที่เกิดขึ้น คือ แก๊สไฮโดรเจน เขียนและดุลสมการเคมีได้ดังนี้ 
Mg(s) + 2HCl (aq)  MgCl 2(aq) + H2(g) 
2) จงเปรียบเทียบ และอธิบายอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วงเวลา 
อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลา 15 – 23 วินาที มีค่า 0.125 cm3/s 
อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลา 46 – 60 วินาที มีค่า 0.071 cm3/s 
อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลา 134 – 164 วินาที มีค่า 0.050 cm3 /s 
จะพบว่าอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วงเวลามีค่าไม่เท่ากัน 
โดยในช่วงวินาทีแรก ๆ มีค่าสูง และในช่วงหลังมีค่าน้อยลงตามลำดับ แสดงว่า 
ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วในช่วงเริ่มต้น แล้วมีแนวโน้มช้าลงเรื่อย ๆ 
16 
2.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 9-10 cm3 
2.4 หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย ได้ดังนี้ 
อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย = 
= 0.055 cm3/s 
อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 
1) แก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 
คือแก๊สอะไร จงสืบค้นแล้วเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมี
3) อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ยหาได้อย่างไร 
หาได้จากปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมดต่อหนึ่งหน่วยเวลา 
คิดจากปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน 9 ลูกบาศก์เซนติเมตร หารด้วยเวลา 164 วินาที 
4) การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดสารละลาย 
กรดไฮโดรคลอริก นอกจากหาจากอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนแล้ว น่าจะมีวิธีอื่น 
หรือไม่ 
ไซต์ 
อาจหาได้จาkroobannok.กอัตราการเว็ลดลงขบองมวลแมกนีเซียม หรือcom 
อัตราการลดลงของ 
แพร่บนเผwww.ย17 
ความเข้มข้นกรดไฮโดรคลอริก แต่ในทางปฏิบัติการวัดมวลหรือความเข้มข้นของสาร 
โดยตรงทำได้ยาก โดยทั่วไปจึงเลือกวัดปริมาณของสารในปฏิกิริยาด้วยวิธีที่สะดวกที่สุด 
ซึ่งในการทดลองนี้คือการวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น
สรุป 
18 
เมื่อโลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยาระหว่าไซงสารละต์ 
ลายกรดไฮโดรคลอริก 
จะสังเกตพบว่ามีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น โดยในช่วงเริ่มต้นขอcom 
งปฏิกิริยา จะเกิด 
แก๊สไฮโดรเจนเร็วกการหาอัตรากาkroobannok.ว่าช่วงใกล้สิ้นสุดปฏิกิริยา 
รเกิดนปฏิกิเว็ริยาเคมี บณ ช่วงเวลาหนึ่งของปฏิกิริยาคู่นี้ หาได้จาก 
ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิด ณ ช่วงเวลานั้น หารด้วยเวลาช่วงนั้น 
การหาอัตร่รากาบรเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยของปฏิกิริยาคู่นี้ หาได้จากปริมาตร 
แก๊สแพไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมด หารด้วยเวลาในการดำเนินปฏิกิริยา 
เผwww.ย
3.3 การคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
3.3.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย คือ ค่าที่แสดงถึงการลดลงของสารตั้งต้น 
หรือการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยาต่อหนึ่งหน่วยเวลา 
ตัวอย่าง จากผลการทำกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องปฏิกิริยาระต์ 
หว่างโลหะแมกนีเซียมกับ 
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก พบว่าใช้เวลา 164 วิไซนาที เกิดแก๊สไฮโดรเจน 9 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
หาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้ 
อัตราการเกิดปฏิกิริkroobannok.ยาเคมี = เว็ปริบมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิcom 
ดขึ้นทั้งหมด (cm3) 
แพร่บน= 0.055 cm3/ s 
3.3.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ช่วงเวลาหนึ่ง คือ ค่าที่แสดงถึงการลดลง 
เผของสารตั้งต้นหรือเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ ณ ช่วงเวลาหนึ่งขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินอยู่ 
ตักรดไฮ32 วินาช่วงเวwww.ยวอย่าง จากผลการทำกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลาย 
โดรคลอริก พบว่าที่เวลา 15 วินาที เกิดแก๊สไฮโดรเจน 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร และที่เวลา 
ทีเกิดแก๊สไฮโดรเจน 4 ลูกบาศก์เซนติเมตร คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ 
ลา 15 – 32 วินาที ได้ดังนี้ 
= 0.117 cm3/ s 
19 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมี 3 ประเภทดังนี้ 
= 
= 
เวลาที่ใช้ทำปฏิกิริยา (s) 
9 cm3 
164 s 
= 
ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 15 - 32 วินาที (cm3) 
ช่วงเวลา 15 - 32 (s) 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = 
4 - 2 cm3 
32 - 15 s 
2 cm3 
17 s
3.3.3 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ จุดเวลาหนึ่ง คือ ค่าที่แสดงถึงการลดลงของสารตั้งต้น 
หรือการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ ณ จุดเวลาหนึ่งของปฏิกิริยา สามารถหาได้จากกราฟ 
ตัวอย่าง จากผลการทำกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับ 
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก นำข้อมูลมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของ 
แก๊สไฮโดรเจนกับเวลา ได้ดังนี้ 
ไซต์ 
C 
เว็บcom 
BB ร่บkroobannok.นB 
แพB 
เผwww.ยภาพ : กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา 
ที่มา : ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข , 2550 : 10 
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากกราฟ ณ เวลา50 วินาที ทำได้ดังนี้ 
1) ลากเส้นจากจุดวินาทีที่ 50 ตั้งฉากกับแกนเวลาขึ้นไปตัดกราฟที่จุด A 
2) ลากเส้น BC ให้สัมผัสเส้นกราฟผ่านจุด A 
3) สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใต้เส้นสัมผัส โดยให้เส้นสัมผัสเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก 
จากกราฟ ผลต่างของปริมาตรแก๊ส ณ เวลา 50 วินาที = 8.9 - 3.4 cm3 
= 5.5 cm3 
ผลต่างของเวลา ณ เวลา 50 วินาที = 100 - 20 s 
20 
 H2 
 t 
B 
50 
= 80 s
จากกราฟ อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที 
= 
ผลต่างของปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที (cm3) 
= 0.069 cm3/s 
บไซต์ 
บkroobannok.นเว็com 
แพร่เผwww.ย21 
= 
5.5 cm3 
80 s 
ผลต่างของเวลา ณ 50 วินาที (s) 
ไม่ยากเลยนะ สนุกดี
ชื่อ-สกุล...........................................................................ชั้น .....................เลขที่ .................... 
คะแนนเต็ม 10 
ได้...............คะแนน 
คะแนน 
1. ในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา Mg(s) + 2HCl (aq) ต์ 
 MgCl2(aq) + H2(g) 
โดยการวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน(H2) บที่เกิไซดขึ้นกับเวลา ได้com 
ผลดังนี้ 
แพร่บkroobannok.นเว็เผwww.ยจงคำนวณหา 
กิจกรรมที่ 1.2 
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน (cm3) 
เวลาที่ใช้ (s) 
1 4 
2 10 
3 18 
4 28 
5 40 
6 58 
7 80 
8 124 
1.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย 
22 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………
23 
1.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
....................................................................................................................................................... 
1.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา ไซ40 -80 วิต์ 
นาที 
บcom 
1.4 สร้างกราฟควาบkroobannok.มสัมนพันธ์ระเว็หว่างปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา 
แพร่เผwww.ย…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………. 
…………………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………….… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………. 
…………………………………………………………………………………………………….. 
1.5 หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนหรืออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ วินาทีที่ 50 
……………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………..……… 
…………………………………………………………………………………………………..… 
……………………………………………………………………………………..……………… 
…………………………………………………………………………………..….………….…..
1. ในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา Mg(s) + 2HCl (aq)  MgCl2(aq) + H2(g) 
โดยการวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน (H2) ที่ไซเกิดขึ้นกับต์ 
เวลา ได้com 
ผลดังนี้ 
kroobannok.ปริมานตรแก๊เว็สไฮโดบรเจน (cm3) 
เวลาที่ใช้ (s) 
บ1 4 
แพร่2 10 
3 18 
4 28 
เผย5 40 
www.6 58 
7 80 
8 124 
จงคำนวณหา 
1.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย 
ปริมาณแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมด(cm3) 
เวลาที่ใช้ (s) 
8 cm3 
124 s 
อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย = 
= 0.065 cm3/s 
ดังนั้น อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย มีค่า 0.065 cm3/s 
24 
กิจกรรมที่ 1.2 
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
แนวคำตอบ 
=
แนวคำตอบ 
ดังนั้น อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที มีค่า 0.125 cm3/s 
25 
1.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = 
= 
ต์ 
kroobannok.เว็บไซcom 
ร่บนแพเผwww.ยปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 – 18 วินาที (cm3) 
3 – 2 cm3 
18 - 10 s 
1 cm3 
8 s 
= 
= 0.125 cm3/s 
ช่วงเวลา 10 – 18 (s) 
ดังนั้น อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที มีค่า 0.125 cm3/s 
1.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 40 -80 วินาที 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = 
= 
= 
ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 40 - 80วินาที (cm3 ) 
7 - 5 cm3 
80 - 40 s 
2 cm3 
40 s 
= 0.05 cm3/s 
ช่วงเวลา 40 - 80 (s) 
อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 40 -80 วินาที มีค่า 0.05 cm3/s
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com 
H2 
26 
1.4 สร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา แนวคำตอบ 
ปริมาตรของ H2 (cm3) 
9 ------------------------------------------------------------------------------------ 
8 ------------------------------------------------------------------------------------ 
7 - --------------------------------------------------------------------------*-------- 
6 -------------------------------------------------------*---------------------------- 
5 --------------------------------------*--------------------------------------------- 
4 ---------------------------*-------------------------------------------------------- 
3 ----------------*------------------------------------------------------------------- 
2 -------*---------------------------------------------------------------------------- 
1 ---*-------------------------------------------------------------------------------- 
| | | | | | | | | | | | | | | | | เวลา (s) 
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 
1.5 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนหรืออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ วินาทีที่ 50 
ปริมาตรของ H2 ( cm3 ) 
9 ------------------------------------------------------------------------------------ 
8 ------------------------------------------------------------------------------------ 
7 - ----------------------------------------------------------------------C----*----- 
6 -----------------------------------------------A-------*--------------------------- 
5 --------------------------------------*--------------------------------------------- 
4 -------------------B------*-------------------------------------------------------- 
3 -----------------*------------------------- t --------------------------------------- 
2 --------*--------------------------------------------------------------------------- 
1 ---*-------------------------------------------------------------------------------- 
| | | | | | | | | | | | | | | | | เวลา (s) 
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85
แนวคำตอบ 
27 
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากกราฟ ณ เวลา 50 วินาที ทำได้ดังนี้ 
1) ลากเส้นจากจุดวินาทีที่ 50 ตั้งฉากกับแกนเวลาขึ้นไปตัดกราฟที่จุด A 
2) ลากเส้น BC ให้สัมผัสเส้นกราฟผ่านจุด A 
3) สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใต้เส้นสัมผัส โดยให้เส้นสัมผัสเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก 
จากกราฟ ผลต่างของปริมาตรแก๊ส ณ เวลา 50 วินาที = 6 - 4 cm3 
ไซต์ 
= 2 cm3 
ผลต่างของเวลา เว็ณ เวบลา 50 วินาที = 60 com 
- 30 s 
= 30 s 
จากกราฟ อัตราการ่รเกิบkroobannok.ดแก๊สนไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที 
แพ= 
ผลต่างของปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที (cm3) 
ยผลต่างของเวลา ณ 50 วินาที (s) 
เผ2 cm3 
www.= 
30 s 
= 0.067 cm3 /s
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน 
ข้อ 1) ง 
ข้อ 2) ก 
ข้อ 3) ค 
ข้อ 4) ก 
ข้อ 5) ง 
ข้อ 6) ค 
ข้อ 7) ก 
ข้อ 8) ข 
ข้อ 9) ก 
ข้อ 10) ง 
28 
เผยแพร่บนเว็บไซต์ 
www.kroobannok.com
หนังสืออ้างอิง 
กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม 
เคมีเล่ม 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. 
_______ . ( 2547). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม 
เคมีเล่ม 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าวต์ 
. 
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). ชุไซดกิจกรรมการเรียนรู้พื้นฐานที่เน้น 
ผู้เรียนเป็นสำคัญ : เคมี มบ.4. กรุงเทพฯ : พัฒนาcom 
คุณภาพวิชาการ จำกัด. 
วรากร หิรัญญาภินันท์. (2550). เว็เทคนิคการเรียนเคมี:อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี. 
กรุงเทพฯ : สำนนักพิมพ์ฟิสิกส์เซนเตอร์. 
วินัย แพวิทยาลัย. ( 2542 บ). 12 ปีเคมีเอ็นทรานส์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฟิสิกส์ 
เซนเตร่อร์. 
kroobannok.วิรัช สัจจแพรวพันธ์. (2549). วิทยาศาสตร์เคมี ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : 
เผอักษรเจริญทัศน์. 
ศwww.ยรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2547). เคมีพื้นฐานช่วงชั้นที่ 4 ( ม.4-ม.6 ). กรุงเทพฯ : 
สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด. 
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2548). หนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค อัตราการ 
เกิดปฏิกิริยาเคมี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด. 
สำราญ พฤกษ์สุนทร. (2551). คัมภีร์ เคมี ม.4-5-6 Entrance A-NET 
ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา. 
เสกสรร ศิริวัฒนวิบูลย์. ( ม.ป.ป.). เคมี ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4-6) เล่ม 3. กรุงเทพฯ : 
สำนักพิมพ์ SCIENCE CENTER.

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นkanokpan krueaprasertkun
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 

What's hot (20)

ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 

Viewers also liked

Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีjirat266
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยPin Hatairut
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 

Viewers also liked (10)

Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 

Similar to P57176810959

เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqneakaratkk
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีpoomarin
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11Maruko Supertinger
 

Similar to P57176810959 (20)

เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Som
SomSom
Som
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมี
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 

P57176810959

  • 1. ชุดกิจกรรมเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เรื่อง ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร โรงเรียนไทยเจริญวิทยา เล่ม 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์เขต 3
  • 2. คำนำ ชุดกิจกรรมวิชาเคมี เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แบ่งเป็น 8 เล่ม ใช้เวลาเรียนเล่มละ 2 ชั่วโมง สำหรับชุดกิจกรรมวิชาเคมี เล่ม 1 เรื่อง ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนจะได้ทดลองเพื่อศึกษา อธิบาย อภิปราย อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ฝึกสร้างกราฟ และคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จากการปฏิบัติ กิจกรรม จะส่งผลให้นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดการพัฒนา ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร ก เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 3. ข เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com 1 . ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2 . ศึกษาสาระสำคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ 3 . ศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ 4 . ทำกิจกรรมที่ 3.1 5 . ศึกษาการคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6. ทำกิจกรรมที่ 3.2 7. ทำแบบทดสอบหลังเรียน
  • 4. สารบัญ เรื่อง ต์ หน้า คำนำ ก คำชี้แจง ไซcom ข แบบทดสอบก่อน-หลังเรีบยน... ..............................................1 1. สาระสำคัญ .......................................................................เว็4 2. จุดประสงค์นการเรียนร.ู้.......................................................4 แพ3. กิจร่กรรบมการเรียนรู้……… ................................................5 3.1 สkroobannok.ร้างความสนใจ.........................................................5 เผย3.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี………..………………….6 www.- กิจกรรมที่ 3.1.......................................................... 9 - แนวคำตอบกิจกรรมที่ 3.1 ......................................15 3.3 การคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี……................18 - กิจกรรมที่ 3.2 .........................................................21 - แนวคำตอบกิจกรรมที่ 3.2 ......................................23 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ..............................28 หนังสืออ้างอิง
  • 5. แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ชุดกิจกรรมวิชาเคมี เล่ม 1 ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ข้อสอบ 10 ข้อ เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน คำสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หาได้จากความสัมพันธ์ใด ก. ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงต่อหนึ่งหน่วยเวลา ข. ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหนึ่งหน่วยเวลา ค. ปริมาณสารตั้งต้นที่เหลืออยู่ต่อเวลาในการดำเนินปฏิกิริยา ง. ถูกทั้ง ก. และ ข. 2. จากปฏิกิริยา Mg(s) + 2 HCl (aq)  MgCl2(aq) + H2(g) วิธีวัดปริมาณของสาร ในปฏิกิริยา ที่สะดวกที่สุดคือวิธีใด ก. วัดปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น ข. วัดมวลของโลหะแมกนีเซียมที่ลดลง ค. วัดความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ลดลง ง. วัดความเข้มข้นของแมกนีเซียมคลอไรด์ที่เกิดขึ้น 3. ธูปไม่ทายาหม่องใช้เวลาลุกติดไฟ 6 วินาที จะมีอัตราการลุกติดไฟเท่าใด ถ้าแทนธูปลุกติดไฟ ด้วย 1 หน่วย ก. 0.167 หน่วย / วินาที ข. 0.25 หน่วย / วินาที ค. 1 หน่วย / วินาที ง. 6 หน่วย / วินาที 4. เมื่อเผาแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นเวลา 10 นาที เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้น 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมีค่าตรงตามข้อใด ก. 5 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที ข. 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที ค. 15 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที ง. 20 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที 1 เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 6. 2 5. เผาสารประกอบไฮโดรคาร์บอน100 กรัม พบว่าเกิดน้ำขึ้น 20 มิลลิลิตร โดยใช้เวลา ในการเผา 10 นาที จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีนี้ ก. 0.5 มิลลิลิตรต่อนาที ข. 1 มิลลิลิตรต่อนาที ค. 1.5 มิลลิลิตรต่อนาที ง. 2 มิลลิลิตรต่อนาที ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 6-8 จากผลการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างแมกนีเซียมกับ กรดไฮโดรคลอริกได้ผลดังต่อไปนี้ ต์ ปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน บ(cm3) ไซเวลา com (s) 1 20 2 40 บkroobannok.น3 เว็70 ร่4 90 5 110 6. อัตยรากาแพรเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย มีค่ากี่ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที เผก. 4 ข. 4 ค. 5 ง. 5 www.90 100 110 320 7. อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ที่ปริมาตรระหว่าง 1-2 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีค่า กี่ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที ก. 1 ข. 1 ค. 1 ง. 2 20 30 40 60 8. อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ที่ปริมาตรระหว่าง 2-3 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีค่า กี่ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที 1 ข. 30 ก. 20 1 ค. 50 3 ง. 3 70
  • 7. 3 คำชี้แจง ใช้กราฟและข้อความต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อ 9-10 เมื่อเอาแผ่นโลหะแมกนีเซียมมาทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง จะได้แก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น ถ้าจับเวลาและปริมาตรของแก๊ส จะได้ผลตามกราฟ 5 - ต์ 4 - •ไซ3 - E •D บcom 2 - •C เว็1 - •B นแพ•A ร่บ| kroobannok.| | | | | เวลา ( วินาที) ย30 60 90 120 150 180 เผwww.ปริมาตรแก๊ส H2 ( ลูกบาศก์เซนติเมตร ) 9. กราฟช่วงใดที่แสดงว่าแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้นในอัตราที่รวดเร็วมากที่สุด ก. AB ข. CD ค. BD ง. DE 10. กราฟช่วงใดที่แสดงว่าแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้นในอัตราที่ช้าที่สุด ก. AB ข. CD ค. BD ง. DE
  • 8. 4 ชุดกิจกรรมวิชาเคมี เล่ม 1 ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. สาระสำคัญ ต์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ไซหมายถึง การเปลี่ยนแปลงขอบงสารในหนึ่งหน่วยเวลา com ซึ่งหาได้จาก ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงต่อเว็หนึ่งหน่วยเวลา หรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งบkroobannok.หน่วยนเวลา เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ดังนี้ แพร่ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = เวลาในการดำเนินปฏิกิริยา ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น เผยอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = เวลาในการดำเนินปฏิกิริยา 2. www.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได  2) ทดลองเพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีได้ 3) คำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 4) บอกและเลือกวิธีวัดปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลง เพื่อหาอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
  • 9. 5 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 3.1 สร้างความสนใจ ครูบ่มกล้วยอยู่ 2โอ่ต์ ง โอ่งใบแรก ใส่แคลเซียมคาร์ไบด์หรือถ่านแก๊ส ส่วน เว็อีกโอ่งหนึ่งไซไม่ใส่ถ่านแก๊ส ทิ้งไว้ 3 วัน kroobannok.กล้วยบในโอ่งแรกสุกหมด แต่com โอ่งหนึ่ง นพบว่า 5 วันจึงสุก การบ่มกล้วยแบบไหน บมีอัตราการสุกเร็วกว่ากัน แพร่เผอัตราการสุกเป็นอย่างไร www.ยหนูรู้แต่ว่ากล้วยที่บ่มโดยใช้ ถ่านแก๊สสุกเร็วกว่าค่ะ การสุกของกล้วยเป็นปฏิกิริยาเคมี อย่างหนึ่ง ถ้านักเรียนอยากทราบว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีคืออะไร จะไดศึ้กษาดังต่อไปนี้
  • 10. 3.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ไซต์ แพร่บkroobannok.นเว็บcom เผwww.ยภาพ : ธูปทายาหม่องกับธูปที่ไม่ทายาหม่อง ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 8 มกราคม 2551 6 ครูมีธูป 2 ดอก ธูปดอกแรกทายาหม่อง ไว้ที่ปลายธูป ส่วนดอกที่สองไม่ทายาหม่อง ให้เพื่อนทดลองจุดธูป และจับเวลาตั้งแต่เริ่มจุดธูป จนธูปลุกติดไฟ แล้วให้หาอัตราการติดไฟของธูป ทั้งสอง ภาพ : ธูปที่ทายาหม่องลุกติดไฟ
  • 11. ตั้งแต่เริ่มจุดธูปจนกระทั่งธูปลุกติดไฟ ใช้เวลากี่วินาที ให้หาอัตราการลุกติดไฟ ของธูปทั้งสอง ไซต์ ธูปทายาหม่องใช้เวลา ลุกติดcom ไฟ 1 วินาที บธูปไม่ทายาหม่อง ใช้ kroobannok.เว็เวลาลุกติดไฟ 6 วินาทีค่ะ หาอัตรา การลุกติดไฟ ดังนี้ แพร่บนธูปลุกติดไฟ ยอัตราการลุกติดไฟ = เผเวลา www.ธูปลุกติดไฟ (แทนด้วย 1 หน่วยอัตราการลุกติดไฟของธูปทายาหม่อง = ) เวลา (วินาที) = 1 หน่วย 1 วินาที = 1 หน่วย / วินาที อัตราการลุกติดไฟของธูปไม่ทายาหม่อง = = 7 ธูปลุกติดไฟ (แทนด้วย1 หน่วย) เวลา (วินาที) 1 หน่วย 6 วินาที = 0.167 หน่วย / วินาที
  • 12. 8 ธูปอันไหนมีอัตราการลุกติดไฟเร็วกว่ากันคะ ธูปทาไซยาหม่อง ต์ ครับ เว็บcom สำหรับอัตราการเกินดปฏิกิริยาเคมีอื่น ๆ หาได้ในทำนองเดีบยวกัน คือ หาได้จากปริมาณสาร ที่เกิแพดขึ้นต่อเวร่ลา หkroobannok.รือหาได้จากปริมาณสารตั้งต้น ยที่ลดลงต่อเวลา ดังการทดลองต่อไปนี้ เผwww.สรุป อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งหาได้จาก ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยเวลา
  • 13. กิจกรรมที่ 1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ชื่อ-สกุล………………….....…………………………………..ชั้น………….เลขที่…………. จุดประสงค์ 1) ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก และเขียนสมการต์ แสดงปฏิกิริยาเคมีได้ 2) คำนวณ และเปรียบเทียบอัตราการเกิดปไซฏิกิริยาเคมี ณ ช่วงเวลาต่าง ๆได้ 3) บอกและเลือกวิธีวัดปริมาณสารที่เปบลี่ยนแปลง เพื่อหาอัตราcom การเกิดปฏิกิริยาเคมีได  สารเคมี-วัสดุอุปกรณ์/กลุ่kroobannok.ม นเว็แพร่บเผwww.ย9 1) บีกเกอร์ขนาด 100 cm3 จำนวน 1 ใบ 2) กระบอกตวงขนาด 10 cm3 จำนวน 1 ใบ 3) นาฬิกาจับเวลา จำนวน 1 เรือน 4) คัตเตอร์ จำนวน 1 อัน 5) ที่จับหลอดทดลอง จำนวน 1 อัน 6) กรดไฮโดรคลอริก 0.2 mol/ dm3 จำนวน 50 cm3 7) ลวดแมกนีเซียมที่ขัดสะอาดแล้ว ขนาด 0.5 cm x 10 cm จำนวน 3 ชิ้น 8) จุกคอร์กสำหรับปิดปากกระบอกตวง จำนวน 1 อัน (7) (8) ภาพ : อุปกรณ์การทดลอง ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 8 มกราคม 2551
  • 14. 10 การเตรียมวัสดุ - เหลาปลายจุกคอร์กให้มีขนาดพอดีกับปากกระบอกตวง กรีดกลางจุกคอร์กให้เป็นแนวเล็ก ๆ แล้วเสียบลวดแมกนีเซียมที่พับทบ ดังภาพ วิธีทดลอง 1) ใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริกในกระบอกตวงขนาด 10 cm3จนเต็ม 2) นำจุกคอร์กไปปิดปากกระบอกตวง ดังภาพ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com ภาพ : การนำจุกคอร์กปิดปากกระบอกตวง ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 8 มกราคม 2551
  • 15. 4) อ่านปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น ณ เวลาที่ผ่านไป แล้วทดลองซ้ำอีก 2 ครั้ง เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com ภาพ : ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น ที่มา : ธัญธรณ์ วิสุทธิ์เมธากร ถ่ายภาพที่โรงเรียนไทยเจริญวิทยา 8 มกราคม 2551 11 3) คว่ำกระบอกตวงลงในบีกเกอร์ซึ่งใส่น้ำไว้ประมาณ 50 cm3 เริ่มจับเวลาเมื่อของเหลว ในกระบอกตวงอยู่ที่ขีด 1 cm3 และทุกระยะที่ของเหลวลดลง 1 cm3 จนถึงขีด 10 cm3 บันทึกผลการทดลอง ภาพ : การคว่ำปากกระบอกตวงลงในอ่างน้ำ
  • 16. ผลการทดลอง 1. จับเวลาการเกิดแก๊สไฮโดรเจนทุก ๆ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร ได้ดังนี้ ต์ ปริมาตรแก๊ส เวลาที่ใช้ (s) ไฮโดรเจน (cm3) ไซเมื่อถึงขีดที่ เว็ครั้งที่ 1 บครั้งที่ 2 ครั้com งที่ 3 เวลาเฉลี่ย 2 3 แพร่น4 บ5 6 kroobannok.เผ7 www.ย8 9 10 2. คำนวณหาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาต่าง ๆ ได้ดังนี้ 2.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 2 - 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร = ………………………………….…….. = ………………………………….……. 12 ให้แต่ละกลุ่มบันทึกผลการทดลอง หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน แล้ว อภิปราย สรุปผลการทดลองในกลุ่ม เพื่อนำเสนอหน้าชั้นเรียน = ผลต่างของปริมาตรแก๊สช่วง 2 - 3 cm3 (cm3) ผลต่างของเวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊สช่วง 2 - 3 cm3 (s)
  • 17. 2.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 5 - 6 ลูกบาศก์เซนติเมตร = ………………………………………………..………….. = …………………………………………………………… 2.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วไซงเวลาที่เกิต์ ดแก๊ส 9 -10 cm3 บkroobannok.เว็บcom = น…………….. ……………………………………………. แพร่= ……………………………………………………………. 2.4 หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ยได้ดังนี้ เผwww.ย= ……………………………………………………………. = ……………….……………………………………………. อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 1) แก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก คือแก๊สอะไร จงสืบค้นแล้วเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมี ……………………………………………………….……………….………..….. …………………………………………………………….….………………….... ………………………………….…………………………………….……….…… 13 = ผลต่างของปริมาตรแก๊สช่วง 5 - 6 cm3 (cm3) ผลต่างของเวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊สช่วง 5 - 6 cm3 (s) = ผลต่างของปริมาตรแก๊สช่วง 9 -10 cm3 (cm3) ผลต่างของเวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊สช่วง 9 -10 cm3 (s) = ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมด (cm3) เวลาทั้งหมด (s)
  • 18. 14 2) จงเปรียบเทียบและอธิบายอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วงเวลา ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………….…………………………………….……….…… ……………………………………………………………………………………… 3) อัตราการเกิดไฮโดรเจนเฉลี่ย หาได้อย่างไร ………………………………….……………………….…………………………. ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… 4) การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก นอกจากหาจากอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนแล้ว น่าจะมีวิธีอื่นหรือไม่ ………………………………….…………………………………….……….…… ……………………………………………………………………………………… ………………………………….…………………………………….……….…… ……………………………………………………………………………………… ………………………………….…………………………………….……….…… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………….…………………………………….……….…… เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com คะแนนเต็ม 10 ได้......................คะแนน
  • 19. แนวคำตอบ ตัวอย่างผลการทดลอง 1. จับเวลาการเกิดแก๊สไฮโดรเจนทุก ๆ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร ได้ดังนี้ ปริมาตรแก๊ส เวลาที่ใช้ ต์ (s) ไฮโดรเจน (cm3) เมื่อถึงขีดที่ ครั้งที่ 1 บครั้งไซที่ 2 ครั้งที่ 3 com เวลาเฉลี่ย 2 น15 เว็14 16 15 3 23 23 23 23 4 31 32 33 32 แพ5 ร่บkroobannok.45 47 46 46 6 60 59 61 60 เผย7 86 85 84 85 8 105 104 106 105 www.9 133 135 134 134 10 163 164 165 164 2. หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาต่าง ๆ ได้ดังนี้ 2.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 2 - 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร 1 cm 3 = = 2.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 5 - 6 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 6 – 5 cm3 60 – 46 s = 1 cm3 14 s = 0.071 cm3/ s 15 กิจกรรมที่ 1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียม กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 3 - 2 cm3 23 - 15 s 8 s = 0.125 cm3/ s
  • 20. แนวคำตอบ = = 0.050 cm3 /s ต์ 9 cm3 บไซ164 com s บkroobannok.นเว็แพร่เผwww.ย= 10 – 9 cm3 1 cm3 164 – 134 s 20 s แก๊สที่เกิดขึ้น คือ แก๊สไฮโดรเจน เขียนและดุลสมการเคมีได้ดังนี้ Mg(s) + 2HCl (aq)  MgCl 2(aq) + H2(g) 2) จงเปรียบเทียบ และอธิบายอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วงเวลา อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลา 15 – 23 วินาที มีค่า 0.125 cm3/s อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลา 46 – 60 วินาที มีค่า 0.071 cm3/s อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลา 134 – 164 วินาที มีค่า 0.050 cm3 /s จะพบว่าอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วงเวลามีค่าไม่เท่ากัน โดยในช่วงวินาทีแรก ๆ มีค่าสูง และในช่วงหลังมีค่าน้อยลงตามลำดับ แสดงว่า ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วในช่วงเริ่มต้น แล้วมีแนวโน้มช้าลงเรื่อย ๆ 16 2.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลาที่เกิดแก๊ส 9-10 cm3 2.4 หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย ได้ดังนี้ อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย = = 0.055 cm3/s อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 1) แก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก คือแก๊สอะไร จงสืบค้นแล้วเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมี
  • 21. 3) อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ยหาได้อย่างไร หาได้จากปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมดต่อหนึ่งหน่วยเวลา คิดจากปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน 9 ลูกบาศก์เซนติเมตร หารด้วยเวลา 164 วินาที 4) การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดสารละลาย กรดไฮโดรคลอริก นอกจากหาจากอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนแล้ว น่าจะมีวิธีอื่น หรือไม่ ไซต์ อาจหาได้จาkroobannok.กอัตราการเว็ลดลงขบองมวลแมกนีเซียม หรือcom อัตราการลดลงของ แพร่บนเผwww.ย17 ความเข้มข้นกรดไฮโดรคลอริก แต่ในทางปฏิบัติการวัดมวลหรือความเข้มข้นของสาร โดยตรงทำได้ยาก โดยทั่วไปจึงเลือกวัดปริมาณของสารในปฏิกิริยาด้วยวิธีที่สะดวกที่สุด ซึ่งในการทดลองนี้คือการวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น
  • 22. สรุป 18 เมื่อโลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยาระหว่าไซงสารละต์ ลายกรดไฮโดรคลอริก จะสังเกตพบว่ามีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น โดยในช่วงเริ่มต้นขอcom งปฏิกิริยา จะเกิด แก๊สไฮโดรเจนเร็วกการหาอัตรากาkroobannok.ว่าช่วงใกล้สิ้นสุดปฏิกิริยา รเกิดนปฏิกิเว็ริยาเคมี บณ ช่วงเวลาหนึ่งของปฏิกิริยาคู่นี้ หาได้จาก ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิด ณ ช่วงเวลานั้น หารด้วยเวลาช่วงนั้น การหาอัตร่รากาบรเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยของปฏิกิริยาคู่นี้ หาได้จากปริมาตร แก๊สแพไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมด หารด้วยเวลาในการดำเนินปฏิกิริยา เผwww.ย
  • 23. 3.3 การคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3.3.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย คือ ค่าที่แสดงถึงการลดลงของสารตั้งต้น หรือการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยาต่อหนึ่งหน่วยเวลา ตัวอย่าง จากผลการทำกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องปฏิกิริยาระต์ หว่างโลหะแมกนีเซียมกับ สารละลายกรดไฮโดรคลอริก พบว่าใช้เวลา 164 วิไซนาที เกิดแก๊สไฮโดรเจน 9 ลูกบาศก์เซนติเมตร หาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริkroobannok.ยาเคมี = เว็ปริบมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิcom ดขึ้นทั้งหมด (cm3) แพร่บน= 0.055 cm3/ s 3.3.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ช่วงเวลาหนึ่ง คือ ค่าที่แสดงถึงการลดลง เผของสารตั้งต้นหรือเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ ณ ช่วงเวลาหนึ่งขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินอยู่ ตักรดไฮ32 วินาช่วงเวwww.ยวอย่าง จากผลการทำกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลาย โดรคลอริก พบว่าที่เวลา 15 วินาที เกิดแก๊สไฮโดรเจน 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร และที่เวลา ทีเกิดแก๊สไฮโดรเจน 4 ลูกบาศก์เซนติเมตร คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ลา 15 – 32 วินาที ได้ดังนี้ = 0.117 cm3/ s 19 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมี 3 ประเภทดังนี้ = = เวลาที่ใช้ทำปฏิกิริยา (s) 9 cm3 164 s = ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 15 - 32 วินาที (cm3) ช่วงเวลา 15 - 32 (s) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = 4 - 2 cm3 32 - 15 s 2 cm3 17 s
  • 24. 3.3.3 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ จุดเวลาหนึ่ง คือ ค่าที่แสดงถึงการลดลงของสารตั้งต้น หรือการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ ณ จุดเวลาหนึ่งของปฏิกิริยา สามารถหาได้จากกราฟ ตัวอย่าง จากผลการทำกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับ สารละลายกรดไฮโดรคลอริก นำข้อมูลมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของ แก๊สไฮโดรเจนกับเวลา ได้ดังนี้ ไซต์ C เว็บcom BB ร่บkroobannok.นB แพB เผwww.ยภาพ : กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา ที่มา : ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข , 2550 : 10 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากกราฟ ณ เวลา50 วินาที ทำได้ดังนี้ 1) ลากเส้นจากจุดวินาทีที่ 50 ตั้งฉากกับแกนเวลาขึ้นไปตัดกราฟที่จุด A 2) ลากเส้น BC ให้สัมผัสเส้นกราฟผ่านจุด A 3) สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใต้เส้นสัมผัส โดยให้เส้นสัมผัสเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก จากกราฟ ผลต่างของปริมาตรแก๊ส ณ เวลา 50 วินาที = 8.9 - 3.4 cm3 = 5.5 cm3 ผลต่างของเวลา ณ เวลา 50 วินาที = 100 - 20 s 20  H2  t B 50 = 80 s
  • 25. จากกราฟ อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที = ผลต่างของปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที (cm3) = 0.069 cm3/s บไซต์ บkroobannok.นเว็com แพร่เผwww.ย21 = 5.5 cm3 80 s ผลต่างของเวลา ณ 50 วินาที (s) ไม่ยากเลยนะ สนุกดี
  • 26. ชื่อ-สกุล...........................................................................ชั้น .....................เลขที่ .................... คะแนนเต็ม 10 ได้...............คะแนน คะแนน 1. ในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา Mg(s) + 2HCl (aq) ต์  MgCl2(aq) + H2(g) โดยการวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน(H2) บที่เกิไซดขึ้นกับเวลา ได้com ผลดังนี้ แพร่บkroobannok.นเว็เผwww.ยจงคำนวณหา กิจกรรมที่ 1.2 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน (cm3) เวลาที่ใช้ (s) 1 4 2 10 3 18 4 28 5 40 6 58 7 80 8 124 1.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย 22 …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
  • 27. 23 1.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ....................................................................................................................................................... 1.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา ไซ40 -80 วิต์ นาที บcom 1.4 สร้างกราฟควาบkroobannok.มสัมนพันธ์ระเว็หว่างปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา แพร่เผwww.ย…………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….. 1.5 หาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนหรืออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ วินาทีที่ 50 ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………..….………….…..
  • 28. 1. ในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา Mg(s) + 2HCl (aq)  MgCl2(aq) + H2(g) โดยการวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน (H2) ที่ไซเกิดขึ้นกับต์ เวลา ได้com ผลดังนี้ kroobannok.ปริมานตรแก๊เว็สไฮโดบรเจน (cm3) เวลาที่ใช้ (s) บ1 4 แพร่2 10 3 18 4 28 เผย5 40 www.6 58 7 80 8 124 จงคำนวณหา 1.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย ปริมาณแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นทั้งหมด(cm3) เวลาที่ใช้ (s) 8 cm3 124 s อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย = = 0.065 cm3/s ดังนั้น อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเฉลี่ย มีค่า 0.065 cm3/s 24 กิจกรรมที่ 1.2 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี แนวคำตอบ =
  • 29. แนวคำตอบ ดังนั้น อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที มีค่า 0.125 cm3/s 25 1.2 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = = ต์ kroobannok.เว็บไซcom ร่บนแพเผwww.ยปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 – 18 วินาที (cm3) 3 – 2 cm3 18 - 10 s 1 cm3 8 s = = 0.125 cm3/s ช่วงเวลา 10 – 18 (s) ดังนั้น อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 10 -18 วินาที มีค่า 0.125 cm3/s 1.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 40 -80 วินาที อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = = = ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 40 - 80วินาที (cm3 ) 7 - 5 cm3 80 - 40 s 2 cm3 40 s = 0.05 cm3/s ช่วงเวลา 40 - 80 (s) อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนช่วงเวลา 40 -80 วินาที มีค่า 0.05 cm3/s
  • 30. เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com H2 26 1.4 สร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา แนวคำตอบ ปริมาตรของ H2 (cm3) 9 ------------------------------------------------------------------------------------ 8 ------------------------------------------------------------------------------------ 7 - --------------------------------------------------------------------------*-------- 6 -------------------------------------------------------*---------------------------- 5 --------------------------------------*--------------------------------------------- 4 ---------------------------*-------------------------------------------------------- 3 ----------------*------------------------------------------------------------------- 2 -------*---------------------------------------------------------------------------- 1 ---*-------------------------------------------------------------------------------- | | | | | | | | | | | | | | | | | เวลา (s) 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 1.5 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนหรืออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ วินาทีที่ 50 ปริมาตรของ H2 ( cm3 ) 9 ------------------------------------------------------------------------------------ 8 ------------------------------------------------------------------------------------ 7 - ----------------------------------------------------------------------C----*----- 6 -----------------------------------------------A-------*--------------------------- 5 --------------------------------------*--------------------------------------------- 4 -------------------B------*-------------------------------------------------------- 3 -----------------*------------------------- t --------------------------------------- 2 --------*--------------------------------------------------------------------------- 1 ---*-------------------------------------------------------------------------------- | | | | | | | | | | | | | | | | | เวลา (s) 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85
  • 31. แนวคำตอบ 27 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากกราฟ ณ เวลา 50 วินาที ทำได้ดังนี้ 1) ลากเส้นจากจุดวินาทีที่ 50 ตั้งฉากกับแกนเวลาขึ้นไปตัดกราฟที่จุด A 2) ลากเส้น BC ให้สัมผัสเส้นกราฟผ่านจุด A 3) สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใต้เส้นสัมผัส โดยให้เส้นสัมผัสเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก จากกราฟ ผลต่างของปริมาตรแก๊ส ณ เวลา 50 วินาที = 6 - 4 cm3 ไซต์ = 2 cm3 ผลต่างของเวลา เว็ณ เวบลา 50 วินาที = 60 com - 30 s = 30 s จากกราฟ อัตราการ่รเกิบkroobannok.ดแก๊สนไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที แพ= ผลต่างของปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน ณ เวลา 50 วินาที (cm3) ยผลต่างของเวลา ณ 50 วินาที (s) เผ2 cm3 www.= 30 s = 0.067 cm3 /s
  • 32. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ข้อ 1) ง ข้อ 2) ก ข้อ 3) ค ข้อ 4) ก ข้อ 5) ง ข้อ 6) ค ข้อ 7) ก ข้อ 8) ข ข้อ 9) ก ข้อ 10) ง 28 เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 33. หนังสืออ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมีเล่ม 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. _______ . ( 2547). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมีเล่ม 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าวต์ . พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). ชุไซดกิจกรรมการเรียนรู้พื้นฐานที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ : เคมี มบ.4. กรุงเทพฯ : พัฒนาcom คุณภาพวิชาการ จำกัด. วรากร หิรัญญาภินันท์. (2550). เว็เทคนิคการเรียนเคมี:อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี. กรุงเทพฯ : สำนนักพิมพ์ฟิสิกส์เซนเตอร์. วินัย แพวิทยาลัย. ( 2542 บ). 12 ปีเคมีเอ็นทรานส์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฟิสิกส์ เซนเตร่อร์. kroobannok.วิรัช สัจจแพรวพันธ์. (2549). วิทยาศาสตร์เคมี ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : เผอักษรเจริญทัศน์. ศwww.ยรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2547). เคมีพื้นฐานช่วงชั้นที่ 4 ( ม.4-ม.6 ). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2548). หนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค อัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด. สำราญ พฤกษ์สุนทร. (2551). คัมภีร์ เคมี ม.4-5-6 Entrance A-NET ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา. เสกสรร ศิริวัฒนวิบูลย์. ( ม.ป.ป.). เคมี ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4-6) เล่ม 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ SCIENCE CENTER.