SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 61
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
บทที่ 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ในยุ ค โลกาภิวัต น์ สังค มมีการเปลี่ย นแปลงอย่างรวด เร็ว
โดยเฉพาะการพัฒนาในทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้ามามีบทบาทต่
อ ป ร ะ ช า ช น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
ที่กลายเป็ นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันของมนุษย์ในสังคมออนไลน์
ผู้ค นล้วนนาอินเทอร์เน็ ต เข้ามาช่วย ในการทางานห ลาย ด้าน
ไม่ว่าจะเป็ นด้านการศึกษา การทาธุรกิจ การหาความรู้ การสนทนา
รวมถึงกิจกรรมเพื่อความบันเทิงต่างๆ
อินเทอร์เน็ตเป็ นสื่อที่มีความแตกต่างไปจากสื่อชนิดอื่นๆ คือ
ความสามารถในการตอบโต้ (interact) กับผู้ที่ติดต่อสื่อสารได้โดยทันที
( Real Time) ร ว ม ทั้ ง ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง
ซึ่ ง ท า ใ ห้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต มี ค ว า ม เ ป็ น โ ล ก เ ส มื อ น ที่ มี ตัว ต น
ท า ใ ห้ เ กิ ด สั ง ค ม ข อ ง โ ล ก ใ ห ม่
ที่ทาให้รู้สึกว่าโลกของความเป็ นจริงกับโลกเสมือนคือโลกเดีย วกัน
จากการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
ผ ลการสา รวจประช ากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปประมา ณ 62.8 ล้านคน
พบว่ามีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 20.2 ล้านคน (ร้อยละ 32.2) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
29.8 ล้านคน (ร้อยละ47.5) และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ 51.1 ล้านคน
(ร้อยละ 81.4) เมื่อพิจารณาแนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ต ในช่วงระยะเวลา
5 ปี ระหว่างปี 2555-2559 พบว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ
26.5 (จานวน 16.6ล้านคน) เป็นร้อยละ 47.5 (จานวน 29.8 ล้านคน)
เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตตามกลุ่มอายุต่าง ๆ พบว่า กลุ่มอายุ15-24
ปี มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด ร้อยละ 85.9 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 25-34
ปี ร้อยละ 73.6 กลุ่มอายุ 6-14 ปี ร้อยละ 61.4 กลุ่มอายุ 35-49 ปี ร้อยละ
44.9 แ ล ะ ใ น ก ลุ่ ม อ า ยุ 50 ปี ขึ้ น ไ ป มี เ พี ย ง ร้ อ ย ล ะ 13.8
( ส า นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ช า ติ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.2559: ออนไลน์)
จ า ก ข้ อ มู ล ที่ ป ร า ก ฏ พ บ ว่ า
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ผู้ใ ช้ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต เ พิ่ ม ม า ก ขึ้น เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง
ชี้ให้เห็นว่าผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่เป็ นวัยรุ่นที่มีอายุต่ากว่า 20 ปี
และสะท้อนให้เห็นว่าวัยรุ่นเหล่านี้ได้ใช้เวลาของตนเองเข้าไปในโลกอินเท
อ ร์ เ น็ ต เ ป็ น จ า น ว น ม า ก
2
ผลกระทบที่ตามมาหากขาดการควบคุมดูแลจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง
แ ล ะ บุ ค ค ล ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
ก็อาจจะเกิดผลเสียกับเด็กและเยาวชนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์จากการใช้อินเทอ
ร์เน็ต ไม่ว่า จะเป็ นผลกระทบกับการศึกษาหรือส่งผลกระทบต่อสังคม
ค ร อ บ ค รั ว
ยิ่งในปัจจุบันการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตไม่ได้ถูกจากัดแค่เพียงเครื่องคอมพิวเ
ต อ ร์ ตั้ ง โ ต๊ ะ กั บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ผ่ า น ส า ย เ ท่ า นั้ น
แ ต่ ไ ด้ มี ก า ร พั ฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น ด้ า น ต่ า ง
ๆทาให้อุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจาวันสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไ
ด้ เช่น คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และ
สมาร์ททีวี ประกอบกับการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบ
ไ ร้ ส า ย ข อ ง ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ต่ า ง ๆ
ส่งผ ลให้การเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ ตเป็ นเรื่องที่ง่ายและสะดวก
เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ เ ข้ า อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ไ ด้ ทุ ก ที่ ทุ ก เ ว ล า
จึ ง น า ม า สู่ ปั ญ ห า ก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ม า ก เ กิ น ไ ป
หรือการเสพติดอินเทอร์เน็ต ที่จะส่งผลกระทบต่อปัญหาในหลายด้าน
ได้แก่ ปัญหาด้านการเรียน ปัญหาด้านความสัมพันธ์ ปัญหาด้านการเงิน
และปัญหาด้านร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา
ปัญหาด้านการเรียนจะได้รับผลกระทบมากที่สุด (Young . 1998)
รัศ มี สาโรจน์ (2547) กล่าวว่า การเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต
คือการใช้อินเทอร์เน็ตในปริมาณที่เกินขนาดจนไม่สามารถค วบคุม
เวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตได้ และอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อเวลา
สาหรับกิจกรรมจาเป็ นอื่นๆ ในชีวิตไม่ว่าจะเป็ นการเรียน การงาน
และชีวิตครอบครัว นอกจากนั้น Young (1996) นักจิตวิทยาจากคณะ
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพิทส์เบิร์ก ได้ศึกษาลักษณะของ การ
เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
และพบว่าการเสพติดอินเทอร์เน็ตมีลักษณะพื้นฐานเหมือนกับการติดการ
พ นั น
การเสพติดอินเทอร์เน็ตเป็นพฤติกรรมที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีการจัดระเบียบ
ค ว า ม คิด แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม ค ว า ม ต้อ ง ก า ร ต น เ อ ง ผิด พ ล า ด
จนทาให้ไม่สามารถควบคุมตนเองให้ใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสมจน
อินเทอร์เน็ตเข้าไปแทรกแซงกิจกรรมอื่นๆ ในชีวิตประจาวันมากเกินไป
ซึ่งจะพ บมากใน กลุ่ม วัย รุ่นที่กาลังอยู่ในวัย อย ากรู้อย ากเห็น
การเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต จะมีอาการค ล้าย กับค นติด ย าเสพติด
คื อ มี ก า ร อ ย า ก ย า มี ค ว า ม โ ห ย ห า ต้ อ ง ก า ร บ่ อ ย ๆ
3
เ มื่ อ ว่ า ง จ ะ ต้ อ ง ห า โ อ ก า ส เ ข้ า ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
ถึง แ ม้บ า ง ค รั้ง จ ะ ไ ม่มี จุ ด มุ่ง ห ม า ย ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น ที่ ชัด เ จ น
โดยรูปแบบการเสพติดอินเทอร์เน็ตนั้นอาจมีหลายรูปแบบ เช่น
การติดเว็บโป๊ การติด เกมออนไลน์ การติดการพนันออนไลน์
การติดเครือข่ายสังคมออนไลน์ และการติดเว็บซื้อขายสินค้าออนไลน์
เป็นต้น
อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต จึ ง เ ป รี ย บ เ ห มื อ น กั บ ด า บ ส อ ง ค ม
หากใช้ในทางที่ถูกต้องเหมาะสมก็จะได้รับประโยชน์จากการใช้อินเทอร์เน็
ตอย่างมากมาย แต่หากใช้ในทางที่ไม่ถูกไม่ควร อาจเกิดปัญหาและ
พิษภัยอย่างมหันต์โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ วัยรุ่นที่ยังมีวุฒิภาวะไม่มากพอ
ไ ม่ มี
ภูมิคุ้มกันที่จะควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตจนทาให้เกิดเป็นพฤติกรรมเสพติ
ดอินเทอร์เน็ต ดังนั้นปัญหาการเสพติดอินเทอร์เน็ต ของ วัย รุ่น
ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ เ ป็ น ปั ญ ห า ส า คั ญ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ท่ า นั้ น
ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ก็ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า เ ช่ น เ ดี ย ว กั น
ใ น ข ณ ะ ที่ ผู้ ป ก ค ร อ ง ยั ง ไ ม่ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ
อี ก ทั้ ง เ ด็ ก ยั ง ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง สื่ อ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ไ ด้ ง่ า ย
ไ ม่ ว่ า จ ะ อ ยู่ ใ น รู ป ข อ ง เ ก ม อ อ น ไ ล น์ เ ว็ บ ไ ซ ต์ ต่ า ง ๆ
สื่ อ เ ค รื อ ข่ า ย สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ ที่ มี อ ยู่ ม า ก ม า ย
ทาให้วัยรุ่นสามารถใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้ทั้งที่บ้าน ห้างสรรพสินค้า
ห รื อ ร้ า น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
ทาให้มีจานวนวัยรุ่นมีพฤติกรรมเสพติดอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น
อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ
จึงเป็ นอีกอาเภอหนึ่งที่ประสบปัญหาการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น
จากการข ย าย ตัว ข อ งเ มื อ งแ ล ะ เศ ร ษ ฐ กิจ ใ น ร ะย ะ เว ล า 10
ปี ที่ผ่านจากการเจริญเติบโต ทางด้านเศ รษฐกิจอย่างรวด เร็ว
ซึ่ ง เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก ร า ค า พื ช ผ ล ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ มี ร า ค า ดี
แ ล ะ ใ น เ ข ต อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ
เป็นพื้นที่ที่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้ทั้งอินเทอร์เน็ตบ้าน(
3BB, TOT,CAT) และในระบบสัญญาณ 3G/4G ( AIS,dtac,true)
นอกจากนี้ยังมีสถานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตร้านเกมและร้านค้าที่ให้บริกา
รฟรี Wi-Fi เป็นจานวนมาก จึงมีวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสพติดอินเทอร์เน็ต
ทาให้เกิด ปัญห าทางด้านค รอบค รัว ปัญห าในด้านการเรี ย น
แ ล ะ ปั ญ ห า สั ง ค ม
คณะผู้จัดทาโครงงานจึงเห็นความจาเป็ นในการแก้ปัญหาการเสพติดอินเท
4
อ ร์ เ น็ ต ใ น อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ
โดยการศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ตของวัย
รุ่ น ทั้ ง ใ น ด้ า น ปั จ จัย ส่ ว น บุ ค ค ล ปั จ จัย ด้ า น ค ร อ บ ค รั ว
ปั จ จั ย ด้ า น สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
ศึ ก ษ า ถึ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
และผลกระทบจากเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น อาเภอขุนหาญ
จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในหาวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัยรุ่นเสพติดอิ
นเทอร์เน็ ต ซึ่งการจะแก้ไข ปัญห า วัย รุ่นเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต
ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลนั้น จึงเป็ นหน้าที่ของทุกภาคส่วน
ทั้ ง ส ถ า บั น ค ร อ บ ค รั ว ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ชุ ม ช น
ร ว ม ทั้ ง ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
ควรจะหันมาให้ความร่วมมือช่วยกันดาเนินงานที่รับผิดชอบอย่างเหมาะส
ม และช่วย กันสอด ส่องดูแล พ ฤติก รร มข องเด็ กแ ล ะเย า ว ช น
ซึ่งจะเป็นอนาคตของประเทศต่อไป
2. วัตถุประสงค์การศึกษา
2.1.
เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น
อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
2.2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น
อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
2.3.
เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดจากพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น
อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
3. ขอบเขตการศึกษา
คณะผู้จัดทาโครงงานเรื่องอินเทอร์เน็ต :
เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น ได้กาหนดขอบเขตการศึกษา ดังต่อไปนี้
3.1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 16 – 18
ปี ในเขตอาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
3.2 ระยะเวลาในการศึกษาระหว่างเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม
พ.ศ. 2559 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
5
3.3 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาโครงงานเรื่องอินเทอร์เน็ต :
เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น ครั้งนี้ ประกอบด้วย
3.3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่
- ปัจจัย ด้านส่วนบุค ค ล เช่น เพ ศ อายุ การศึกษา
ผ ล ก า ร เ รี ย น เ ฉ ลี่ ย ร า ย ไ ด้ ก า ร ใ ช้ เ ว ล า ว่ า ง
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ข้า ถึง เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต
ความภูมิใจในตนเอง
- ปัจจัยด้านครอบครัว เช่น สถานภาพทางครอบครัว
อ า ชี พ แ ล ะ ร า ย ไ ด้ ข อ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ข อ ง ผู้ ป ค ร อ ง
การค วบคุมการเล่น อินเทอร์เน็ ต ข องค รอบค รัว การลงโทษ
การอบรมสั่งสอนและตักเตือน การมีกิจกรรมร่วมกันของครอบครัว
- ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น เพื่อน โรงเรียน
สถานให้บริการอินเทอร์เน็ต
3.3.2 ตั ว แ ป ร ต า ม ไ ด้ แ ก่
พ ฤ ติก ร ร ม ก า ร เ ล่น อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต ข อ ง วัย รุ่น ป ร ะ ก อ บ ด้วย
ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ค รั้ ง แ ร ก
ก า ร ใ ช้ เ ว ล า แ ล ะ ช่ ว ง เ ว ล า ใ น ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
อุปกรณ์และสถานที่เล่นอินเทอร์เน็ต จุดประสงค์ของการเล่นอินเทอร์เน็ต
รูปแบบของกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต ค่าใช้จ่ายในการเล่นอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการเล่นอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
4. นิยามศัพท์
4.1 ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ห ม า ย ถึ ง
ภาวะผิดปกติที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ตในการเสพข้อมูล ข่าวสาร
ห รื อ ท า กิ จ ก ร ร ม ใ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ม า ก เ กิ น ไ ป
มีลักษณะคล้ายการเสพติดการพนันไม่สามารถควบคุมจิต ใจได้
คิ ด ถึ ง แ ต่ ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ น ค รั้ ง ต่ อ ๆ ไ ป
รู้ สึ ก กั ง ว ล ใ จ เ มื่ อ ต้ อ ง ปิ ด เ ค รื่ อ ง
แ ล ะ มั ก พู ด โ ก ห ก เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
โดยแบบทดสอบวัดพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต (
Internet Addiction Test - IAT) ข อง Kimberly S Young จาก
นักจิต วิทย าจาก ค ณ ะ แพ ทย ศ าสต ร์ มห าวิทย าลัย พิทส์ เ บิ ร์ ก
ซึ่งกาหนดรูปแบบและลักษณะข องการติด อินเทอร์เน็ ต เป็ น 5
รูปแบบดังนี้
6
4.1.1 Cyber Sexual Addiction
การติดเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเพศ เช่นการดูเว็บโป๊
4.1.2 Cyber-Relationship Addiction
การคบเพื่อนจากห้องแชทรูม , เว็บบอร์ด
นามาทดแทนเพื่อนหรือครอบครัวในชีวิตจริง
4.1.3 Net Compulsion
การติดการพนัน,การประมูลสินค้า,การซื้อ - ขายทางอินเทอร์เน็ต
4.1.4 Information Overload การติดการรับข้อมูลข่าวสาร
จนไม่สามารถยั้บยั้งได้
4.1.5 Computer Addition การใช้คอมพิวเตอร์
ในลักษณะที่ไม่สามารถยับยั้งใจได้ เช่น การเล่นเกมออนไลน์
4.2 อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต (Internet) ห ม า ย ถึ ง
นั้ น ย่ อ ม า จ า ก ค า ว่ า “International network” ห รื อ “Inter
Connection network” ซึ่งหมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เกิดการสื่อ
สาร และการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกัน โดยอาศัยตัวเชื่อมเครือข่ายภายใต้
มาตรฐานการเชื่อมโยงเดียวกัน ทาให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจา
ก ที่ ห นึ่ ง ไ ป ยั ง อี ก ที่ ห นึ่ ง ไ ด้
โดยไม่จากัดระยะทาง ส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ ทั้งข้อความตัวหนังสือ
ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง
ซึ่งปรากฎในรูปแบบของการค้นค ว้าหาข้อมูลผ่านเว็บไชต์ต่างๆ
การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ การเล่นเกมออนไลน์ การรับส่ง E-mail
ก า ร รั บ ช ม ภ า พ ย น ต ร์ ฟั ง เ พ ล ง เ ป็ น ต้ น
โด ย อาศัย เค รือข่าย โทร ค ม นาค ม เป็ นตัวเชื่ อ มต่อ เค รือ ข่า ย
ทาให้ค นในโลกทุกช าติทุกภาษาสามารถติด ต่อสื่อสารกันได้
โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง เ ดิ น ท า ง ไ ป
โลกทั้งโลกเปรียบเสมือนเป็นบ้านหนึ่งที่ทุกคนในบ้านสามารถพูดคุยกันได้
ต ล อ ด 2 4 ชั่ ว โ ม ง ป ร ะ ห ยั ด เ ว ล า ค่ า ใ ช้ จ่ า ย
แต่เกิดประโยชน์ต่อสังคมโลกปัจจุบันมาก
4.3 ระดับการติดอินเทอร์เน็ต คือ
จากการใช้แบบทดสอบวัดพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต
(Internet Addiction Test - IAT) ข อง Kimberly S Young จาก
นักจิต วิทย าจากค ณะ แพ ทย ศ าสต ร์ มห าวิทย าลัย พิทส์เบิร์ ก
ได้การทดสอบแบ่งระดับการเสพติดอินเทอร์เน็ต ได้ 4 ระดับ ดังนี้
7
ระดับที่ 1 ไม่เสพติดอินเทอร์เน็ต หมายถึง ไม่เสพติดอินเทอร์เน็ต
เนื่องจากไม่ใช้อินเทอร์เน็ตหรือใช้อินเทอร์เน็ตในปริมาณน้อยมาก
ร ะ ดั บ ที่ 2 เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต น้ อ ย ห ม า ย ถึ ง
ผู้ ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ น ร ะ ดั บ ป ก ติ ทั่ ว ไ ป
อ า จ จ ะ มี ใ ช้ ม า ก เ กิ น ไ ป ห รื อ น า น เ กิ น ไ ป ใ น บ า ง ค รั้ ง
แต่สามารถควบคุมตนเอง ควบคุมการใช้ได้
ร ะ ดั บ ที่ 3 เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ม า ก ห ม า ย ถึ ง
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้อินเทอร์เน็ตในระดับมากทั้งปริมาณการใช้และเวลาใน
การใช้จนประสบกับปัญหา หรือมีผลกระทบต่อการ ดาเนิ นชี วิต
ควรมีความระมัดระวังควบคุมการใช้
ร ะ ดับ ที่ 4 เ ส พ ติด อิน เทอร์ เน็ ต มาก เกินไ ป ห มาย ถึง
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้อินเทอร์เน็ตมากเกินไปทั้งปริมาณการใช้และเวลาในก
า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
ซึ่งพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในระดับนี้จะก่อให้เกิดปัญหาและผลกระ
ท บ ที่ รุ น แ ร ง
ต่อการดาเนินชีวิตควรได้รับการดูแลและรักษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เ
น็ต
4.4 วัยรุ่น หมายถึง เยาวชนที่มีอายุระหว่าง 16 – 18 ปี
ในอาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
4.5 โ ซ เ ชี ย ล เ น็ ต เ วิ ร์ ค ( Social Network) ห ม า ย ถึ ง
เ ค รื อ ข่ า ย สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์
หรือเป็นการบริการที่เชื่อมโยงคนหลายคนเข้าไว้ด้วยกันผ่านอินเทอร์เน็ต
ตัวอย่างของ Social Network ได้แก่ Facebook Twitter Instagram
Line Hi5 Blogger เ ป็ น ต้ น
ซึ่งเปรียบเหมือนสังคมจาลองเสมือนจริงนั่นเอง และในปัจจุบันนอกจาก
Social Network จ ะ เ ป็ น สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ แ ล้ ว
ยังเป็นเครื่องมือทางการตลาดซึ่งเป็นที่นิยมอีกด้วย
4.6 พฤติกรรมการเล่นอินเทอร์เน็ต หมายถึง การใช้อินเทอร์เน็ต
โ ด ย ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ค รั้ ง แ ร ก
ก า ร ใ ช้ เ ว ล า แ ล ะ ช่ ว ง เ ว ล า ใ น ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
อุปกรณ์และสถานที่เล่นอินเทอร์เน็ต จุดประสงค์ของการเล่นอินเทอร์เน็ต
รูปแบบของกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต ค่าใช้จ่ายในการเล่นอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการเล่นอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
8
5.1 เ ป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น ส า ห รับ ผู้ที่ มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้อ ง
ไ ด้ ก า ห น ด น โ ย บ า ย
มาต รการยุ ทธ ศ าสต ร์ร่วม เพื่ อ ก าร ป้ อ งกันแ ล ะแ ก้ไข ปัญ ห า
พฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น ในเขตอาเภอขุนหาญ
จังหวัดศรีสะเกษ
5.2 เ พื่ อ ที่ พ่ อ แ ม่ ผู้ป ก ค ร อ ง วัย รุ่น แ ล ะ ค รู อ า จ า ร ย์
มีความรู้ความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงของเด็กและเยาวชนเกี่ยวกับพฤติ
กรรมการเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต เป็ นผ ลมาจากปัจจัย ในข้อ ใ ด
แ ล ะ ห า ท า ง ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น ใ ห้ กั บ วั ย รุ่ น
เพื่อใช้ในการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต
5.3
เพื่อนาข้อมูลที่ได้จากศึกษามาจัดกิจกรรมเพื่อป้ องกันและแก้ไข
ก า ร เ ลื อ ก รับ สื่ อ ส ร้า ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ ป็ น ภู มิ คุ้ ม กัน
ในการเล่นอินเทอร์เน็ตของเด็กและเยาวชน อาเภอขุนหาญ จังหวัด
ศรีสะเกษ
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฏี และงานที่เกี่ยวข้อง
ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ศึ ก ษ า โ ค ร ง ง า น นี้
เป็ นการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต
9
ศึ ก ษ า พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
และผลกระทบจากการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น ในเขตอาเภอขุนหาญ
จังห วัด ศ รีสะเ กษ ค ณะผู้จัด ทาโค ร งงา นไ ด้ท บ ทว นแ น ว คิด
ทฤษฏีและงานที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
1. ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
2. การเสพติดอินเทอร์เน็ต
3. ข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตของประเทศไทย ประจาปี 2559
4. ข้อมูลสถานให้บริการอินเทอร์เน็ ตในเขต อาเภอขุนหาญ
จังหวัดศรีสะเกษ
1. ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
1.1 ความหมายของอินเทอร์เน็ต
อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ( Internet) คื อ
เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่ว
โลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็ นตัวเชื่อมเครือข่าย
ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP
(Transmission Control Protocol / Internet Protocol)
เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้
นับว่าเป็ นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้
โ ป ร โ ต ค อ ล อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต จ า ก ทั่ ว โ ล ก ม า ก ที่ สุ ด
อินเทอร์เน็ตจึงมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN
แต่มีโครงสร้างการทางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ
WAN เป็ นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร
เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบแน่นอน
แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็ นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ
เ ค รื่ อ ง แ บ บ ไ ม่ ถ า ว ร ขึ้ น อ ยู่ กั บ เ ว ล า นั้ น ๆ
ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้
จึงทาให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ
1.2 ความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต มีพัฒนาการมาจาก อาร์พาเน็ต (Arp Anet เรียกสั้น ๆ
ว่ า อ า ร์ พ า ) ที่ ตั้ ง ขึ้ น ใ น ปี 2512
เป็ นเครือข่ายคอมพิวเคอร์ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา
ที่ใช้ในงานวิจัยด้านทหาร (ARP : Advanced Research Project
Agency)ม า ถึ ง ปี 2515
ห ลังจากที่เค รือข่ายทด ลองอาร์พาประสบค วามสาเร็จอย่างสูง
10
และได้มีการปรับปรุงหน่วยงานจากอาร์พามาเป็ นดาร์พา (Defense
Advanced Research Project Agency: DARPA) และในที่สุด ปี
2518 อาร์พาเน็ตก็ขึ้นตรงกับหน่วยการสื่อสารของกองทัพ (Defense
Communication Agency)ในปี 2526 อาร์พาเน็ตก็ได้แบ่งเป็ น 2
เ ค รื อ ข่ า ย ด้ า น ง า น วิ จัย ใ ช้ ชื่ อ อ า ร์ พ า เ น็ ต เ ห มื อ น เ ดิ ม
ส่วนเครือข่ายของกองทัพใช้ชื่อว่า มิลเน็ต (MILNET : Millitary
Network) ซึ่ ง มี ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ โ ด ย ใ ช้ โ พ ร โ ต ค อ ล TCP/IP
(Transmission Control Protocol/Internet) เป็นครั้งแรกในปี 2528
มู ล นิ ธิ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ช า ติ ข อ ง อ เ ม ริ ก า ( NSF) ไ ด้
ให้เงินทุนในการสร้างศูนย์ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชื่อว่า
NSFNETและพอมาถึงปี 2533 อาร์พารองรับภาระที่เป็นกระดูกสันหลัง
(Backbone) ของระบบไม่ได้ จึงได้ยุติอาร์พาเน็ต และเปลี่ยนไปใช้
NSFNET แ ล ะ เ ค รื อ ข่ า ย ข น า ด ม หึ ม า จ น ถึ ง ทุ ก วั น นี้
แ ล ะ เ รี ย ก เ ค รื อ ข่ า ย นี้ ว่ า อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
โ ด ย เ ค รื อ ข่ า ย ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ อ ยู่ ใ น อ เ ม ริ ก า
และปัจจุบันนี้มีเครือข่ายย่อยมากถึง 50,000 เครือข่ายทีเดียว และคาดว่า
ภายในปี 2543 จะมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งโลกประมาณ 100 ล้านคน
หรือใกล้เคียงกับประชากรในโลกทั้งหมดสาหรับประเทศไทยนั้น
อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ริ่ม มี บ ท บ า ท อ ย่ า ง ม า ก ใ น ช่ ว ง ปี 2530-2535
โดยเริ่มจากการเป็ นเครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์ระดับมหาวิทยาลัย
( Campus Network)
แล้วจึงเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตอย่างสมบูรณ์เมื่อเดือนสิงหาคม
2535และ ในปี 2538 ก็มี การเปิดให้ บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์
( ร า ย แ ร ก คื อ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ค เ อ ส ซี ) ซึ่ ง ข ณ ะ นั้ น
เวิร์ลด์ไวด์เว็บกาลังได้รับความนิยมอย่างมากในอเมริกาอย่างไรก็ตาม
อินเทอร์เน็ต บางครั้งก็มีการเรียกย่อเป็ น เน็ต (Net) หรือ The Net
ด้วยเช่นเดียวกัน อีกคาหนึ่งที่หมายถึงอินเทอร์เน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ
เ วิ ร์ ล ด์ ไ ว ด์ เ ว็ บ ( World – Wide Web) (
เ ว็ บ เ ป็ น เ พี ย ง บ ริ ก า ร ห นึ่ ง ข อ ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ท่ า นั้ น
แต่บริการนี้ถือว่าเป็นบริการที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุด )
1.3 การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ต
การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันทาได้หลากหลาย อาทิเช่น
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat),
อ่านหรือแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ด, การติดตามข่าวสา ร ,
การสืบค้นข้อมูล/การค้นหาข้อมูล, การชมหรือซื้อสินค้าออนไลน์ ,
11
การดาวน์โหลด เกม เพลง ไฟล์ข้อมูล ฯลฯ, การติดตามข้อมูล ภาพยนตร์
รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์, การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ ,
การเรียนรู้ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต
( Video Conference), โ ท ร ศัพ ท์ ผ่า น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ( VoIP),
ก า ร อั บ โ ห ล ด ข้ อ มู ล ห รื อ
อื่นๆแนวโน้มล่าสุดของการใช้อินเทอร์เน็ตคือการใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นแหล่
ง พ บ ป ะ สั ง ส ร ร ค์ เ พื่ อ ส ร้ า ง
ซึ่งพบว่าปัจจุบันเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวกาลังได้รับความนิ
ย ม
เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบันสนับสนุนให้การเข้าถึงเครือข่ายผ่านโทรศัพท์
มือถือ อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น
1.4 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ ต เปรีย บเสมือนชุ มช นเมืองแห่งให ม่ของโลก
เป็นชุมชนของคนทั่วมุมโลก จึงมีบริการต่างๆ เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา
1.4.1 ไปรษณี ย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail,E-mail)
ไ ป ร ษ ณี ย์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ห รื อ E-mail
เป็นการส่งจดหมายผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยผู้ส่งสามารถส่งข้อความ
ไปยังที่อยู่ของผู้รับ ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมาย
แล้วส่งไปยังผู้รับ ผู้รับจะได้รับจดห มายภาย ในเวลาไม่กี่วินาที
แ ม้ จ ะ อ ยู่ ห่ า ง กั น ค น ล ะ ซี ก โ ล ก ก็ ต า ม
นอกจากนี้ยังสามารถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย
1.4.2. การขอเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet)
เป็นบริการอินเทอร์เน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิ
ว เ ต อ ร์ อี ก เ ค รื่ อ ง ห นึ่ ง ที่ อ ยู่ ไ ก ล ๆ ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง เ ช่ น
ถ้าเราอยู่ที่โรงเรียนทางานโดยใช้อินเทอร์เน็ตของโรงเรียนแล้วกลับไปที่บ้
า น
เรามีคอมพิวเตอร์ที่บ้านและต่ออินเทอร์เน็ตไว้เราสามารถเรียกข้อมูลจาก
ที่โรงเรียนมาทาที่บ้านได้ เสมือนกับเราทางานที่โรงเรียนนั่นเอง
1.4.3. ก า รโอนถ่าย ข้อมูล ( File Transfer Protocol ห รือ
FTP) เ ป็ น บ ริก า ร อี ก รู ป แ บ บ ห นึ่ ง ข อ ง ร ะ บ บ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต
เราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ในเครื่องของเร
าได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภาพและเสียง
1.4.4. การสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web)
ห ม า ย ถึ ง
การใช้เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่มากมายแล้วช่วยจั
12
ด เ รี ย ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร หั ว ข้ อ อ ย่ า ง มี ร ะ บ บ เ ป็ น เ ม นู
ทาให้เราหาข็อมูลได้ง่ายหรือสะดวกมากขึ้น
1.4.5. การแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet)
เป็นการให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการ
อินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็น ของตนเอง
โ ด ย มี ก า ร จั ด ก า ร ผู้ ใ ช้ เ ป็ น ก ลุ่ ม ข่ า ว ห รื อ นิ ว ก รุ๊ ป
(Newgroup)แลกเปลี่ย นค วามคิด เห็นกันเป็ นหัวข้อต่างๆ เช่น
เรื่องหนังสือ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์และการเมือง เป็นต้น
1.4.6. การสื่อสารด้วยข้อความ (Chat,IRC-Internet Relay
chat) เ ป็ น ก า ร พู ด คุ ย กั น ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
โ ด ย พิ ม พ์ ข้ อ ค ว า ม ต อ บ กั น
ซึ่ ง เ ป็ น วิ ธี ก า ร สื่ อ ส า ร ที่ ไ ดัรับ ค ว า ม นิ ย ม ม า ก อี ก วิธี ห นึ่ ง
การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดีย
วกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน
แม้จะอยู่คนละประเทศหรือคนละซีกโลกก็ตาม
1.4.7. ก า ร ซื้ อ ข าย สิน ค้าแล ะ บริกา ร( E-Commerce =
Eletronic Commerce) เป็ นการจับจ่ายซื้อ - สินค้าและบริการ เช่น
ข า ย ห นั ง สื อ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ป็ น ต้ น
ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตในการทาธุรกิจและให้บริการลูกค้าตลอด2
4ชั่วโมง
1.4.8. ก า ร ใ ห้ ค ว า ม บั น เ ทิ ง ( Entertain)
ในอินเทอร์เน็ตมีบริการด้านความบันเทิงในทุกรูปแบบต่างๆ เช่น
เกมส์ออนไลน์ เพ ลง ราย การโทรทัศ น์ ราย การวิทยุ เป็ นต้น
เราสามารถเลือกใช้บริการเพื่อความบันเทิงได้ตลอด24ชั่วโมงและจากแห
ล่งต่างๆทั่วทุกมุมโลก ทั้งประเทศไทย อเมริกา ยุโรปและออสเตรเลีย
เป็นต้น
1.5 โทษของอินเทอร์เน็ต
1.5.1 ก า ร ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ( Internet Addiction)
อินเทอร์เน็ตก็เป็ นสิ่งเสพติดหรือ การเล่นอินเทอร์เน็ต ทาให้คุณเสียงาน
ผู้ใดเป็ นผู้ที่ติดการพนัน การติดการพนันประเภทที่ถอนตัวไม่ขึ้น
มีลักษณะคล้ายคลึงกับ การติดอินเทอร์เน็ต เพราะทั้งสองอย่าง
เกี่ยวข้องกับการล้มเหลว ในการควบคุมความต้องการของตนเอง
โดยไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสารเคมีใดๆ (อย่างสุรา หรือยาเสพติด)
1 . 5. 2 เ รื่ อ ง อ น า จ า ร ผิ ด ศี ล ธ ร ร ม
เรื่องของข้อมูลต่างๆที่มีเนื้อหาไปในทางขัดต่อศีลธรรม ลามกอนาจาร
13
ห รื อ ร ว ม ถึ ง ภ า พ โ ป๊ เ ป ลื อ ย ต่ า ง ๆ นั้ น เ ป็ น
เ รื่ อ ง ที่ มี ม า น า น พ อ ส ม ค ว ร แ ล้ ว บ น โ ล ก อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
แต่ไม่โจ่งแจ้งเนื่ องจากสมัย ก่อนเป็ นยุ คที่ WWW ยังไม่พัฒนา
ม า ก นั ก ท า ใ ห้ ไ ม่ มี ภ า พ อ อ ก ม า
แต่ในปัจจุบันภาพเหล่านี้เป็ นที่โจ่งแจ้งบนอินเทอร์เน็ตและสิ่งเหล่านี้สามา
ร ถ เ ข้ า สู่ เ ด็ ก
และเยาวชนได้ง่ายโดยผู้ปกครองไม่สามารถที่จะให้ความดูแลได้เต็มที่
เพราะว่าอินเทอร์เน็ตนั้นเป็ นโลกที่ไร้พรมแดนและเปิดกว้างทาให้สื่อเหล่า
นี้ ส า ม ร ถ เ ผ ย แ พ ร่ ไ ป ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว จ น เ ร า
ไม่สามารถจับกุมหรือเอาผิดผู้ที่ทาสิ่งเหล่านี้ขึ้นมาได้
1.5.3. ไวรัส ม้าโทรจัน หนอนอินเทอร์เน็ต และระเบิดเวลา
ไ ว รั ส : เ ป็ น โ ป ร แ ก ร ม อิ ส ร ะ
ซึ่งจะสืบพันธุ์โดยการจาลองตัวเองให้มากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อที่จะทาลายข้อมูล
หรืออาจทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานช้าลงโดยการแอบใช้สอยหน่วยค
วามจาหรือพื้นที่ว่างบนดิสก์โดยพลการ
2. การเสพติดอินเทอร์เน็ต (Internet Addition)
2.1 การเสพติด
2.1.1 ความหมายของการเสพติดนิยามการเสพติดนั้นได้มี
ผู้ให้ความหมายอยู่หลายคน ดังนี้
การเสพติด (addition) หมายถึง การติดเป็ นนิสัย (ฝ่ายวิชาการ
แพร่พิทยา และคณะแพทย์แห่งวิชรสาร, 2514 อ้างถึงใน ชัยรัตน์
บุตรพรหม, 2545)
การเสพติด หมายถึง การเสพติดที่ใช้บ่อยๆ แล้วติด
มักจะใช้กับสิ่งที่ติดแล้วทาให้เกิดโทษ เช่น ยาเสพติด สิ่งเสพติด
และของเสพติด (ราชบัณฑิตยสถาน, 2525 อ้างถึงใน ชัยรัตน์
บุตรพรหม, 2545)
ก า ร เ ส พ ติ ด ห ม า ย ถึ ง
ลักษณะของความผิดปกติทางจิตที่เกี่ยวข้องกับการตกเป็นทาส
ต่อ การเสพติด ย้าคิดย้าทาไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จะมีผลต่อร่างกาย
สติปัญญา และ บุคลิกภาพของปัจเจกบุคคล พฤติกรรมที่เรียกว่าเสพติดนั้น
บุค ค ลจะมีค วามห ม กมุ่น ถูกค รอบงาทั้งเรื่อง เวล า พ ลังงาน
สู ญ เ สี ย ก า ร ค ว บ คุ ม จ า ก สิ่ ง ใ ด สิ่ ง ห นึ่ ง
ก า ร เ ส พ ติด นั้ น เ ป็ น พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ใ ห้ค ว า ม รู้สึก ดี กับ ค นที่ถู ก
ดึ ง ดู ด ใ ห้ มี รู ป แ บ บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ซ้ า ๆ
14
ทาให้คนขาดค วามรับผิดช อบในผลการกระทาจากพ ฤติก ร รม
ของเขาและให้ค วามพึงพอใจกับชี วิตข องบุค คลนั้น (ธนิกานต์
มาฆะคิรานนท์, 2545)
รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร เ ส พ ติ ด
ไม่ว่าจะเป็นการเสพติดประเภทใดจะมีลักษณะคล้ายกัน คือ มี
ความต้องกา รใ นปริมา ณที่มา กขึ้น ไม่สามารถลด ห รือห ยุ ด ได้
มี อ า ก า ร ก ร ะ ว น ก ร ะ ว า ย เ มื่ อ ไ ม่ ไ ด้ เ ส พ
และการเสพจะทาให้เกิดผ ลกระทบต่อห น้าที่การงาน การเรีย น
ครอบครัวและสังคมเป็นต้น (ชัยรัตน์ บุตรพรหม, 2545)
โ ด ย ทั่ ว ไ ป แ ล้ ว addiction
มีความหมายที่ถูกใช้เกี่ยวกับการติดสารเสพติดหรือยาเสพติด เท่านั้น
แต่การติดในรูปแบบอื่น เช่น การติดโทรทัศน์ การติดเกมคอมพิวเตอร์
ก า ร ติ ด ก า ร พ นั น ฯ ล ฯ
อาจอธิบายได้จากลักษณะอาการบางอย่างที่มีความคล้ายคลึงกัน คือ
เมื่อติด แล้วจ ะเ กิด ค วามต้องการทั่ งท าง ร่าง ก าย แ ล ะ จิต ใ จ
โ ด ย ไ ม่ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ห ยุ ด ห รื อ ค ว บ คุ ม ต น เ อ ง ไ ด้ แ ล ะ จ ะ
เ พิ่ ม ค ว า ม ถี่ แ ล ะ ป ริ ม า ณ ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ
จ น ก ร ะ ทั่ ง ส่ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อ ร่า ง ก า ย แ ล ะ จิต ใ จ แ ล ะ ท า ใ ห้ มี
ความรู้สึกว่าไม่สามารถข าด สิ่งเห ล่านี้ ได้ มีอาการย้าคิด ย้า ทา
จนกระทั่งติดเป็นนิสัย (ชัยรัตน์ บุตรพรหม, 2545)
2.2 การเสพติดอินเทอร์เน็ต
2.2.1 ความหมายของการเสพติดอินเทอร์เน็ต
ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
เป็ นปรากฏการณ์ ทางสังค มที่กาลังเกิดขึ้นจริงใ นสังคมต ะ วันต ก
ดังจะเห็นได้ว่าจานวนของผู้ที่มีอาการติดอินเทอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นทุกปี
เ นื่ อ ง จ า ก อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต แ ล ะ
คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจาวันของมนุษย์
กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ น แ ต่
ละวันต้องมีการนาเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่ออานวยความสะดวกในด้าน
ต่าง ๆ มากขึ้น อินเทอร์เน็ตจึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งในการติดต่อสื่อสาร
แห ล่งค้นห าข้อมูลข่าวสาร เพื่ อค วาม บันเทิง ดังนั้นในทุกๆ
องค์กรหรือสถาบันต่างๆ จึงจาเป็นต้องมีอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้กันมากขึ้น
แ ล ะ ใ ช้ กั น อ ย่ า ง แ พ ร่ ห ล า ย
ส่วนใหญ่ในสังคมไทยพบว่าเยาวชนหรือกลุ่มวัยรุ่นที่ถือได้ว่าเป็ น
15
ทรัพยากรที่สาคัญของประเทศกาลังหมกมุ่นอยู่กับการเล่นอินเทอร์เน็ตมา
กกว่าจะนา อินเทอร์เน็ตมาใช้ให้เกิดประโยชน์ (ชัยรัตน์ บุตรพรหม,
2545)
วิธีการวินิจฉัยผู้ที่มีอาการเสพติด ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ที่นิยมใช้ทั่วไป
โด ย ผู้เสพ ติด จะมีพ ฤติกรรม Young (2 0 0 0 ) ได้วิเค ราะห์ว่า
บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1
ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต
1) รู้ สึ ก ห ม ก มุ่ น กั บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
แม่ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเช้าระบบอินเทอร์เน็ต
2) มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้นอยู่เรื่อยๆ
3) ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้
4) รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้
5) คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทาให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น
6) ใช้เป็นอินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา
7) ห ล อ ก ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว ห รื อ เ พื่ อ น
เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง
8) มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย
ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก เ มื่ อ เ อ่ ย ถึ ง ย า เ ส พ ติ ด นั้ น
นักวิชาการมักจะเน้นไปที่การเสพติดยา แอลกอฮอล์ และสารเสพติด
ต่อมาได้มีการกล่าวถึงการเสพติดที่ครอบคลุมถึงพฤติกรรมการใช้ที่ผิดปก
ติ ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร เ ส พ ติ ด กิจ ก ร ร ม ต่า ง ๆ (activity addiction)
โดยพฤติกรรมนั้นมิได้เป็ นการเสพสารเข้าไป ในร่างกาย เช่น การดื่ม
การเสพ เป็ นประเภทการเสพติดที่ไม่ได้ใช้ยา หรือสารเคมี เช่นการติด
การพนัน การเสพติดเกมคอมพิวเตอร์ การออกกาลังกายที่มากเกินไป
ความผิดปกติในการกิน หรือการเสพติดเพศสัมพันธ์ (ธนิกานต์
มาฆะคิรานนท์, 2545)
รูปแบบและลักษณะของการติดอินเทอร์เน็ต
รูปแบบ อาการ
1. Cyber Sexual
addiction
การติดเว็บไซต์ที่เกี่ยวช้องกับกิจกรรมทาง
เพศ เช่น การดูเว็บ ลามก อนาจาร
2. Cyber-
Relationship
addiction
การคบเพื่อนจากห้องแชตรูม,เว็บบอร์ด
นามาทดแทนเพื่อน
หรือครอบครัวในชีวิตจริง3. Net Compulsion การติดการพนัน, การประมูลสินค้า,
การซื้อ-ขายทาง
อินเทอร์เน็ต
16
4. Information
Overload
การติดการรับข้อมูลข่าวสาร
จนไม่สามารถยั้บยั้งได้5. Computer
Addition
การใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะที่ไม่สามาร
ถยับยั้งใจได้
2.2.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการเสพติดอินเทอร์เน็ต
ผู้ที่เสพติดอินเทอร์เน็ตจะใช้เวลาในอินเทอร์เน็ตสูงกว่าผู้ที่ไม่เสพติ
ด ผู้ที่เสพติดจะมีการใช้ บริการและประโยชน์ จากอินเทอ ร์เน็ ต
เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านอารมณ์ สังคม และ จิตใจสูงกว่า
แต่จะใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการแสวงหาข้อมูลข่าวสารน้อยกว่าผู้ที่ไม่เสพติด
และผู้ที่ เสพติดจะประเมินว่าตนเองมีความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ต
รู้ สึ ก ถู ก ดึ ง ดู ด ใ จ จ า ก สื่ อ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
ได้รับผลกระทบจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตสูงกว่าผู้ที่ไม่เสพติดเช่นเดียวกั
น
และผู้ที่เสพติดจะตระหนักรู้ถึงภาวะการเสพติดแต่ไม่สามารถลดหรือหยุด
ใช้ได้ (ธนิกานต์ มาฆะศิรา นนท์, 2545)
ธ นิ ก า น ต์ ม า ฆ ะ ศิ ร า น น ท์ ( 2 5 4 5 )
ศึ ก ษ า ปั จ จัย ก า ร เ ส พ ติด อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต พ บ ว่ า ปั จ จัย ท า ง
จิตวิทยานั้นเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมการเสพติดเมื่อเปรียบเทียบร
ะ ห ว่ า ง ผู้ ที่ เ ส พ ติ ด แ ล ะ ไ ม่ เ ส พ ติ ด
พ บ ว่ า ผู้ ที่ เ ส พ ติ ด นั้ น จ ะ ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า ท า ง จิ ต ใ จ
ปัญหาความสัมพันธ์ทางสังคม และ มีแนวโน้มที่จะเสพติดสิ่งอื่นๆ
มาก่อนมากกว่าผู้ที่ไม่เสพ ติด เมื่อพิจารณาในเรื่องปัจจัยทาง
ประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการเสพติดก็พบว่า ลักษณะทางอายุ
ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ
อ า ชี พ นั้ น จ ะ มี ค ว า ม สัม พัน ธ์ กับ ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
น อ ก จ า ก นี้ ปั จ จั ย ลั ก ษ ณ ะ ท า ง
ประชากรศาสตร์นั้นจะส่งผลให้ผู้เสพติดและไม่เสพติดมีความแตกต่างกัน
ในเรื่องการใช้ อินเทอร์เน็ต และการประเมินตนเองกับสื่ออินเทอร์เน็ตด้วย
สาเหตุของการเสพติดแบ่งออกได้เป็ นสามกลุ่มให ญ่ๆ คือ
ปัจจัยที่เกิดจากสิ่งเร้า ปัจจัย ส่วนบุคคลที่ล่งผลต่อการตอบสนองสิ่งเร้า
และปัจจัยทางสังคมวิทยา (ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์, 2545)
1) ปัจจัยที่เกิดจากสิ่งเร้า
สิ่งเร้าที่ก่อให้เกิด อาการเสพ ติด ได้มา ก กว่าสิ่ง เร้า อื่ น ๆ
โด ย สามารถก่อให้เกิด ค วาม เปลี่ย นแปลงท างร่างกาย เช่น
การหลั่งสารที่ทาให้คนเรารู้สึกพอใจ รู้สึกสงบ เช่น การหลั่งสาร
โดปามีนและ เซโรโตนินเมื่อได้ใช้สารเสพ ติด
17
จะทาให้เกิดการยึดติดกับความรู้สึกและการใช้ทาให้เกิดพฤติกรรมนั้นอย่า
งสม่าเสมอเพื่อหลีกเลี่ยงความรู้สึกเจ็บปวด หลบหนีจากความเบื่อหน่าย
ความไม่สบายใจ
2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
- ปัจจัยทางร่างกาย
ลักษณะทางร่างกาย ส่วนบุค ค ล เช่นโค รโมโซ มนั้นจะมี
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ก า ร เ ส พ ติ ด เ ช่ น
พฤติกรรมกา รเสพติดอินเทอร์เน็ ตจะถู กถ่าย ถทอด จากพ่ อ แม่
สู่ลูกประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ติดแอลกอฮอล์นั้นจะมีผู้ปกครองอย่างน้อย 1
คน มีปัญหาการเสพติดแอลกอฮอล์ เช่นเดียวกับการเสพติดอื่นๆ และ
ฝาแฝดจะมีสัดส่วนการแสดงพฤติกรรมการเสพติดทั้งคู่มาก
- ปัจจัยทางจิตวิทยา
ลักษณะทางจิต การเสพติดเกิดจากการใช้ยา หรือกิจกรรม
เ พื่ อ ร ะ บ า ย บ ร ร เ ท า บ า บั ด ลั ก ษ ณ ะ อ า ก า ร ท า ง จิ ต
แ ล ะ ภ า ว ะ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ท า ง อ า ร ม ณ์ บุ ค ค ล นั้ น จ ะ ใ ช้ ย า
หรือกิจกรรมที่แตกต่างกันไป เพื่อ บรรเทาอารมณ์และปัญหาต่าง ๆ
นั ก จิ ต วิ ท ย า นั้ น เ ชื่ อ ว่ า ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ง จิ ต ใ จ นั้ น
ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ส พ ติ ด ไ ด้ ง่ า ย ขึ้ น ก า ร ติ ด สิ่ ง เ ส พ ติ ด นั้ น
มีความเกี่ยวข้องกับความบกพร่องทางอารมณ์ ความอ่อนไหวทางอารมณ์
บุคคลที่มีแนวโน้มเสพติดได้ง่าย จะเป็นบุคคลที่ขาดความมั่นใจในตนเอง
ไ ม่ พ อ ใ น ใ น ต น เ อ ง แ ล ะ ข า ด ค ว า ม นั บ ถื อ ใ น ต น เ อ ง
นั้นจะมีความเสี่ยงที่จะเสพติดแอลกอฮอล์ และปัญหาการเสพติดอื่น
บุ ค ลิ ก
พฤติกรรมต่อด้านสังคมของบุคคลนั้นส่งผลให้บุคคลมีแนวโน้มที่จะยึดติด
กับแอลกอฮอล์ และบุ ค ค ลที่มีบุค ลิกระวังแ ละ ป้ อง กันต น เ อ ง
จะมีแนวโน้มการใช้ยาเสพติดน้อยกว่าบุคคลที่มีบุคลิกยึดติด พึ่งพิง
พฤติกรรมการแสวงหาความตื่นเต้น เร้าใจ เป็นสาเหตุหลักในการติดการ
พนัน
ลั ก ษ ณ ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง สั ง ค ม
บรรยากาศในครอบครัวนั้นสามารถส่งผลต่อการเสพติดของบุคคลได้โดย
ผู้ปกครองของผู้ ติดสารเสพติดนั้นอาจจะมีปัญหาในการควบคุมตนเอง
แ ล ะ มั ก แ ส ด ง อ า ร ม ณ์ รุ น แ ร ง แ ล ะ ผู้ ติ ด ก า ร
พ นันส่วนให ญ่จะมีปัญห าค วามสัมพันธ์ ในค รอบค รัว ม า ก่อ น
รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูบุตรนั้นมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเสพติด
18
โดยการเลี้ยงดูแบบเผด็จการ จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรม การเสพติดได้สูง
และการอบรมเลี้ยงดูด้วยความรัก ความเข้าใจ ทาให้ความเสี่ยงนี้ลดลง
3) ปัจจัยทางสังคมวิทยา
พ ฤติกรร ม กา ร เส พ ติด นั้น เ ป็ น ก ร ะ บว น ก า รท าง สัง ค ม
ซึ่งบุคคลจะได้รับทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อมาจากกลุ่ม สังค ม
หรือวัฒนธรรมในสังคม อิทธิพลจากครอบครัว และกลุ่มเพื่อน ทาให้
บุคคลมีพฤติกรรมการเสพติด เช่นการใช้ยาเสพติด การติดการพนัน
และปฏิเสธกิจกรรม หน้าที่ ประจาวัน และในการศึกษาทางสังคมวิทยานี้
ค ว า ม สัม พัน ธ์ ข อ ง ค ร อ บ ค รัว ก ลุ่ม เ พื่ อ น แ ล ะ สื่ อ ม ว ล ช น
มีอิทธิพลต่อการเสพติดของบุคคล
- ผลกระทบจากการเสพติดอินเทอร์เน็ต
ก า ร เ ส พ ติ ด เ ป็ น อ า ก า ร ที่ ถู ก ค ร อ บ ง า แ ล ะ ห ม ก มุ่ น
เ ป็ น พ ฤ ติ ก ร ร ม ย า คิ ด ย า ท า โ ด ย ภ า ว ะ ที
หมกมุ่นและลูกครอบงานี้เป็ นการที่บุคคลลูกครอบงาทางความคิด
และการกระทาจกา พฤติกรรมการเสพติด ทาให้บุคคลสูญเสียเวลาในชีวิต
เกิดความระทมทุกข์ และมีผลกระทบต่อ ชีวิตประจาวันของบุคคล
(ธนิกานต์ มาฆะคิรานนท์, 2545)
การใช้สิ่งเสพ ติดนั้นก่อให้เกิด ผลกระทบในหลายๆ ด้าน
ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ความสัมพันธ์ในสังคม การเรียน
อ า ชี พ ก า ร ง า น ก า ร เ งิ น แ ล ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ บุ ค ค ล ร อ บ ข้ า ง
ก า ร เ ส พ ติ ด นั้ น ท า ใ ห้ บุ ค ค ล เ กิ ด ค ว า ม รู้ สึ ก แ ป ล ก แ ย ก
ข า ด สิ่ ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ใ น ชี วิ ต เ กิ ด ค ว า ม ก ด ดัน ที่ ม า ก ขึ้ น
ซึ่งการเสพติดนั้นจะส่งผลกระทบต่อปัญหาทางด้านอารมณ์และจิตใจของผู้
เสพ ติดรุนแรงยิ่งขึ้น (ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์, 2545)
อ า ก า ร เ ส พ ติ ด ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
ทาให้เกิดปัญหาในครอบครัวมีความขัดแย้ง กับบุคคลในครอบครัว
ส่งผลให้บุคคลไม่อยากรับประทานอาหาร หรือพักผ่อน เนื่องจากต้องการ
ใ ช้ เ ว ล า ม า ก ๆ
ในการเล่นคอมพิวเตอร์ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อร่างกายของบุคค ลนั้น
(ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์, 2545)
19
3. ข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตของประเทศไทย ประจาปี 2559
การสารวจการมีการใช้เทคโนโลนีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน
พ . ศ . 2559 โ ด ย ส า นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ช า ติ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3.1 การใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ
ผ ลการสารวจประช ากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปประมา ณ 62.8
ล้านคนพบว่ามีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 20.2 ล้านคน (ร้อยละ 32.2)
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 29.8 ล้านคน (ร้อยละ 47.5) และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ
51.1 ล้านคน (ร้อยละ 81.4)
เมื่อพิจารณาแนวโน้มการใช้ค อมพิวเต อร์ อินเทอร์เน็ต
และโทรศัพท์มือถือของประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปในช่วงระยะเวลา 5 ปี
ระหว่างปี 2555-2559 พบว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์ลดลงจาก ร้อยละ 33.7
(จานวน 21.2 ล้านคน) เป็ นร้อยละ 32.2 (จานวน 20.2 ล้านคน)
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 26.5 (จานวน 16.6 ล้านคน)
เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 47.5 ( จ า น ว น 29.8 ล้ า น ค น )
ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือทุกประเภทเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.2 (จานวน 44.1
ล้ า น ค น ) เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 81.4 ( จ า น ว น 51.1 ล้ า น ค น )
และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.0
(จานวน 5.0 ล้านคน) เป็นร้อยละ 50.5 (จานวน 31.7 ล้านคน)
เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า ผู้ ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
แ ล ะ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ เ ป็ น ร า ย ภ า ค พ บ ว่ า
ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร มี ผู้ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ สู ง สุ ด ร้อ ย ล ะ 50.5
รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ31.5 ภาคเหนือ ร้อยละ 30.1 ภาคใต้ ร้อยละ
29.5 และต่าที่สุดในประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 27.0
สาหรับการใช้อินเทอร์เน็ตเช่นเดียวกันคือกรุงเทพมหานครมีผู้ใช้อิ
นเทอร์เน็ตสูงสุด ร้อยละ 69.2 รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ 53.0 ภาคใต้
ร้อยละ 46.3 ภาคเหนือร้อยละ 41.4 และต่าที่สุดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยละ 36.0
ใ น ข ณ ะ ที่ ก า ร ใ ช้ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท
กรุงเทพมหานครมีผู้ใช้สูงสุดเช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 91.3
รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ 85.5 ภาคเหนือ ร้อยละ 78.9 ภาคใต้
20
ร้อยละ 77.3 และ ต่าที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ
76.1
ส า ห รั บ ผู้ ใ ช้ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ แ บ บ Smart Phone
กรุงเทพมหานครยังมีผู้ใช้สูงที่สุด เช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 70.3
รองลงมาคือ ภาคกลาง ร้อยละ 56.3 ภาคใต้ ร้อยละ 48.7 ภาคเหนือ
ร้อยละ 45.2 และต่าที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 39.3
3.2 ลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
เมื่อเปรียบเทียบการใช้อินเทอร์เน็ตระหว่างเพศชายและเพศหญิง
พบว่าสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตไม่แตกต่างกันมากนักซึ่งจากข้อมูลตั้งแต่
ปี 2555-2559
การใช้อินเทอร์เน็ตของเพศชายและเพศหญิงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตตามกลุ่มอายุต่างๆ พบว่า กลุ่มอายุ
15-24 ปี มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด ร้อยละ 85.9 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ
25-34 ปี ร้อยละ 73.6 กลุ่มอายุ 6-14 ปี ร้อยละ 61.4 กลุ่มอายุ
35-49 ปี ร้อยละ 44.9 และในกลุ่มอายุ 50 ขึ้นไปมีเพียง ร้อยละ 13.8
สาหรับสถานที่ใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ส่วนใหญ่ใช้ตามสถานที่ต่างๆ
ผ่านโทรศัพท์มือถือ/คอมพิวเตอร์พกพา เช่น Notebook, Tablet
ร้อยละ 85.4 รองลงมาคือ ใช้ที่บ้าน/ที่พักอาศัย ร้อยละ 66.1 ใช้ที่ทางาน
ร้อยละ 33.1 และใช้ในสถานที่ศึกษา ร้อยละ 27.6
ส่วนกิจกรรมส่วนให ญ่ใ ช้ Social Network ร้อย ละ 91.5
รองลงมาคือ ใช้ในการดาวน์โหลด รูปภาพ/หนัง/เพลง/เกม ดูหนัง
ฟังเพลง ร้อยละ 88.0 ใช้ในการอัพโหลดข้อมูล รูปภาพ วิดีโอ เพลง
software เ พื่ อ แ บ่ ง ปั น บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ร้ อ ย ล ะ 55.9
และติดตามข่าวสาร/อ่านหรือดาวน์โหลดหนังสือ ร้อยละ 46.5
ในขณะที่ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 5-7
วัน ใน 1 สัปดาห์ ร้อยละ 79.8 รองลงมาใช้ 1-4 วันใน 1 สัปดาห์ ร้อยละ
19.3
ส่ ว น อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต พ บ ว่ า
ผู้ใ ช้ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ ช้ โ ท ร ศัพ ท์ มื อ ถื อ แ บ บ Smart Phone
ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตค่อนข้างสูงคือ ร้อยละ 90.4 ใช้ PC ร้อยละ
50.1 ใช้ Notebook ร้อยละ 24.9 และ Tablet ร้อยละ
15.2 (แผนภาพ 1)
21
แ ผ น ภ า พ 1 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร อ า ยุ 6
ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ตตามอุปกรณ์ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
4. ข้อมูลสถานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต ในเข ตอาเภอขุนห าญ
จังหวัดศรีสะเกษ
อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ
เป็ นอาเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็ นอันดับที่ 4
รองจากอาเภอกันทรลักษ์ อาเภอภูสิงห์ และอาเภอขุขันธ์ ตามลาดับ
และเป็นหนึ่งในสามอาเภอของจังหวัดศรีสะเกษที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศ
กัมพูชา อาเภอขุนหาญแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็ น 12 ตาบล 145
หมู่บ้าน
ใ น เ ข ต อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ
เป็นพื้นที่ที่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้ทั้งอินเทอร์เน็ตบ้าน(
3BB, TOT,CAT) และในระบบสัญญาณ 3G/4G ( AIS,dtac,true)
นอกจากนี้ยังมีสถานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตร้านเกมและร้านค้าที่ให้บริกา
รฟรี Wi-Fi เป็นจานวนมาก
22
แผนที่พื้นที่การให้บริการสัญญาณโทรศัพท์และอินเทอร์เน็ต
3G/4G ในเขตพื้นที่อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ของเครือข่าย AIS
และ True
แ ล ะ ข้ อ มู ล ข อ ง ส ถ า น ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
โดยหมายความถึงร้านค้าที่ให้บริการWi-Fi , ร้านเกมออนไลน์ ,
ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ , ร้านอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา (พิมพ์งาน)
เป็ นต้น ซึ่งทั้งห มด นี้ ค ณะผู้ทาโค รงงานได้ดาเนินเก็บข้อ มู ล
ในเขตอาเภอขุนหาญ ในพื้นที่ 12 ตาบล จานวน 42 ร้าน
1. ร้านให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทเกมออนไลน์ การสืบค้นข้อมูล
และการพิมพ์งาน
ชื่อร้าน/ประเภทร้าน ที่อยู่ จานวนเครื่อง ลักษณะพิเศ
1. ร้านวันทูคอลช้อป บ.ศรีขุนหาญ
ต.สิ
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
20 - ใกล้โรงเรียนขุนหาญวิทย
- ใกล้โรงเรียนบ้านสิริขุนห
- ร้านปิ ดมิดชิด
- เล่นเกม เล่นอินเทอร์เน็ต
2. ร้านสกายเน็ต บ.ศรีขุนหาญ 22 -
อยู่ในชุมชนบริเวณตลาดส
23
ต.สิ
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
- ส่วนใหญ่เล่นเกมออนไล
3. ร้านหมอมือถือ บ.สิ
ต.สิ
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
25 - ด้านในร้านค่อนข้างคับแ
- อยู่ใกล้โรงเรียนอนุบาลข
- ส่วนใหญ่เป็ นเด็กประถม
4. ร้านบั๊ดดี้เน็ต บ.ใหม่พัฒนา
ต.สิ อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
17 - ใกล้วิทยาลัยการอาชีพขุน
- มีร้านขายขนมและเครื่อง
- มีมาเล่นเกมและสืบค้นข
5. ร้านก้าวหน้าเน็ต 2 บ.ศาลา
ต.สิ อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
50 -อยู่ใกล้ชุมชน
- ด้านในร้านค่อนข้างคับแ
- ส่วนใหญ่เล่นเกม
ชื่อร้าน/ประเภทร้าน ที่อยู่ จานวนเครื่อง ลักษณะพิเศ
6. ร้านลานทองคอมพิวเตอร์ บ.หนองแล้ง
ต.สิ อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
17 - ร้านอยู่ด้านในค่อนข้างล
7. ร้าน MAXCOM บ.อาราง
ต.พราน
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
24 - ใกล้โรงเรียนบ้านอาราง
- มีการจากัดเวลาในแต่ละ
- มีมาเล่นเกมและสืบค้นข
8. ร้านนานาอินเทอร์เน็ต บ.พรานเหนือ
ต.พราน
10 - ใกล้บริเวณทางเข้าโรงเรีย
- อยู่ใกล้ชุมชน
24
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
- มีมาเล่นเกม เล่นอินเทอร
24.
ร้านคนมังกรก็อปปี้ เซนเตอร์
บ.สิ
ต.สิ
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
5 - ให้บริการอินเทอร์เน็ตใน
- ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม
เข้าเล่ม
และจาหน่ายอุปกรณ์การเร
25. ร้านอิสราภรณ์ปริ้นติ๊ง บ.ศรีขุนหาญ
ต.สิ
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
5 - ให้บริการอินเทอร์เน็ตใน
- ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม
เข้าเล่ม
จาหน่ายอุปกรณ์การเรียน
26.
ร้านเพิ่มทรัพย์คอมพิวเตอร์
บ.ศาลา
ต.สิ
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
5 - ให้บริการอินเทอร์เน็ตใน
- เป็ นอินเทอร์เน็ตเพื่อการ
ชื่อร้าน/ประเภทร้าน ที่อยู่ จานวนเครื่อง ลักษณะพิเศ
27. ร้าน NN ปริ้น บ.กันทรอมตะวันออก
ต.กันทรอม
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
5 - ใกล้โรงเรียนบ้านกันทรอ
- ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม
เข้าเล่ม
- เป็ นอินเทอร์เน็ตเพื่อการ
28. ร้านดาแอนด์ดิวมาร์ท บ.เขวา
ต.โพธิ์วงศ์
อ.ขุนหาญ
จ.ศรีสะเกษ
3 ให้บริการอินเทอร์เน็ตในก
- ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม
เข้าเล่ม
- จาหน่ายอุปกรณ์การเรียน
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าNamGang World-Weary
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2kessara61977
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อRujroad Kaewurai
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อRujroad Kaewurai
 
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศNatthida Suwannarat
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Arrat Krupeach
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5พัน พัน
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจkessara61977
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest6bc2ef1
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014Thanawat Boontan
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest92cc62
 

Was ist angesagt? (20)

สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
2
22
2
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
 
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
Grown Up Digital
Grown Up DigitalGrown Up Digital
Grown Up Digital
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
IS2
IS2IS2
IS2
 
Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 

Ähnlich wie อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าNoTe Tumrong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยีปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยีN'Name Phuthiphong
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
 
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงเรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงpalmmy545
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัยMeaw Sukee
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTKunnanatya Pare
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 

Ähnlich wie อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น (20)

Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยีปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมItผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
 
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงเรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Rule1
Rule1Rule1
Rule1
 
Rule
RuleRule
Rule
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Ex test
Ex testEx test
Ex test
 

อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น

  • 1. 1 บทที่ 1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ในยุ ค โลกาภิวัต น์ สังค มมีการเปลี่ย นแปลงอย่างรวด เร็ว โดยเฉพาะการพัฒนาในทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้ามามีบทบาทต่ อ ป ร ะ ช า ช น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ที่กลายเป็ นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันของมนุษย์ในสังคมออนไลน์ ผู้ค นล้วนนาอินเทอร์เน็ ต เข้ามาช่วย ในการทางานห ลาย ด้าน ไม่ว่าจะเป็ นด้านการศึกษา การทาธุรกิจ การหาความรู้ การสนทนา รวมถึงกิจกรรมเพื่อความบันเทิงต่างๆ อินเทอร์เน็ตเป็ นสื่อที่มีความแตกต่างไปจากสื่อชนิดอื่นๆ คือ ความสามารถในการตอบโต้ (interact) กับผู้ที่ติดต่อสื่อสารได้โดยทันที ( Real Time) ร ว ม ทั้ ง ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง ซึ่ ง ท า ใ ห้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต มี ค ว า ม เ ป็ น โ ล ก เ ส มื อ น ที่ มี ตัว ต น ท า ใ ห้ เ กิ ด สั ง ค ม ข อ ง โ ล ก ใ ห ม่ ที่ทาให้รู้สึกว่าโลกของความเป็ นจริงกับโลกเสมือนคือโลกเดีย วกัน จากการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 ผ ลการสา รวจประช ากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปประมา ณ 62.8 ล้านคน พบว่ามีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 20.2 ล้านคน (ร้อยละ 32.2) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 29.8 ล้านคน (ร้อยละ47.5) และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ 51.1 ล้านคน (ร้อยละ 81.4) เมื่อพิจารณาแนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ต ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ระหว่างปี 2555-2559 พบว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 26.5 (จานวน 16.6ล้านคน) เป็นร้อยละ 47.5 (จานวน 29.8 ล้านคน) เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตตามกลุ่มอายุต่าง ๆ พบว่า กลุ่มอายุ15-24 ปี มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด ร้อยละ 85.9 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 25-34 ปี ร้อยละ 73.6 กลุ่มอายุ 6-14 ปี ร้อยละ 61.4 กลุ่มอายุ 35-49 ปี ร้อยละ 44.9 แ ล ะ ใ น ก ลุ่ ม อ า ยุ 50 ปี ขึ้ น ไ ป มี เ พี ย ง ร้ อ ย ล ะ 13.8 ( ส า นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ช า ติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.2559: ออนไลน์) จ า ก ข้ อ มู ล ที่ ป ร า ก ฏ พ บ ว่ า ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ผู้ใ ช้ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต เ พิ่ ม ม า ก ขึ้น เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ชี้ให้เห็นว่าผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่เป็ นวัยรุ่นที่มีอายุต่ากว่า 20 ปี และสะท้อนให้เห็นว่าวัยรุ่นเหล่านี้ได้ใช้เวลาของตนเองเข้าไปในโลกอินเท อ ร์ เ น็ ต เ ป็ น จ า น ว น ม า ก
  • 2. 2 ผลกระทบที่ตามมาหากขาดการควบคุมดูแลจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง แ ล ะ บุ ค ค ล ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ก็อาจจะเกิดผลเสียกับเด็กและเยาวชนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์จากการใช้อินเทอ ร์เน็ต ไม่ว่า จะเป็ นผลกระทบกับการศึกษาหรือส่งผลกระทบต่อสังคม ค ร อ บ ค รั ว ยิ่งในปัจจุบันการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตไม่ได้ถูกจากัดแค่เพียงเครื่องคอมพิวเ ต อ ร์ ตั้ ง โ ต๊ ะ กั บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ผ่ า น ส า ย เ ท่ า นั้ น แ ต่ ไ ด้ มี ก า ร พั ฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆทาให้อุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจาวันสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไ ด้ เช่น คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และ สมาร์ททีวี ประกอบกับการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบ ไ ร้ ส า ย ข อ ง ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ต่ า ง ๆ ส่งผ ลให้การเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ ตเป็ นเรื่องที่ง่ายและสะดวก เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ เ ข้ า อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ไ ด้ ทุ ก ที่ ทุ ก เ ว ล า จึ ง น า ม า สู่ ปั ญ ห า ก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ม า ก เ กิ น ไ ป หรือการเสพติดอินเทอร์เน็ต ที่จะส่งผลกระทบต่อปัญหาในหลายด้าน ได้แก่ ปัญหาด้านการเรียน ปัญหาด้านความสัมพันธ์ ปัญหาด้านการเงิน และปัญหาด้านร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ปัญหาด้านการเรียนจะได้รับผลกระทบมากที่สุด (Young . 1998) รัศ มี สาโรจน์ (2547) กล่าวว่า การเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต คือการใช้อินเทอร์เน็ตในปริมาณที่เกินขนาดจนไม่สามารถค วบคุม เวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตได้ และอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อเวลา สาหรับกิจกรรมจาเป็ นอื่นๆ ในชีวิตไม่ว่าจะเป็ นการเรียน การงาน และชีวิตครอบครัว นอกจากนั้น Young (1996) นักจิตวิทยาจากคณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพิทส์เบิร์ก ได้ศึกษาลักษณะของ การ เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต และพบว่าการเสพติดอินเทอร์เน็ตมีลักษณะพื้นฐานเหมือนกับการติดการ พ นั น การเสพติดอินเทอร์เน็ตเป็นพฤติกรรมที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีการจัดระเบียบ ค ว า ม คิด แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม ค ว า ม ต้อ ง ก า ร ต น เ อ ง ผิด พ ล า ด จนทาให้ไม่สามารถควบคุมตนเองให้ใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสมจน อินเทอร์เน็ตเข้าไปแทรกแซงกิจกรรมอื่นๆ ในชีวิตประจาวันมากเกินไป ซึ่งจะพ บมากใน กลุ่ม วัย รุ่นที่กาลังอยู่ในวัย อย ากรู้อย ากเห็น การเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต จะมีอาการค ล้าย กับค นติด ย าเสพติด คื อ มี ก า ร อ ย า ก ย า มี ค ว า ม โ ห ย ห า ต้ อ ง ก า ร บ่ อ ย ๆ
  • 3. 3 เ มื่ อ ว่ า ง จ ะ ต้ อ ง ห า โ อ ก า ส เ ข้ า ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ถึง แ ม้บ า ง ค รั้ง จ ะ ไ ม่มี จุ ด มุ่ง ห ม า ย ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น ที่ ชัด เ จ น โดยรูปแบบการเสพติดอินเทอร์เน็ตนั้นอาจมีหลายรูปแบบ เช่น การติดเว็บโป๊ การติด เกมออนไลน์ การติดการพนันออนไลน์ การติดเครือข่ายสังคมออนไลน์ และการติดเว็บซื้อขายสินค้าออนไลน์ เป็นต้น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต จึ ง เ ป รี ย บ เ ห มื อ น กั บ ด า บ ส อ ง ค ม หากใช้ในทางที่ถูกต้องเหมาะสมก็จะได้รับประโยชน์จากการใช้อินเทอร์เน็ ตอย่างมากมาย แต่หากใช้ในทางที่ไม่ถูกไม่ควร อาจเกิดปัญหาและ พิษภัยอย่างมหันต์โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ วัยรุ่นที่ยังมีวุฒิภาวะไม่มากพอ ไ ม่ มี ภูมิคุ้มกันที่จะควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตจนทาให้เกิดเป็นพฤติกรรมเสพติ ดอินเทอร์เน็ต ดังนั้นปัญหาการเสพติดอินเทอร์เน็ต ของ วัย รุ่น ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ เ ป็ น ปั ญ ห า ส า คั ญ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ท่ า นั้ น ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ก็ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า เ ช่ น เ ดี ย ว กั น ใ น ข ณ ะ ที่ ผู้ ป ก ค ร อ ง ยั ง ไ ม่ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ อี ก ทั้ ง เ ด็ ก ยั ง ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง สื่ อ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ไ ด้ ง่ า ย ไ ม่ ว่ า จ ะ อ ยู่ ใ น รู ป ข อ ง เ ก ม อ อ น ไ ล น์ เ ว็ บ ไ ซ ต์ ต่ า ง ๆ สื่ อ เ ค รื อ ข่ า ย สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ ที่ มี อ ยู่ ม า ก ม า ย ทาให้วัยรุ่นสามารถใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้ทั้งที่บ้าน ห้างสรรพสินค้า ห รื อ ร้ า น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ทาให้มีจานวนวัยรุ่นมีพฤติกรรมเสพติดอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ จึงเป็ นอีกอาเภอหนึ่งที่ประสบปัญหาการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น จากการข ย าย ตัว ข อ งเ มื อ งแ ล ะ เศ ร ษ ฐ กิจ ใ น ร ะย ะ เว ล า 10 ปี ที่ผ่านจากการเจริญเติบโต ทางด้านเศ รษฐกิจอย่างรวด เร็ว ซึ่ ง เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก ร า ค า พื ช ผ ล ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ มี ร า ค า ดี แ ล ะ ใ น เ ข ต อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ เป็นพื้นที่ที่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้ทั้งอินเทอร์เน็ตบ้าน( 3BB, TOT,CAT) และในระบบสัญญาณ 3G/4G ( AIS,dtac,true) นอกจากนี้ยังมีสถานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตร้านเกมและร้านค้าที่ให้บริกา รฟรี Wi-Fi เป็นจานวนมาก จึงมีวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสพติดอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิด ปัญห าทางด้านค รอบค รัว ปัญห าในด้านการเรี ย น แ ล ะ ปั ญ ห า สั ง ค ม คณะผู้จัดทาโครงงานจึงเห็นความจาเป็ นในการแก้ปัญหาการเสพติดอินเท
  • 4. 4 อ ร์ เ น็ ต ใ น อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ โดยการศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ตของวัย รุ่ น ทั้ ง ใ น ด้ า น ปั จ จัย ส่ ว น บุ ค ค ล ปั จ จัย ด้ า น ค ร อ บ ค รั ว ปั จ จั ย ด้ า น สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ศึ ก ษ า ถึ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต และผลกระทบจากเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น อาเภอขุนหาญ จั ง ห วั ด ศ รี ส ะ เ ก ษ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในหาวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัยรุ่นเสพติดอิ นเทอร์เน็ ต ซึ่งการจะแก้ไข ปัญห า วัย รุ่นเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลนั้น จึงเป็ นหน้าที่ของทุกภาคส่วน ทั้ ง ส ถ า บั น ค ร อ บ ค รั ว ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ชุ ม ช น ร ว ม ทั้ ง ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ควรจะหันมาให้ความร่วมมือช่วยกันดาเนินงานที่รับผิดชอบอย่างเหมาะส ม และช่วย กันสอด ส่องดูแล พ ฤติก รร มข องเด็ กแ ล ะเย า ว ช น ซึ่งจะเป็นอนาคตของประเทศต่อไป 2. วัตถุประสงค์การศึกษา 2.1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 2.2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 2.3. เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดจากพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 3. ขอบเขตการศึกษา คณะผู้จัดทาโครงงานเรื่องอินเทอร์เน็ต : เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น ได้กาหนดขอบเขตการศึกษา ดังต่อไปนี้ 3.1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 16 – 18 ปี ในเขตอาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 3.2 ระยะเวลาในการศึกษาระหว่างเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2559 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
  • 5. 5 3.3 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาโครงงานเรื่องอินเทอร์เน็ต : เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น ครั้งนี้ ประกอบด้วย 3.3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ - ปัจจัย ด้านส่วนบุค ค ล เช่น เพ ศ อายุ การศึกษา ผ ล ก า ร เ รี ย น เ ฉ ลี่ ย ร า ย ไ ด้ ก า ร ใ ช้ เ ว ล า ว่ า ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ข้า ถึง เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต ความภูมิใจในตนเอง - ปัจจัยด้านครอบครัว เช่น สถานภาพทางครอบครัว อ า ชี พ แ ล ะ ร า ย ไ ด้ ข อ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ข อ ง ผู้ ป ค ร อ ง การค วบคุมการเล่น อินเทอร์เน็ ต ข องค รอบค รัว การลงโทษ การอบรมสั่งสอนและตักเตือน การมีกิจกรรมร่วมกันของครอบครัว - ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น เพื่อน โรงเรียน สถานให้บริการอินเทอร์เน็ต 3.3.2 ตั ว แ ป ร ต า ม ไ ด้ แ ก่ พ ฤ ติก ร ร ม ก า ร เ ล่น อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต ข อ ง วัย รุ่น ป ร ะ ก อ บ ด้วย ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ค รั้ ง แ ร ก ก า ร ใ ช้ เ ว ล า แ ล ะ ช่ ว ง เ ว ล า ใ น ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต อุปกรณ์และสถานที่เล่นอินเทอร์เน็ต จุดประสงค์ของการเล่นอินเทอร์เน็ต รูปแบบของกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต ค่าใช้จ่ายในการเล่นอินเทอร์เน็ต ผลกระทบจากการเล่นอินเทอร์เน็ต เป็นต้น 4. นิยามศัพท์ 4.1 ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ห ม า ย ถึ ง ภาวะผิดปกติที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ตในการเสพข้อมูล ข่าวสาร ห รื อ ท า กิ จ ก ร ร ม ใ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ม า ก เ กิ น ไ ป มีลักษณะคล้ายการเสพติดการพนันไม่สามารถควบคุมจิต ใจได้ คิ ด ถึ ง แ ต่ ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ น ค รั้ ง ต่ อ ๆ ไ ป รู้ สึ ก กั ง ว ล ใ จ เ มื่ อ ต้ อ ง ปิ ด เ ค รื่ อ ง แ ล ะ มั ก พู ด โ ก ห ก เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต โดยแบบทดสอบวัดพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต ( Internet Addiction Test - IAT) ข อง Kimberly S Young จาก นักจิต วิทย าจาก ค ณ ะ แพ ทย ศ าสต ร์ มห าวิทย าลัย พิทส์ เ บิ ร์ ก ซึ่งกาหนดรูปแบบและลักษณะข องการติด อินเทอร์เน็ ต เป็ น 5 รูปแบบดังนี้
  • 6. 6 4.1.1 Cyber Sexual Addiction การติดเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเพศ เช่นการดูเว็บโป๊ 4.1.2 Cyber-Relationship Addiction การคบเพื่อนจากห้องแชทรูม , เว็บบอร์ด นามาทดแทนเพื่อนหรือครอบครัวในชีวิตจริง 4.1.3 Net Compulsion การติดการพนัน,การประมูลสินค้า,การซื้อ - ขายทางอินเทอร์เน็ต 4.1.4 Information Overload การติดการรับข้อมูลข่าวสาร จนไม่สามารถยั้บยั้งได้ 4.1.5 Computer Addition การใช้คอมพิวเตอร์ ในลักษณะที่ไม่สามารถยับยั้งใจได้ เช่น การเล่นเกมออนไลน์ 4.2 อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต (Internet) ห ม า ย ถึ ง นั้ น ย่ อ ม า จ า ก ค า ว่ า “International network” ห รื อ “Inter Connection network” ซึ่งหมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เกิดการสื่อ สาร และการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกัน โดยอาศัยตัวเชื่อมเครือข่ายภายใต้ มาตรฐานการเชื่อมโยงเดียวกัน ทาให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจา ก ที่ ห นึ่ ง ไ ป ยั ง อี ก ที่ ห นึ่ ง ไ ด้ โดยไม่จากัดระยะทาง ส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ ทั้งข้อความตัวหนังสือ ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง ซึ่งปรากฎในรูปแบบของการค้นค ว้าหาข้อมูลผ่านเว็บไชต์ต่างๆ การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ การเล่นเกมออนไลน์ การรับส่ง E-mail ก า ร รั บ ช ม ภ า พ ย น ต ร์ ฟั ง เ พ ล ง เ ป็ น ต้ น โด ย อาศัย เค รือข่าย โทร ค ม นาค ม เป็ นตัวเชื่ อ มต่อ เค รือ ข่า ย ทาให้ค นในโลกทุกช าติทุกภาษาสามารถติด ต่อสื่อสารกันได้ โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง เ ดิ น ท า ง ไ ป โลกทั้งโลกเปรียบเสมือนเป็นบ้านหนึ่งที่ทุกคนในบ้านสามารถพูดคุยกันได้ ต ล อ ด 2 4 ชั่ ว โ ม ง ป ร ะ ห ยั ด เ ว ล า ค่ า ใ ช้ จ่ า ย แต่เกิดประโยชน์ต่อสังคมโลกปัจจุบันมาก 4.3 ระดับการติดอินเทอร์เน็ต คือ จากการใช้แบบทดสอบวัดพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต (Internet Addiction Test - IAT) ข อง Kimberly S Young จาก นักจิต วิทย าจากค ณะ แพ ทย ศ าสต ร์ มห าวิทย าลัย พิทส์เบิร์ ก ได้การทดสอบแบ่งระดับการเสพติดอินเทอร์เน็ต ได้ 4 ระดับ ดังนี้
  • 7. 7 ระดับที่ 1 ไม่เสพติดอินเทอร์เน็ต หมายถึง ไม่เสพติดอินเทอร์เน็ต เนื่องจากไม่ใช้อินเทอร์เน็ตหรือใช้อินเทอร์เน็ตในปริมาณน้อยมาก ร ะ ดั บ ที่ 2 เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต น้ อ ย ห ม า ย ถึ ง ผู้ ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ น ร ะ ดั บ ป ก ติ ทั่ ว ไ ป อ า จ จ ะ มี ใ ช้ ม า ก เ กิ น ไ ป ห รื อ น า น เ กิ น ไ ป ใ น บ า ง ค รั้ ง แต่สามารถควบคุมตนเอง ควบคุมการใช้ได้ ร ะ ดั บ ที่ 3 เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ม า ก ห ม า ย ถึ ง ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้อินเทอร์เน็ตในระดับมากทั้งปริมาณการใช้และเวลาใน การใช้จนประสบกับปัญหา หรือมีผลกระทบต่อการ ดาเนิ นชี วิต ควรมีความระมัดระวังควบคุมการใช้ ร ะ ดับ ที่ 4 เ ส พ ติด อิน เทอร์ เน็ ต มาก เกินไ ป ห มาย ถึง ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้อินเทอร์เน็ตมากเกินไปทั้งปริมาณการใช้และเวลาในก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ซึ่งพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในระดับนี้จะก่อให้เกิดปัญหาและผลกระ ท บ ที่ รุ น แ ร ง ต่อการดาเนินชีวิตควรได้รับการดูแลและรักษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เ น็ต 4.4 วัยรุ่น หมายถึง เยาวชนที่มีอายุระหว่าง 16 – 18 ปี ในอาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 4.5 โ ซ เ ชี ย ล เ น็ ต เ วิ ร์ ค ( Social Network) ห ม า ย ถึ ง เ ค รื อ ข่ า ย สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ หรือเป็นการบริการที่เชื่อมโยงคนหลายคนเข้าไว้ด้วยกันผ่านอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างของ Social Network ได้แก่ Facebook Twitter Instagram Line Hi5 Blogger เ ป็ น ต้ น ซึ่งเปรียบเหมือนสังคมจาลองเสมือนจริงนั่นเอง และในปัจจุบันนอกจาก Social Network จ ะ เ ป็ น สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ แ ล้ ว ยังเป็นเครื่องมือทางการตลาดซึ่งเป็นที่นิยมอีกด้วย 4.6 พฤติกรรมการเล่นอินเทอร์เน็ต หมายถึง การใช้อินเทอร์เน็ต โ ด ย ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ค รั้ ง แ ร ก ก า ร ใ ช้ เ ว ล า แ ล ะ ช่ ว ง เ ว ล า ใ น ก า ร เ ล่ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต อุปกรณ์และสถานที่เล่นอินเทอร์เน็ต จุดประสงค์ของการเล่นอินเทอร์เน็ต รูปแบบของกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต ค่าใช้จ่ายในการเล่นอินเทอร์เน็ต ผลกระทบจากการเล่นอินเทอร์เน็ต เป็นต้น 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
  • 8. 8 5.1 เ ป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น ส า ห รับ ผู้ที่ มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้อ ง ไ ด้ ก า ห น ด น โ ย บ า ย มาต รการยุ ทธ ศ าสต ร์ร่วม เพื่ อ ก าร ป้ อ งกันแ ล ะแ ก้ไข ปัญ ห า พฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น ในเขตอาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 5.2 เ พื่ อ ที่ พ่ อ แ ม่ ผู้ป ก ค ร อ ง วัย รุ่น แ ล ะ ค รู อ า จ า ร ย์ มีความรู้ความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงของเด็กและเยาวชนเกี่ยวกับพฤติ กรรมการเสพ ติด อินเทอร์เน็ ต เป็ นผ ลมาจากปัจจัย ในข้อ ใ ด แ ล ะ ห า ท า ง ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น ใ ห้ กั บ วั ย รุ่ น เพื่อใช้ในการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต 5.3 เพื่อนาข้อมูลที่ได้จากศึกษามาจัดกิจกรรมเพื่อป้ องกันและแก้ไข ก า ร เ ลื อ ก รับ สื่ อ ส ร้า ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ ป็ น ภู มิ คุ้ ม กัน ในการเล่นอินเทอร์เน็ตของเด็กและเยาวชน อาเภอขุนหาญ จังหวัด ศรีสะเกษ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฏี และงานที่เกี่ยวข้อง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ศึ ก ษ า โ ค ร ง ง า น นี้ เป็ นการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต
  • 9. 9 ศึ ก ษ า พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต และผลกระทบจากการเสพติดอินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น ในเขตอาเภอขุนหาญ จังห วัด ศ รีสะเ กษ ค ณะผู้จัด ทาโค ร งงา นไ ด้ท บ ทว นแ น ว คิด ทฤษฏีและงานที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ 1. ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 2. การเสพติดอินเทอร์เน็ต 3. ข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตของประเทศไทย ประจาปี 2559 4. ข้อมูลสถานให้บริการอินเทอร์เน็ ตในเขต อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 1. ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 1.1 ความหมายของอินเทอร์เน็ต อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ( Internet) คื อ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่ว โลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็ นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็ นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้ โ ป ร โ ต ค อ ล อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต จ า ก ทั่ ว โ ล ก ม า ก ที่ สุ ด อินเทอร์เน็ตจึงมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการทางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN เป็ นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็ นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ เ ค รื่ อ ง แ บ บ ไ ม่ ถ า ว ร ขึ้ น อ ยู่ กั บ เ ว ล า นั้ น ๆ ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึงทาให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ 1.2 ความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต มีพัฒนาการมาจาก อาร์พาเน็ต (Arp Anet เรียกสั้น ๆ ว่ า อ า ร์ พ า ) ที่ ตั้ ง ขึ้ น ใ น ปี 2512 เป็ นเครือข่ายคอมพิวเคอร์ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ใช้ในงานวิจัยด้านทหาร (ARP : Advanced Research Project Agency)ม า ถึ ง ปี 2515 ห ลังจากที่เค รือข่ายทด ลองอาร์พาประสบค วามสาเร็จอย่างสูง
  • 10. 10 และได้มีการปรับปรุงหน่วยงานจากอาร์พามาเป็ นดาร์พา (Defense Advanced Research Project Agency: DARPA) และในที่สุด ปี 2518 อาร์พาเน็ตก็ขึ้นตรงกับหน่วยการสื่อสารของกองทัพ (Defense Communication Agency)ในปี 2526 อาร์พาเน็ตก็ได้แบ่งเป็ น 2 เ ค รื อ ข่ า ย ด้ า น ง า น วิ จัย ใ ช้ ชื่ อ อ า ร์ พ า เ น็ ต เ ห มื อ น เ ดิ ม ส่วนเครือข่ายของกองทัพใช้ชื่อว่า มิลเน็ต (MILNET : Millitary Network) ซึ่ ง มี ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ โ ด ย ใ ช้ โ พ ร โ ต ค อ ล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet) เป็นครั้งแรกในปี 2528 มู ล นิ ธิ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ช า ติ ข อ ง อ เ ม ริ ก า ( NSF) ไ ด้ ให้เงินทุนในการสร้างศูนย์ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชื่อว่า NSFNETและพอมาถึงปี 2533 อาร์พารองรับภาระที่เป็นกระดูกสันหลัง (Backbone) ของระบบไม่ได้ จึงได้ยุติอาร์พาเน็ต และเปลี่ยนไปใช้ NSFNET แ ล ะ เ ค รื อ ข่ า ย ข น า ด ม หึ ม า จ น ถึ ง ทุ ก วั น นี้ แ ล ะ เ รี ย ก เ ค รื อ ข่ า ย นี้ ว่ า อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต โ ด ย เ ค รื อ ข่ า ย ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ อ ยู่ ใ น อ เ ม ริ ก า และปัจจุบันนี้มีเครือข่ายย่อยมากถึง 50,000 เครือข่ายทีเดียว และคาดว่า ภายในปี 2543 จะมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งโลกประมาณ 100 ล้านคน หรือใกล้เคียงกับประชากรในโลกทั้งหมดสาหรับประเทศไทยนั้น อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ริ่ม มี บ ท บ า ท อ ย่ า ง ม า ก ใ น ช่ ว ง ปี 2530-2535 โดยเริ่มจากการเป็ นเครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์ระดับมหาวิทยาลัย ( Campus Network) แล้วจึงเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตอย่างสมบูรณ์เมื่อเดือนสิงหาคม 2535และ ในปี 2538 ก็มี การเปิดให้ บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ ( ร า ย แ ร ก คื อ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ค เ อ ส ซี ) ซึ่ ง ข ณ ะ นั้ น เวิร์ลด์ไวด์เว็บกาลังได้รับความนิยมอย่างมากในอเมริกาอย่างไรก็ตาม อินเทอร์เน็ต บางครั้งก็มีการเรียกย่อเป็ น เน็ต (Net) หรือ The Net ด้วยเช่นเดียวกัน อีกคาหนึ่งที่หมายถึงอินเทอร์เน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ เ วิ ร์ ล ด์ ไ ว ด์ เ ว็ บ ( World – Wide Web) ( เ ว็ บ เ ป็ น เ พี ย ง บ ริ ก า ร ห นึ่ ง ข อ ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ท่ า นั้ น แต่บริการนี้ถือว่าเป็นบริการที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุด ) 1.3 การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ต การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันทาได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรือแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ด, การติดตามข่าวสา ร , การสืบค้นข้อมูล/การค้นหาข้อมูล, การชมหรือซื้อสินค้าออนไลน์ ,
  • 11. 11 การดาวน์โหลด เกม เพลง ไฟล์ข้อมูล ฯลฯ, การติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์, การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ , การเรียนรู้ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต ( Video Conference), โ ท ร ศัพ ท์ ผ่า น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ( VoIP), ก า ร อั บ โ ห ล ด ข้ อ มู ล ห รื อ อื่นๆแนวโน้มล่าสุดของการใช้อินเทอร์เน็ตคือการใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นแหล่ ง พ บ ป ะ สั ง ส ร ร ค์ เ พื่ อ ส ร้ า ง ซึ่งพบว่าปัจจุบันเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวกาลังได้รับความนิ ย ม เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบันสนับสนุนให้การเข้าถึงเครือข่ายผ่านโทรศัพท์ มือถือ อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น 1.4 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ ต เปรีย บเสมือนชุ มช นเมืองแห่งให ม่ของโลก เป็นชุมชนของคนทั่วมุมโลก จึงมีบริการต่างๆ เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา 1.4.1 ไปรษณี ย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail,E-mail) ไ ป ร ษ ณี ย์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ห รื อ E-mail เป็นการส่งจดหมายผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยผู้ส่งสามารถส่งข้อความ ไปยังที่อยู่ของผู้รับ ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมาย แล้วส่งไปยังผู้รับ ผู้รับจะได้รับจดห มายภาย ในเวลาไม่กี่วินาที แ ม้ จ ะ อ ยู่ ห่ า ง กั น ค น ล ะ ซี ก โ ล ก ก็ ต า ม นอกจากนี้ยังสามารถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย 1.4.2. การขอเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) เป็นบริการอินเทอร์เน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิ ว เ ต อ ร์ อี ก เ ค รื่ อ ง ห นึ่ ง ที่ อ ยู่ ไ ก ล ๆ ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง เ ช่ น ถ้าเราอยู่ที่โรงเรียนทางานโดยใช้อินเทอร์เน็ตของโรงเรียนแล้วกลับไปที่บ้ า น เรามีคอมพิวเตอร์ที่บ้านและต่ออินเทอร์เน็ตไว้เราสามารถเรียกข้อมูลจาก ที่โรงเรียนมาทาที่บ้านได้ เสมือนกับเราทางานที่โรงเรียนนั่นเอง 1.4.3. ก า รโอนถ่าย ข้อมูล ( File Transfer Protocol ห รือ FTP) เ ป็ น บ ริก า ร อี ก รู ป แ บ บ ห นึ่ ง ข อ ง ร ะ บ บ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต เราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ในเครื่องของเร าได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภาพและเสียง 1.4.4. การสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) ห ม า ย ถึ ง การใช้เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่มากมายแล้วช่วยจั
  • 12. 12 ด เ รี ย ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร หั ว ข้ อ อ ย่ า ง มี ร ะ บ บ เ ป็ น เ ม นู ทาให้เราหาข็อมูลได้ง่ายหรือสะดวกมากขึ้น 1.4.5. การแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็นการให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการ อินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็น ของตนเอง โ ด ย มี ก า ร จั ด ก า ร ผู้ ใ ช้ เ ป็ น ก ลุ่ ม ข่ า ว ห รื อ นิ ว ก รุ๊ ป (Newgroup)แลกเปลี่ย นค วามคิด เห็นกันเป็ นหัวข้อต่างๆ เช่น เรื่องหนังสือ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์และการเมือง เป็นต้น 1.4.6. การสื่อสารด้วยข้อความ (Chat,IRC-Internet Relay chat) เ ป็ น ก า ร พู ด คุ ย กั น ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต โ ด ย พิ ม พ์ ข้ อ ค ว า ม ต อ บ กั น ซึ่ ง เ ป็ น วิ ธี ก า ร สื่ อ ส า ร ที่ ไ ดัรับ ค ว า ม นิ ย ม ม า ก อี ก วิธี ห นึ่ ง การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดีย วกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยู่คนละประเทศหรือคนละซีกโลกก็ตาม 1.4.7. ก า ร ซื้ อ ข าย สิน ค้าแล ะ บริกา ร( E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็ นการจับจ่ายซื้อ - สินค้าและบริการ เช่น ข า ย ห นั ง สื อ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ป็ น ต้ น ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตในการทาธุรกิจและให้บริการลูกค้าตลอด2 4ชั่วโมง 1.4.8. ก า ร ใ ห้ ค ว า ม บั น เ ทิ ง ( Entertain) ในอินเทอร์เน็ตมีบริการด้านความบันเทิงในทุกรูปแบบต่างๆ เช่น เกมส์ออนไลน์ เพ ลง ราย การโทรทัศ น์ ราย การวิทยุ เป็ นต้น เราสามารถเลือกใช้บริการเพื่อความบันเทิงได้ตลอด24ชั่วโมงและจากแห ล่งต่างๆทั่วทุกมุมโลก ทั้งประเทศไทย อเมริกา ยุโรปและออสเตรเลีย เป็นต้น 1.5 โทษของอินเทอร์เน็ต 1.5.1 ก า ร ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ( Internet Addiction) อินเทอร์เน็ตก็เป็ นสิ่งเสพติดหรือ การเล่นอินเทอร์เน็ต ทาให้คุณเสียงาน ผู้ใดเป็ นผู้ที่ติดการพนัน การติดการพนันประเภทที่ถอนตัวไม่ขึ้น มีลักษณะคล้ายคลึงกับ การติดอินเทอร์เน็ต เพราะทั้งสองอย่าง เกี่ยวข้องกับการล้มเหลว ในการควบคุมความต้องการของตนเอง โดยไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสารเคมีใดๆ (อย่างสุรา หรือยาเสพติด) 1 . 5. 2 เ รื่ อ ง อ น า จ า ร ผิ ด ศี ล ธ ร ร ม เรื่องของข้อมูลต่างๆที่มีเนื้อหาไปในทางขัดต่อศีลธรรม ลามกอนาจาร
  • 13. 13 ห รื อ ร ว ม ถึ ง ภ า พ โ ป๊ เ ป ลื อ ย ต่ า ง ๆ นั้ น เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ มี ม า น า น พ อ ส ม ค ว ร แ ล้ ว บ น โ ล ก อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต แต่ไม่โจ่งแจ้งเนื่ องจากสมัย ก่อนเป็ นยุ คที่ WWW ยังไม่พัฒนา ม า ก นั ก ท า ใ ห้ ไ ม่ มี ภ า พ อ อ ก ม า แต่ในปัจจุบันภาพเหล่านี้เป็ นที่โจ่งแจ้งบนอินเทอร์เน็ตและสิ่งเหล่านี้สามา ร ถ เ ข้ า สู่ เ ด็ ก และเยาวชนได้ง่ายโดยผู้ปกครองไม่สามารถที่จะให้ความดูแลได้เต็มที่ เพราะว่าอินเทอร์เน็ตนั้นเป็ นโลกที่ไร้พรมแดนและเปิดกว้างทาให้สื่อเหล่า นี้ ส า ม ร ถ เ ผ ย แ พ ร่ ไ ป ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว จ น เ ร า ไม่สามารถจับกุมหรือเอาผิดผู้ที่ทาสิ่งเหล่านี้ขึ้นมาได้ 1.5.3. ไวรัส ม้าโทรจัน หนอนอินเทอร์เน็ต และระเบิดเวลา ไ ว รั ส : เ ป็ น โ ป ร แ ก ร ม อิ ส ร ะ ซึ่งจะสืบพันธุ์โดยการจาลองตัวเองให้มากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อที่จะทาลายข้อมูล หรืออาจทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานช้าลงโดยการแอบใช้สอยหน่วยค วามจาหรือพื้นที่ว่างบนดิสก์โดยพลการ 2. การเสพติดอินเทอร์เน็ต (Internet Addition) 2.1 การเสพติด 2.1.1 ความหมายของการเสพติดนิยามการเสพติดนั้นได้มี ผู้ให้ความหมายอยู่หลายคน ดังนี้ การเสพติด (addition) หมายถึง การติดเป็ นนิสัย (ฝ่ายวิชาการ แพร่พิทยา และคณะแพทย์แห่งวิชรสาร, 2514 อ้างถึงใน ชัยรัตน์ บุตรพรหม, 2545) การเสพติด หมายถึง การเสพติดที่ใช้บ่อยๆ แล้วติด มักจะใช้กับสิ่งที่ติดแล้วทาให้เกิดโทษ เช่น ยาเสพติด สิ่งเสพติด และของเสพติด (ราชบัณฑิตยสถาน, 2525 อ้างถึงใน ชัยรัตน์ บุตรพรหม, 2545) ก า ร เ ส พ ติ ด ห ม า ย ถึ ง ลักษณะของความผิดปกติทางจิตที่เกี่ยวข้องกับการตกเป็นทาส ต่อ การเสพติด ย้าคิดย้าทาไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จะมีผลต่อร่างกาย สติปัญญา และ บุคลิกภาพของปัจเจกบุคคล พฤติกรรมที่เรียกว่าเสพติดนั้น บุค ค ลจะมีค วามห ม กมุ่น ถูกค รอบงาทั้งเรื่อง เวล า พ ลังงาน สู ญ เ สี ย ก า ร ค ว บ คุ ม จ า ก สิ่ ง ใ ด สิ่ ง ห นึ่ ง ก า ร เ ส พ ติด นั้ น เ ป็ น พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ใ ห้ค ว า ม รู้สึก ดี กับ ค นที่ถู ก ดึ ง ดู ด ใ ห้ มี รู ป แ บ บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ซ้ า ๆ
  • 14. 14 ทาให้คนขาดค วามรับผิดช อบในผลการกระทาจากพ ฤติก ร รม ของเขาและให้ค วามพึงพอใจกับชี วิตข องบุค คลนั้น (ธนิกานต์ มาฆะคิรานนท์, 2545) รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร เ ส พ ติ ด ไม่ว่าจะเป็นการเสพติดประเภทใดจะมีลักษณะคล้ายกัน คือ มี ความต้องกา รใ นปริมา ณที่มา กขึ้น ไม่สามารถลด ห รือห ยุ ด ได้ มี อ า ก า ร ก ร ะ ว น ก ร ะ ว า ย เ มื่ อ ไ ม่ ไ ด้ เ ส พ และการเสพจะทาให้เกิดผ ลกระทบต่อห น้าที่การงาน การเรีย น ครอบครัวและสังคมเป็นต้น (ชัยรัตน์ บุตรพรหม, 2545) โ ด ย ทั่ ว ไ ป แ ล้ ว addiction มีความหมายที่ถูกใช้เกี่ยวกับการติดสารเสพติดหรือยาเสพติด เท่านั้น แต่การติดในรูปแบบอื่น เช่น การติดโทรทัศน์ การติดเกมคอมพิวเตอร์ ก า ร ติ ด ก า ร พ นั น ฯ ล ฯ อาจอธิบายได้จากลักษณะอาการบางอย่างที่มีความคล้ายคลึงกัน คือ เมื่อติด แล้วจ ะเ กิด ค วามต้องการทั่ งท าง ร่าง ก าย แ ล ะ จิต ใ จ โ ด ย ไ ม่ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ห ยุ ด ห รื อ ค ว บ คุ ม ต น เ อ ง ไ ด้ แ ล ะ จ ะ เ พิ่ ม ค ว า ม ถี่ แ ล ะ ป ริ ม า ณ ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ จ น ก ร ะ ทั่ ง ส่ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อ ร่า ง ก า ย แ ล ะ จิต ใ จ แ ล ะ ท า ใ ห้ มี ความรู้สึกว่าไม่สามารถข าด สิ่งเห ล่านี้ ได้ มีอาการย้าคิด ย้า ทา จนกระทั่งติดเป็นนิสัย (ชัยรัตน์ บุตรพรหม, 2545) 2.2 การเสพติดอินเทอร์เน็ต 2.2.1 ความหมายของการเสพติดอินเทอร์เน็ต ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เป็ นปรากฏการณ์ ทางสังค มที่กาลังเกิดขึ้นจริงใ นสังคมต ะ วันต ก ดังจะเห็นได้ว่าจานวนของผู้ที่มีอาการติดอินเทอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นทุกปี เ นื่ อ ง จ า ก อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต แ ล ะ คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจาวันของมนุษย์ กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ น แ ต่ ละวันต้องมีการนาเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่ออานวยความสะดวกในด้าน ต่าง ๆ มากขึ้น อินเทอร์เน็ตจึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งในการติดต่อสื่อสาร แห ล่งค้นห าข้อมูลข่าวสาร เพื่ อค วาม บันเทิง ดังนั้นในทุกๆ องค์กรหรือสถาบันต่างๆ จึงจาเป็นต้องมีอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้กันมากขึ้น แ ล ะ ใ ช้ กั น อ ย่ า ง แ พ ร่ ห ล า ย ส่วนใหญ่ในสังคมไทยพบว่าเยาวชนหรือกลุ่มวัยรุ่นที่ถือได้ว่าเป็ น
  • 15. 15 ทรัพยากรที่สาคัญของประเทศกาลังหมกมุ่นอยู่กับการเล่นอินเทอร์เน็ตมา กกว่าจะนา อินเทอร์เน็ตมาใช้ให้เกิดประโยชน์ (ชัยรัตน์ บุตรพรหม, 2545) วิธีการวินิจฉัยผู้ที่มีอาการเสพติด ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ที่นิยมใช้ทั่วไป โด ย ผู้เสพ ติด จะมีพ ฤติกรรม Young (2 0 0 0 ) ได้วิเค ราะห์ว่า บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต 1) รู้ สึ ก ห ม ก มุ่ น กั บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต แม่ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเช้าระบบอินเทอร์เน็ต 2) มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้นอยู่เรื่อยๆ 3) ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้ 4) รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้ 5) คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทาให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น 6) ใช้เป็นอินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา 7) ห ล อ ก ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว ห รื อ เ พื่ อ น เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง 8) มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก เ มื่ อ เ อ่ ย ถึ ง ย า เ ส พ ติ ด นั้ น นักวิชาการมักจะเน้นไปที่การเสพติดยา แอลกอฮอล์ และสารเสพติด ต่อมาได้มีการกล่าวถึงการเสพติดที่ครอบคลุมถึงพฤติกรรมการใช้ที่ผิดปก ติ ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร เ ส พ ติ ด กิจ ก ร ร ม ต่า ง ๆ (activity addiction) โดยพฤติกรรมนั้นมิได้เป็ นการเสพสารเข้าไป ในร่างกาย เช่น การดื่ม การเสพ เป็ นประเภทการเสพติดที่ไม่ได้ใช้ยา หรือสารเคมี เช่นการติด การพนัน การเสพติดเกมคอมพิวเตอร์ การออกกาลังกายที่มากเกินไป ความผิดปกติในการกิน หรือการเสพติดเพศสัมพันธ์ (ธนิกานต์ มาฆะคิรานนท์, 2545) รูปแบบและลักษณะของการติดอินเทอร์เน็ต รูปแบบ อาการ 1. Cyber Sexual addiction การติดเว็บไซต์ที่เกี่ยวช้องกับกิจกรรมทาง เพศ เช่น การดูเว็บ ลามก อนาจาร 2. Cyber- Relationship addiction การคบเพื่อนจากห้องแชตรูม,เว็บบอร์ด นามาทดแทนเพื่อน หรือครอบครัวในชีวิตจริง3. Net Compulsion การติดการพนัน, การประมูลสินค้า, การซื้อ-ขายทาง อินเทอร์เน็ต
  • 16. 16 4. Information Overload การติดการรับข้อมูลข่าวสาร จนไม่สามารถยั้บยั้งได้5. Computer Addition การใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะที่ไม่สามาร ถยับยั้งใจได้ 2.2.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการเสพติดอินเทอร์เน็ต ผู้ที่เสพติดอินเทอร์เน็ตจะใช้เวลาในอินเทอร์เน็ตสูงกว่าผู้ที่ไม่เสพติ ด ผู้ที่เสพติดจะมีการใช้ บริการและประโยชน์ จากอินเทอ ร์เน็ ต เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านอารมณ์ สังคม และ จิตใจสูงกว่า แต่จะใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการแสวงหาข้อมูลข่าวสารน้อยกว่าผู้ที่ไม่เสพติด และผู้ที่ เสพติดจะประเมินว่าตนเองมีความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ต รู้ สึ ก ถู ก ดึ ง ดู ด ใ จ จ า ก สื่ อ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ได้รับผลกระทบจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตสูงกว่าผู้ที่ไม่เสพติดเช่นเดียวกั น และผู้ที่เสพติดจะตระหนักรู้ถึงภาวะการเสพติดแต่ไม่สามารถลดหรือหยุด ใช้ได้ (ธนิกานต์ มาฆะศิรา นนท์, 2545) ธ นิ ก า น ต์ ม า ฆ ะ ศิ ร า น น ท์ ( 2 5 4 5 ) ศึ ก ษ า ปั จ จัย ก า ร เ ส พ ติด อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต พ บ ว่ า ปั จ จัย ท า ง จิตวิทยานั้นเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมการเสพติดเมื่อเปรียบเทียบร ะ ห ว่ า ง ผู้ ที่ เ ส พ ติ ด แ ล ะ ไ ม่ เ ส พ ติ ด พ บ ว่ า ผู้ ที่ เ ส พ ติ ด นั้ น จ ะ ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า ท า ง จิ ต ใ จ ปัญหาความสัมพันธ์ทางสังคม และ มีแนวโน้มที่จะเสพติดสิ่งอื่นๆ มาก่อนมากกว่าผู้ที่ไม่เสพ ติด เมื่อพิจารณาในเรื่องปัจจัยทาง ประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการเสพติดก็พบว่า ลักษณะทางอายุ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ อ า ชี พ นั้ น จ ะ มี ค ว า ม สัม พัน ธ์ กับ ก า ร เ ส พ ติ ด อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต น อ ก จ า ก นี้ ปั จ จั ย ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ประชากรศาสตร์นั้นจะส่งผลให้ผู้เสพติดและไม่เสพติดมีความแตกต่างกัน ในเรื่องการใช้ อินเทอร์เน็ต และการประเมินตนเองกับสื่ออินเทอร์เน็ตด้วย สาเหตุของการเสพติดแบ่งออกได้เป็ นสามกลุ่มให ญ่ๆ คือ ปัจจัยที่เกิดจากสิ่งเร้า ปัจจัย ส่วนบุคคลที่ล่งผลต่อการตอบสนองสิ่งเร้า และปัจจัยทางสังคมวิทยา (ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์, 2545) 1) ปัจจัยที่เกิดจากสิ่งเร้า สิ่งเร้าที่ก่อให้เกิด อาการเสพ ติด ได้มา ก กว่าสิ่ง เร้า อื่ น ๆ โด ย สามารถก่อให้เกิด ค วาม เปลี่ย นแปลงท างร่างกาย เช่น การหลั่งสารที่ทาให้คนเรารู้สึกพอใจ รู้สึกสงบ เช่น การหลั่งสาร โดปามีนและ เซโรโตนินเมื่อได้ใช้สารเสพ ติด
  • 17. 17 จะทาให้เกิดการยึดติดกับความรู้สึกและการใช้ทาให้เกิดพฤติกรรมนั้นอย่า งสม่าเสมอเพื่อหลีกเลี่ยงความรู้สึกเจ็บปวด หลบหนีจากความเบื่อหน่าย ความไม่สบายใจ 2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตอบสนองต่อสิ่งเร้า - ปัจจัยทางร่างกาย ลักษณะทางร่างกาย ส่วนบุค ค ล เช่นโค รโมโซ มนั้นจะมี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ก า ร เ ส พ ติ ด เ ช่ น พฤติกรรมกา รเสพติดอินเทอร์เน็ ตจะถู กถ่าย ถทอด จากพ่ อ แม่ สู่ลูกประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ติดแอลกอฮอล์นั้นจะมีผู้ปกครองอย่างน้อย 1 คน มีปัญหาการเสพติดแอลกอฮอล์ เช่นเดียวกับการเสพติดอื่นๆ และ ฝาแฝดจะมีสัดส่วนการแสดงพฤติกรรมการเสพติดทั้งคู่มาก - ปัจจัยทางจิตวิทยา ลักษณะทางจิต การเสพติดเกิดจากการใช้ยา หรือกิจกรรม เ พื่ อ ร ะ บ า ย บ ร ร เ ท า บ า บั ด ลั ก ษ ณ ะ อ า ก า ร ท า ง จิ ต แ ล ะ ภ า ว ะ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ท า ง อ า ร ม ณ์ บุ ค ค ล นั้ น จ ะ ใ ช้ ย า หรือกิจกรรมที่แตกต่างกันไป เพื่อ บรรเทาอารมณ์และปัญหาต่าง ๆ นั ก จิ ต วิ ท ย า นั้ น เ ชื่ อ ว่ า ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ง จิ ต ใ จ นั้ น ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ส พ ติ ด ไ ด้ ง่ า ย ขึ้ น ก า ร ติ ด สิ่ ง เ ส พ ติ ด นั้ น มีความเกี่ยวข้องกับความบกพร่องทางอารมณ์ ความอ่อนไหวทางอารมณ์ บุคคลที่มีแนวโน้มเสพติดได้ง่าย จะเป็นบุคคลที่ขาดความมั่นใจในตนเอง ไ ม่ พ อ ใ น ใ น ต น เ อ ง แ ล ะ ข า ด ค ว า ม นั บ ถื อ ใ น ต น เ อ ง นั้นจะมีความเสี่ยงที่จะเสพติดแอลกอฮอล์ และปัญหาการเสพติดอื่น บุ ค ลิ ก พฤติกรรมต่อด้านสังคมของบุคคลนั้นส่งผลให้บุคคลมีแนวโน้มที่จะยึดติด กับแอลกอฮอล์ และบุ ค ค ลที่มีบุค ลิกระวังแ ละ ป้ อง กันต น เ อ ง จะมีแนวโน้มการใช้ยาเสพติดน้อยกว่าบุคคลที่มีบุคลิกยึดติด พึ่งพิง พฤติกรรมการแสวงหาความตื่นเต้น เร้าใจ เป็นสาเหตุหลักในการติดการ พนัน ลั ก ษ ณ ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง สั ง ค ม บรรยากาศในครอบครัวนั้นสามารถส่งผลต่อการเสพติดของบุคคลได้โดย ผู้ปกครองของผู้ ติดสารเสพติดนั้นอาจจะมีปัญหาในการควบคุมตนเอง แ ล ะ มั ก แ ส ด ง อ า ร ม ณ์ รุ น แ ร ง แ ล ะ ผู้ ติ ด ก า ร พ นันส่วนให ญ่จะมีปัญห าค วามสัมพันธ์ ในค รอบค รัว ม า ก่อ น รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูบุตรนั้นมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเสพติด
  • 18. 18 โดยการเลี้ยงดูแบบเผด็จการ จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรม การเสพติดได้สูง และการอบรมเลี้ยงดูด้วยความรัก ความเข้าใจ ทาให้ความเสี่ยงนี้ลดลง 3) ปัจจัยทางสังคมวิทยา พ ฤติกรร ม กา ร เส พ ติด นั้น เ ป็ น ก ร ะ บว น ก า รท าง สัง ค ม ซึ่งบุคคลจะได้รับทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อมาจากกลุ่ม สังค ม หรือวัฒนธรรมในสังคม อิทธิพลจากครอบครัว และกลุ่มเพื่อน ทาให้ บุคคลมีพฤติกรรมการเสพติด เช่นการใช้ยาเสพติด การติดการพนัน และปฏิเสธกิจกรรม หน้าที่ ประจาวัน และในการศึกษาทางสังคมวิทยานี้ ค ว า ม สัม พัน ธ์ ข อ ง ค ร อ บ ค รัว ก ลุ่ม เ พื่ อ น แ ล ะ สื่ อ ม ว ล ช น มีอิทธิพลต่อการเสพติดของบุคคล - ผลกระทบจากการเสพติดอินเทอร์เน็ต ก า ร เ ส พ ติ ด เ ป็ น อ า ก า ร ที่ ถู ก ค ร อ บ ง า แ ล ะ ห ม ก มุ่ น เ ป็ น พ ฤ ติ ก ร ร ม ย า คิ ด ย า ท า โ ด ย ภ า ว ะ ที หมกมุ่นและลูกครอบงานี้เป็ นการที่บุคคลลูกครอบงาทางความคิด และการกระทาจกา พฤติกรรมการเสพติด ทาให้บุคคลสูญเสียเวลาในชีวิต เกิดความระทมทุกข์ และมีผลกระทบต่อ ชีวิตประจาวันของบุคคล (ธนิกานต์ มาฆะคิรานนท์, 2545) การใช้สิ่งเสพ ติดนั้นก่อให้เกิด ผลกระทบในหลายๆ ด้าน ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ความสัมพันธ์ในสังคม การเรียน อ า ชี พ ก า ร ง า น ก า ร เ งิ น แ ล ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ บุ ค ค ล ร อ บ ข้ า ง ก า ร เ ส พ ติ ด นั้ น ท า ใ ห้ บุ ค ค ล เ กิ ด ค ว า ม รู้ สึ ก แ ป ล ก แ ย ก ข า ด สิ่ ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ใ น ชี วิ ต เ กิ ด ค ว า ม ก ด ดัน ที่ ม า ก ขึ้ น ซึ่งการเสพติดนั้นจะส่งผลกระทบต่อปัญหาทางด้านอารมณ์และจิตใจของผู้ เสพ ติดรุนแรงยิ่งขึ้น (ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์, 2545) อ า ก า ร เ ส พ ติ ด ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทาให้เกิดปัญหาในครอบครัวมีความขัดแย้ง กับบุคคลในครอบครัว ส่งผลให้บุคคลไม่อยากรับประทานอาหาร หรือพักผ่อน เนื่องจากต้องการ ใ ช้ เ ว ล า ม า ก ๆ ในการเล่นคอมพิวเตอร์ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อร่างกายของบุคค ลนั้น (ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์, 2545)
  • 19. 19 3. ข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตของประเทศไทย ประจาปี 2559 การสารวจการมีการใช้เทคโนโลนีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ . ศ . 2559 โ ด ย ส า นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ช า ติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3.1 การใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ ผ ลการสารวจประช ากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปประมา ณ 62.8 ล้านคนพบว่ามีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 20.2 ล้านคน (ร้อยละ 32.2) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 29.8 ล้านคน (ร้อยละ 47.5) และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ 51.1 ล้านคน (ร้อยละ 81.4) เมื่อพิจารณาแนวโน้มการใช้ค อมพิวเต อร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือของประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปในช่วงระยะเวลา 5 ปี ระหว่างปี 2555-2559 พบว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์ลดลงจาก ร้อยละ 33.7 (จานวน 21.2 ล้านคน) เป็ นร้อยละ 32.2 (จานวน 20.2 ล้านคน) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 26.5 (จานวน 16.6 ล้านคน) เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 47.5 ( จ า น ว น 29.8 ล้ า น ค น ) ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือทุกประเภทเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.2 (จานวน 44.1 ล้ า น ค น ) เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 81.4 ( จ า น ว น 51.1 ล้ า น ค น ) และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.0 (จานวน 5.0 ล้านคน) เป็นร้อยละ 50.5 (จานวน 31.7 ล้านคน) เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า ผู้ ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต แ ล ะ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ เ ป็ น ร า ย ภ า ค พ บ ว่ า ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร มี ผู้ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ สู ง สุ ด ร้อ ย ล ะ 50.5 รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ31.5 ภาคเหนือ ร้อยละ 30.1 ภาคใต้ ร้อยละ 29.5 และต่าที่สุดในประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 27.0 สาหรับการใช้อินเทอร์เน็ตเช่นเดียวกันคือกรุงเทพมหานครมีผู้ใช้อิ นเทอร์เน็ตสูงสุด ร้อยละ 69.2 รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ 53.0 ภาคใต้ ร้อยละ 46.3 ภาคเหนือร้อยละ 41.4 และต่าที่สุดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 36.0 ใ น ข ณ ะ ที่ ก า ร ใ ช้ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท กรุงเทพมหานครมีผู้ใช้สูงสุดเช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 91.3 รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ 85.5 ภาคเหนือ ร้อยละ 78.9 ภาคใต้
  • 20. 20 ร้อยละ 77.3 และ ต่าที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 76.1 ส า ห รั บ ผู้ ใ ช้ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ แ บ บ Smart Phone กรุงเทพมหานครยังมีผู้ใช้สูงที่สุด เช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 70.3 รองลงมาคือ ภาคกลาง ร้อยละ 56.3 ภาคใต้ ร้อยละ 48.7 ภาคเหนือ ร้อยละ 45.2 และต่าที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 39.3 3.2 ลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต เมื่อเปรียบเทียบการใช้อินเทอร์เน็ตระหว่างเพศชายและเพศหญิง พบว่าสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตไม่แตกต่างกันมากนักซึ่งจากข้อมูลตั้งแต่ ปี 2555-2559 การใช้อินเทอร์เน็ตของเพศชายและเพศหญิงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตตามกลุ่มอายุต่างๆ พบว่า กลุ่มอายุ 15-24 ปี มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด ร้อยละ 85.9 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 25-34 ปี ร้อยละ 73.6 กลุ่มอายุ 6-14 ปี ร้อยละ 61.4 กลุ่มอายุ 35-49 ปี ร้อยละ 44.9 และในกลุ่มอายุ 50 ขึ้นไปมีเพียง ร้อยละ 13.8 สาหรับสถานที่ใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ส่วนใหญ่ใช้ตามสถานที่ต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ/คอมพิวเตอร์พกพา เช่น Notebook, Tablet ร้อยละ 85.4 รองลงมาคือ ใช้ที่บ้าน/ที่พักอาศัย ร้อยละ 66.1 ใช้ที่ทางาน ร้อยละ 33.1 และใช้ในสถานที่ศึกษา ร้อยละ 27.6 ส่วนกิจกรรมส่วนให ญ่ใ ช้ Social Network ร้อย ละ 91.5 รองลงมาคือ ใช้ในการดาวน์โหลด รูปภาพ/หนัง/เพลง/เกม ดูหนัง ฟังเพลง ร้อยละ 88.0 ใช้ในการอัพโหลดข้อมูล รูปภาพ วิดีโอ เพลง software เ พื่ อ แ บ่ ง ปั น บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ร้ อ ย ล ะ 55.9 และติดตามข่าวสาร/อ่านหรือดาวน์โหลดหนังสือ ร้อยละ 46.5 ในขณะที่ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 5-7 วัน ใน 1 สัปดาห์ ร้อยละ 79.8 รองลงมาใช้ 1-4 วันใน 1 สัปดาห์ ร้อยละ 19.3 ส่ ว น อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต พ บ ว่ า ผู้ใ ช้ อิน เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ ช้ โ ท ร ศัพ ท์ มื อ ถื อ แ บ บ Smart Phone ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตค่อนข้างสูงคือ ร้อยละ 90.4 ใช้ PC ร้อยละ 50.1 ใช้ Notebook ร้อยละ 24.9 และ Tablet ร้อยละ 15.2 (แผนภาพ 1)
  • 21. 21 แ ผ น ภ า พ 1 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร อ า ยุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ตตามอุปกรณ์ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต 4. ข้อมูลสถานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต ในเข ตอาเภอขุนห าญ จังหวัดศรีสะเกษ อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ เป็ นอาเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็ นอันดับที่ 4 รองจากอาเภอกันทรลักษ์ อาเภอภูสิงห์ และอาเภอขุขันธ์ ตามลาดับ และเป็นหนึ่งในสามอาเภอของจังหวัดศรีสะเกษที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศ กัมพูชา อาเภอขุนหาญแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็ น 12 ตาบล 145 หมู่บ้าน ใ น เ ข ต อ า เ ภ อ ขุ น ห า ญ เป็นพื้นที่ที่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้ทั้งอินเทอร์เน็ตบ้าน( 3BB, TOT,CAT) และในระบบสัญญาณ 3G/4G ( AIS,dtac,true) นอกจากนี้ยังมีสถานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตร้านเกมและร้านค้าที่ให้บริกา รฟรี Wi-Fi เป็นจานวนมาก
  • 22. 22 แผนที่พื้นที่การให้บริการสัญญาณโทรศัพท์และอินเทอร์เน็ต 3G/4G ในเขตพื้นที่อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ของเครือข่าย AIS และ True แ ล ะ ข้ อ มู ล ข อ ง ส ถ า น ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต โดยหมายความถึงร้านค้าที่ให้บริการWi-Fi , ร้านเกมออนไลน์ , ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ , ร้านอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา (พิมพ์งาน) เป็ นต้น ซึ่งทั้งห มด นี้ ค ณะผู้ทาโค รงงานได้ดาเนินเก็บข้อ มู ล ในเขตอาเภอขุนหาญ ในพื้นที่ 12 ตาบล จานวน 42 ร้าน 1. ร้านให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทเกมออนไลน์ การสืบค้นข้อมูล และการพิมพ์งาน ชื่อร้าน/ประเภทร้าน ที่อยู่ จานวนเครื่อง ลักษณะพิเศ 1. ร้านวันทูคอลช้อป บ.ศรีขุนหาญ ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 20 - ใกล้โรงเรียนขุนหาญวิทย - ใกล้โรงเรียนบ้านสิริขุนห - ร้านปิ ดมิดชิด - เล่นเกม เล่นอินเทอร์เน็ต 2. ร้านสกายเน็ต บ.ศรีขุนหาญ 22 - อยู่ในชุมชนบริเวณตลาดส
  • 23. 23 ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ - ส่วนใหญ่เล่นเกมออนไล 3. ร้านหมอมือถือ บ.สิ ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 25 - ด้านในร้านค่อนข้างคับแ - อยู่ใกล้โรงเรียนอนุบาลข - ส่วนใหญ่เป็ นเด็กประถม 4. ร้านบั๊ดดี้เน็ต บ.ใหม่พัฒนา ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 17 - ใกล้วิทยาลัยการอาชีพขุน - มีร้านขายขนมและเครื่อง - มีมาเล่นเกมและสืบค้นข 5. ร้านก้าวหน้าเน็ต 2 บ.ศาลา ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 50 -อยู่ใกล้ชุมชน - ด้านในร้านค่อนข้างคับแ - ส่วนใหญ่เล่นเกม ชื่อร้าน/ประเภทร้าน ที่อยู่ จานวนเครื่อง ลักษณะพิเศ 6. ร้านลานทองคอมพิวเตอร์ บ.หนองแล้ง ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 17 - ร้านอยู่ด้านในค่อนข้างล 7. ร้าน MAXCOM บ.อาราง ต.พราน อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 24 - ใกล้โรงเรียนบ้านอาราง - มีการจากัดเวลาในแต่ละ - มีมาเล่นเกมและสืบค้นข 8. ร้านนานาอินเทอร์เน็ต บ.พรานเหนือ ต.พราน 10 - ใกล้บริเวณทางเข้าโรงเรีย - อยู่ใกล้ชุมชน
  • 24. 24 อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ - มีมาเล่นเกม เล่นอินเทอร 24. ร้านคนมังกรก็อปปี้ เซนเตอร์ บ.สิ ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 5 - ให้บริการอินเทอร์เน็ตใน - ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม เข้าเล่ม และจาหน่ายอุปกรณ์การเร 25. ร้านอิสราภรณ์ปริ้นติ๊ง บ.ศรีขุนหาญ ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 5 - ให้บริการอินเทอร์เน็ตใน - ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม เข้าเล่ม จาหน่ายอุปกรณ์การเรียน 26. ร้านเพิ่มทรัพย์คอมพิวเตอร์ บ.ศาลา ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 5 - ให้บริการอินเทอร์เน็ตใน - เป็ นอินเทอร์เน็ตเพื่อการ ชื่อร้าน/ประเภทร้าน ที่อยู่ จานวนเครื่อง ลักษณะพิเศ 27. ร้าน NN ปริ้น บ.กันทรอมตะวันออก ต.กันทรอม อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 5 - ใกล้โรงเรียนบ้านกันทรอ - ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม เข้าเล่ม - เป็ นอินเทอร์เน็ตเพื่อการ 28. ร้านดาแอนด์ดิวมาร์ท บ.เขวา ต.โพธิ์วงศ์ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 3 ให้บริการอินเทอร์เน็ตในก - ให้บริการถ่ายเอกสาร พิม เข้าเล่ม - จาหน่ายอุปกรณ์การเรียน