SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การปรับตวของพชเพอรับแสง
                 ั    ื ื่


          จุดประสงค์ เพือให้ นักเรียนสามารถ
                           ่
สื บค้ นข้ อมูล สํ ารวจ วิเคราะห์ อภิปรายและสรุ ป
เกียวกับการปรับตัวของพืชเพือรับแสงมาใช้ ใน
   ่                             ่
กระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
การปรับโครงสร้างของใบเพอรับแสง
                                     ื่

        พืชจําเป็ นต้ องปรับโครงสร้ างของใบให้ เอื ้ออํานวยในการรับ
แสงให้ ได้ มาก ใบพืชที่อยูในบริ เวณป่ าเขตร้ อนจะมีชนเอพเิ ดอร์มิส
                            ่                           ั้
ท่ีอยด้านนอกสุดทําหน้ าที่คล้ ายเลนส์รวมแสง ทําให้ แสงส่องไปถง
     ู่                                                           ึ
คลอโรพลาสต์และมีความเข้ มของแสงสูงกว่าแสงภายนอกใบ แสง
ส่วนหนึงจะถูกดูดซับโดยสารสีในคลอโรพลาสต์ของเซลล์แพลเิ ซด
        ่
(palisade cell)
การปรับโครงสร้างของใบเพอรับแสง
                                  ื่

และแสงส่วนที่เหลือจะสามารถผ่านลงไปถึงชันเซลล์ด้านล่าง ได้
                                           ้
โดยผ่านช่องระหว่างคลอโรพลาสต์และช่องระหว่างเซลล์สวนชัน  ่ ้
สปั นจีมีโซฟิ ลล์ (spongy cell) ที่อยูด้านล่างมีรูปร่าง
                                     ่
หลากหลายและมีช่องว่างระหว่างเซลล์มาก รอยต่อระหว่าง
อากาศและนํ ้าที่เคลือบผนังเซลล์ช่วยสะท้ อนแสงไปได้ หลาย
ทิศทาง และเพิ่มโอกาสที่แสงจะถูกดูดซับโดยสารสีในเซลล์มากขึ ้น
เอพิเดอมิสบริ เวณผิวใบ
      - ทําหน้ าที่รวมแสงให้ สองถึงคลอโร-พลาสต์
                               ่
      - แสงสีช่วงความยาวคลื่นสีเขียวจะถูกสะท้ อนโดย
คลอโรฟิ ลล์ทําให้ เราสามารถเห็นใบไม้ เป็ นสีเขียว
      - เอพิเดอมิสบางบริเวณจะเปลี่ยนเป็ นปากใบเพื่อรักษา
สมดุลนํ ้าในลําต้ น เช่น ผิวใบของผักตบชวา
      - พืชในเขตแห้ งแล้ งจะมีคิวทิเคิลหนา มีปากใบน้ อย ใบ
มีขนาดเล็ก
พืชที่ขึ ้นในที่แห้ งแล้ ง ความเข้ มของแสงสูง อุณหภูมิสง ชัน
                                                                ู ้
เอพเดอร์มิส มีการปรับโครงสร้ างพิเศษเพิ่มความหนาของชันคิวทิ
    ิ                                                         ้
เคิล (ประกอบด้ วยไข) เพื่อช่วยในการสะท้ อนแสง ลดการดูดซับ
แสงของใบ ช่วยลดอุณหภูมิและมีขนปกคลุมปากใบเพื่อลด
การคายนํ ้า
        ใบพืชที่อยูในที่กลางแจ้ ง มีการปรับตัวโดยลักษณะผิวใบ
                     ่
   อาจมีความหนา มัน เพื่อปองกันการสูญเสียนํ ้า และการจัดเรี ยง
                                    ้
   ตัวของใบอาจมีทิศทางที่หลีกเลี่ยงการได้ รับแสงที่มีความเข้ ม
   แสงสูงโดยตรง มีการปรับโครงสร้ างโดยพื ้นที่ของใบ และ
   ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ตํ่า ชันแพลิเซดเป็ นรูปแท่ง 2 ชัน
                                  ้                      ้
ส่วนพืชที่ขึ ้นอยูในที่ร่มจะมีชนคิวทิเคิล(บางกว่าพืชที่ได้ รับ
                                  ่       ั้
แสงมากผิวบาง ไม่มน) ดังนันแสงที่สองลงมาที่ใบพืชจึงส่องผ่าน
                           ั        ้        ่
มาที่ชนคิวทิเคิลไปที่ชนเอพิเดอร์มิสได้ งายกว่า จึงสามารถเพิ่ม
        ั้                     ั้              ่
ความเข้ มของแสงที่สองไปยังคลอโรพลาสต์ นอกจากนี ้การ
                             ่
จัดเรี ยงตัวของใบอาจมีทิศทางที่กางใบออกเพื่อให้ ได้ รับแสงเต็มที่
และมีการปรับโครงสร้ างโดยพื ้นที่ของใบและปริ มาณคลอโรฟิ ลล์
ชันแพลิเซด เป็ นรูปแท่งเพียงชันเดียว อีกชันมีรูปร่างไม่แน่นอน
  ้                                   ้          ้
การปรับทิศทางของใบเพือรับแสง
                               ่

    การปรับทิศทางของใบเพื่อลดการรับแสงที่มากเกินไป เช่น
กรณีของถัว พบว่ามีการปรับตําแหน่งของแผ่นใบลดตํ่าลง และ
           ่
มีการเรี ยงตัวใบของถัวแบบเวียน เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสแสง
                     ่
โดยตรง
    ส่วนต้ นฝายมีการปรับทิศทางของใบที่รับแสงมากเกินไป
              ้
โดยการหันแผ่นใบในทิศทางต่างๆ ที่หลีกเลี่ยงการสัมผัสแสงได้
หลายทิศทาง เนื่องจากฝายจะมีก้านใบ ที่ติดกับแผ่นใบ
                       ้
ค่อนข้ างยาว จึงสามารถหันแผ่นใบได้ หลายทิศทาง
ต้ นถั่ว




ต้ นฝายเปลียนทิศทางของใบ
    ้      ่
ต้ นหูกวาง มีก่ งก้ านสาขา
                ิ
มาก มีการจดเรียงก่ งรอบ
             ั        ิ
ลาต้น เพ่ อให้ใบแต่ละใบ
   ํ      ื
รับแสงได้ เต็มที่
ใบพืชมีการจัดเรี ยงตัวของใบแบบต่างๆ ได้ แก่
    แบบสลับ(alternate)
        – แบบเวียน(spiral) = จําปี จําปา หางนกยูง
        - แบบสลับระนาบเดียว(distichous) = กล้วยพด ั
กล้ วยไม้
    แบบตรงข้ าม(opposite)= เขม ยอ็
    แบบวงรอบ(whorl) = บานบุรี
การเรียงตัวของใบแบบต่ างๆ ทําให้ พชสามารถรั บแสงได้
                                    ื
ทั่วถึงทุกใบ
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อCherry Lay
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 

Was ist angesagt? (20)

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 

Andere mochten auch

ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1page
ใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1pageใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1page
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4page
ใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4pageใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4page
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
ใบความรู้ สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...
ใบความรู้  สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...ใบความรู้  สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...
ใบความรู้ สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...Prachoom Rangkasikorn
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโตนราพร ผิวขำ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
การปรับตัว
การปรับตัวการปรับตัว
การปรับตัวDizz Love T
 

Andere mochten auch (14)

ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1page
ใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1pageใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1page
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-1page
 
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4page
ใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4pageใบความรู้  ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4page
ใบความรู้ ประโยชน์ของพืช2 ป.2+224+dltvscip2+54sc p02 f16-4page
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
ใบความรู้ สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...
ใบความรู้  สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...ใบความรู้  สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...
ใบความรู้ สิ่งที่มีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างไร+ป.3+240+dl...
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
การปรับตัว
การปรับตัวการปรับตัว
การปรับตัว
 

Ähnlich wie การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง

การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 

Ähnlich wie การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง (20)

การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
3.2 ornamental plant
3.2  ornamental plant3.2  ornamental plant
3.2 ornamental plant
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 

Mehr von Anana Anana

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 

Mehr von Anana Anana (11)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง

  • 1. การปรับตวของพชเพอรับแสง ั ื ื่ จุดประสงค์ เพือให้ นักเรียนสามารถ ่ สื บค้ นข้ อมูล สํ ารวจ วิเคราะห์ อภิปรายและสรุ ป เกียวกับการปรับตัวของพืชเพือรับแสงมาใช้ ใน ่ ่ กระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
  • 2. การปรับโครงสร้างของใบเพอรับแสง ื่ พืชจําเป็ นต้ องปรับโครงสร้ างของใบให้ เอื ้ออํานวยในการรับ แสงให้ ได้ มาก ใบพืชที่อยูในบริ เวณป่ าเขตร้ อนจะมีชนเอพเิ ดอร์มิส ่ ั้ ท่ีอยด้านนอกสุดทําหน้ าที่คล้ ายเลนส์รวมแสง ทําให้ แสงส่องไปถง ู่ ึ คลอโรพลาสต์และมีความเข้ มของแสงสูงกว่าแสงภายนอกใบ แสง ส่วนหนึงจะถูกดูดซับโดยสารสีในคลอโรพลาสต์ของเซลล์แพลเิ ซด ่ (palisade cell)
  • 3. การปรับโครงสร้างของใบเพอรับแสง ื่ และแสงส่วนที่เหลือจะสามารถผ่านลงไปถึงชันเซลล์ด้านล่าง ได้ ้ โดยผ่านช่องระหว่างคลอโรพลาสต์และช่องระหว่างเซลล์สวนชัน ่ ้ สปั นจีมีโซฟิ ลล์ (spongy cell) ที่อยูด้านล่างมีรูปร่าง ่ หลากหลายและมีช่องว่างระหว่างเซลล์มาก รอยต่อระหว่าง อากาศและนํ ้าที่เคลือบผนังเซลล์ช่วยสะท้ อนแสงไปได้ หลาย ทิศทาง และเพิ่มโอกาสที่แสงจะถูกดูดซับโดยสารสีในเซลล์มากขึ ้น
  • 4.
  • 5.
  • 6. เอพิเดอมิสบริ เวณผิวใบ - ทําหน้ าที่รวมแสงให้ สองถึงคลอโร-พลาสต์ ่ - แสงสีช่วงความยาวคลื่นสีเขียวจะถูกสะท้ อนโดย คลอโรฟิ ลล์ทําให้ เราสามารถเห็นใบไม้ เป็ นสีเขียว - เอพิเดอมิสบางบริเวณจะเปลี่ยนเป็ นปากใบเพื่อรักษา สมดุลนํ ้าในลําต้ น เช่น ผิวใบของผักตบชวา - พืชในเขตแห้ งแล้ งจะมีคิวทิเคิลหนา มีปากใบน้ อย ใบ มีขนาดเล็ก
  • 7. พืชที่ขึ ้นในที่แห้ งแล้ ง ความเข้ มของแสงสูง อุณหภูมิสง ชัน ู ้ เอพเดอร์มิส มีการปรับโครงสร้ างพิเศษเพิ่มความหนาของชันคิวทิ ิ ้ เคิล (ประกอบด้ วยไข) เพื่อช่วยในการสะท้ อนแสง ลดการดูดซับ แสงของใบ ช่วยลดอุณหภูมิและมีขนปกคลุมปากใบเพื่อลด การคายนํ ้า ใบพืชที่อยูในที่กลางแจ้ ง มีการปรับตัวโดยลักษณะผิวใบ ่ อาจมีความหนา มัน เพื่อปองกันการสูญเสียนํ ้า และการจัดเรี ยง ้ ตัวของใบอาจมีทิศทางที่หลีกเลี่ยงการได้ รับแสงที่มีความเข้ ม แสงสูงโดยตรง มีการปรับโครงสร้ างโดยพื ้นที่ของใบ และ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ตํ่า ชันแพลิเซดเป็ นรูปแท่ง 2 ชัน ้ ้
  • 8. ส่วนพืชที่ขึ ้นอยูในที่ร่มจะมีชนคิวทิเคิล(บางกว่าพืชที่ได้ รับ ่ ั้ แสงมากผิวบาง ไม่มน) ดังนันแสงที่สองลงมาที่ใบพืชจึงส่องผ่าน ั ้ ่ มาที่ชนคิวทิเคิลไปที่ชนเอพิเดอร์มิสได้ งายกว่า จึงสามารถเพิ่ม ั้ ั้ ่ ความเข้ มของแสงที่สองไปยังคลอโรพลาสต์ นอกจากนี ้การ ่ จัดเรี ยงตัวของใบอาจมีทิศทางที่กางใบออกเพื่อให้ ได้ รับแสงเต็มที่ และมีการปรับโครงสร้ างโดยพื ้นที่ของใบและปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ชันแพลิเซด เป็ นรูปแท่งเพียงชันเดียว อีกชันมีรูปร่างไม่แน่นอน ้ ้ ้
  • 9. การปรับทิศทางของใบเพือรับแสง ่ การปรับทิศทางของใบเพื่อลดการรับแสงที่มากเกินไป เช่น กรณีของถัว พบว่ามีการปรับตําแหน่งของแผ่นใบลดตํ่าลง และ ่ มีการเรี ยงตัวใบของถัวแบบเวียน เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสแสง ่ โดยตรง ส่วนต้ นฝายมีการปรับทิศทางของใบที่รับแสงมากเกินไป ้ โดยการหันแผ่นใบในทิศทางต่างๆ ที่หลีกเลี่ยงการสัมผัสแสงได้ หลายทิศทาง เนื่องจากฝายจะมีก้านใบ ที่ติดกับแผ่นใบ ้ ค่อนข้ างยาว จึงสามารถหันแผ่นใบได้ หลายทิศทาง
  • 11. ต้ นหูกวาง มีก่ งก้ านสาขา ิ มาก มีการจดเรียงก่ งรอบ ั ิ ลาต้น เพ่ อให้ใบแต่ละใบ ํ ื รับแสงได้ เต็มที่
  • 12. ใบพืชมีการจัดเรี ยงตัวของใบแบบต่างๆ ได้ แก่ แบบสลับ(alternate) – แบบเวียน(spiral) = จําปี จําปา หางนกยูง - แบบสลับระนาบเดียว(distichous) = กล้วยพด ั กล้ วยไม้ แบบตรงข้ าม(opposite)= เขม ยอ็ แบบวงรอบ(whorl) = บานบุรี การเรียงตัวของใบแบบต่ างๆ ทําให้ พชสามารถรั บแสงได้ ื ทั่วถึงทุกใบ