SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน
               แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                           เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
                                                                                             น้ําหนัก
                                  มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้                                         (คะแนน)
                                                                                         ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน                                                                            ๓๐
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
  ๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกําลังกาย สม่ําเสมอ                                  ๐.๕
  ๑.๒ มีน้ําหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน                               ๐.๕
  ๑.๓ ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความ            ๑
       รุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ                                                     ๕
  ๑.๔ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม                               ๑
  ๑.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น                                             ๑
  ๑.๖ สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ                  ๑
       ตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
  ๒.๑ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร                                                  ๒
  ๒.๒ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ                                        ๑        ๕
  ๒.๓ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง                                                   ๑
  ๒.๔ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม                                    ๑
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
              อย่างต่อเนื่อง
  ๓.๑ มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ     ๒
       รอบตัว                                                                                       ๕
  ๓.๒ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคําถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม        ๑
  ๓.๓ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน             ๑
  ๓.๔ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนําเสนอผลงาน                                             ๑
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ
              แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
  ๔.๑ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิด         ๒
       ของตนเอง                                                                                     ๕
  ๔.๒ นําเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง                               ๑
  ๔.๓ กําหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ                            ๑
  ๔.๔ มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ                                 ๑
-๒-
                                                                                            น้ําหนัก
                                 มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้                                         (คะแนน)
                                                                                        ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จําเป็นตามหลักสูตร
  ๕.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์                                   ๑
  ๕.๒ ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์                                  ๑       ๕
  ๕.๓ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์                             ๒
  ๕.๔ ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์                                                   ๑
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้
               และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
  ๖.๑ วางแผนการทํางานและดําเนินการจนสําเร็จ                                               ๒
                                                                                                  ๕
  ๖.๒ ทํางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง                      ๑
  ๖.๓ ทํางานร่วมกับผู้อื่นได้                                                             ๑
  ๖.๔ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ               ๑
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา                                                                        ๕๐
มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
  ๗.๑ ครูมีการกําหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ                  ๑
      สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
  ๗.๒ ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้      ๑
      เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
  ๗.๓ ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ                      ๒
      พัฒนาการทางสติปัญญา
  ๗.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนําบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมา         ๑
      บูรณาการในการจัดการเรียนรู้                                                                ๑๐
  ๗.๕ ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่     ๑
      หลากหลาย
  ๗.๖ ครูให้คําแนะนํา คําปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพ      ๑
      ชีวิตด้วยความเสมอภาค
  ๗.๗ ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการ      ๑
      ปรับการสอน
  ๗.๘ ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา                 ๑
  ๗.๙ ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ                  ๑
-๓-
                                                                                                น้ําหนัก
                                   มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้                                           (คะแนน)
                                                                                            ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
  ๘.๑ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นํา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน               ๑
  ๘.๒ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัย            ๒
       เป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
  ๘.๓ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กําหนดไว้ใน                    ๒
       แผนปฏิบัติการ                                                                                 ๑๐
  ๘.๔ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอํานาจ                       ๒
  ๘.๕ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา                             ๑
  ๘.๖ ผู้บริหารให้คําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็ม                  ๒
       ศักยภาพและเต็มเวลา
มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาท
               หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
  ๙.๑ คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกําหนด                              ๒
                                                                                                      ๕
  ๙.๒ คณะกรรมการสถานศึกษากํากับติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการดําเนินงานของ                      ๑
       สถานศึกษาให้บรรลุผลสําเร็จตามเป้าหมาย
  ๙.๓ ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา                                    ๒
มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา
               คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
๑๐.๑ หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น                                           ๒
๑๐.๒ จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ                ๒
       และความสนใจ
๑๐.๓ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ                       ๑
                                                                                                     ๑๐
       ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
 ๑๐.๔ สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้     ๑
       ด้วยตนเอง
๑๐.๕ นิเทศภายใน กํากับ ติดตามตรวจสอบ และนําผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง                    ๒
       สม่ําเสมอ
๑๐.๖ จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน                  ๒
-๔-
                                                                                          น้ําหนัก
                                 มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้                                       (คะแนน)
                                                                                      ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
                พัฒนาเต็มศักยภาพ
๑๑.๑ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอํานวยความ           ๔
       สะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สําหรับ
                                                                                               ๑๐
       ผู้เรียน
๑๑.๒ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน                   ๓
๑๑.๓ จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง  ๓
       และหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กําหนดใน
                กฎกระทรวง
๑๒.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา                                                    ๑
๑๒.๒ จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนา                 ๑
       คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๑๒.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ                 ๑     ๕
       สถานศึกษา
๑๒.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา                   ๐.๕
๑๒.๕ นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ                       ๐.๕
       การศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๑๒.๖ จัดทํารายงานประจําปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน                               ๑
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้                                                        ๑๐
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
๑๓.๑ มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ๕
       ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของ
       สถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง                                                       ๑๐
๑๓.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ              ๕
       ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
-๕-

                                                                                         น้ําหนัก
                                มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้                                       (คะแนน)
                                                                                     ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา                                                                  ๕
มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น
              ที่กําหนดขึ้น
๑๔.๑ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ     ๓        ๕
      จุดเน้นของสถานศึกษา
๑๔.๒ ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และ          ๒
      จุดเน้นของสถานศึกษา
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม                                                                      ๕
มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ
              พัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
๑๕.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป              ๓        ๕
      การศึกษา
๑๕.๒ ผลการดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย                                                   ๒




                                  -------------------------------------

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 

Was ist angesagt? (20)

เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 

Andere mochten auch

Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..Montree Jareeyanuwat
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันQA Bpi
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัยkrutitirut
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาSuwanan Nonsrikham
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบkrutitirut
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขkrutitirut
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)Slitip Pimkad
 
กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1kruuni
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1krutitirut
 
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...Apirak Potpipit
 

Andere mochten auch (20)

Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
หลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัยหลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัย
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
 
กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
 
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...
 

Ähnlich wie มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557somdetpittayakom school
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1Montree Jareeyanuwat
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียarisara
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2Montree Jareeyanuwat
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2Montree Jareeyanuwat
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
การใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปี
การใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปีการใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปี
การใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปีพัน พัน
 

Ähnlich wie มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (20)

Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
Stardardanuban54
Stardardanuban54Stardardanuban54
Stardardanuban54
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
ประเมินสม..[1]
ประเมินสม..[1]ประเมินสม..[1]
ประเมินสม..[1]
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
การใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปี
การใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปีการใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปี
การใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปี
 

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  • 1. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา น้ําหนัก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ๓๐ มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ ๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกําลังกาย สม่ําเสมอ ๐.๕ ๑.๒ มีน้ําหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ๐.๕ ๑.๓ ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความ ๑ รุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ ๕ ๑.๔ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๑ ๑.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น ๑ ๑.๖ สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ๑ ตามจินตนาการ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒.๑ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ๒ ๒.๒ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ๑ ๕ ๒.๓ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง ๑ ๒.๔ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๑ มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ๓.๑ มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ ๒ รอบตัว ๕ ๓.๒ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคําถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม ๑ ๓.๓ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน ๑ ๓.๔ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนําเสนอผลงาน ๑ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ๔.๑ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิด ๒ ของตนเอง ๕ ๔.๒ นําเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง ๑ ๔.๓ กําหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ ๑ ๔.๔ มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ ๑
  • 2. -๒- น้ําหนัก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จําเป็นตามหลักสูตร ๕.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ ๑ ๕.๒ ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ ๑ ๕ ๕.๓ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ ๒ ๕.๔ ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ ๑ มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๖.๑ วางแผนการทํางานและดําเนินการจนสําเร็จ ๒ ๕ ๖.๒ ทํางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง ๑ ๖.๓ ทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๑ ๖.๔ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ ๑ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ๕๐ มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๗.๑ ครูมีการกําหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ๑ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๗.๒ ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ๑ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ๗.๓ ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ ๒ พัฒนาการทางสติปัญญา ๗.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนําบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมา ๑ บูรณาการในการจัดการเรียนรู้ ๑๐ ๗.๕ ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่ ๑ หลากหลาย ๗.๖ ครูให้คําแนะนํา คําปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพ ๑ ชีวิตด้วยความเสมอภาค ๗.๗ ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการ ๑ ปรับการสอน ๗.๘ ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา ๑ ๗.๙ ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ ๑
  • 3. -๓- น้ําหนัก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๘.๑ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นํา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน ๑ ๘.๒ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัย ๒ เป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ๘.๓ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กําหนดไว้ใน ๒ แผนปฏิบัติการ ๑๐ ๘.๔ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอํานาจ ๒ ๘.๕ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา ๑ ๘.๖ ผู้บริหารให้คําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็ม ๒ ศักยภาพและเต็มเวลา มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๙.๑ คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกําหนด ๒ ๕ ๙.๒ คณะกรรมการสถานศึกษากํากับติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการดําเนินงานของ ๑ สถานศึกษาให้บรรลุผลสําเร็จตามเป้าหมาย ๙.๓ ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา ๒ มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน ๑๐.๑ หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น ๒ ๑๐.๒ จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ ๒ และความสนใจ ๑๐.๓ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ๑ ๑๐ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ๑๐.๔ สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ ๑ ด้วยตนเอง ๑๐.๕ นิเทศภายใน กํากับ ติดตามตรวจสอบ และนําผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง ๒ สม่ําเสมอ ๑๐.๖ จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน ๒
  • 4. -๔- น้ําหนัก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาเต็มศักยภาพ ๑๑.๑ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอํานวยความ ๔ สะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สําหรับ ๑๐ ผู้เรียน ๑๑.๒ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน ๓ ๑๑.๓ จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ๓ และหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง ๑๒.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑ ๑๒.๒ จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนา ๑ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑๒.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ ๑ ๕ สถานศึกษา ๑๒.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๐.๕ ๑๒.๕ นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ ๐.๕ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๑๒.๖ จัดทํารายงานประจําปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ๑ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๑๐ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ๑๓.๑ มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ๕ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของ สถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ๑๐ ๑๓.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ ๕ ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
  • 5. -๕- น้ําหนัก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น ที่กําหนดขึ้น ๑๔.๑ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ ๓ ๕ จุดเน้นของสถานศึกษา ๑๔.๒ ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และ ๒ จุดเน้นของสถานศึกษา มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม ๕ มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ พัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น ๑๕.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป ๓ ๕ การศึกษา ๑๕.๒ ผลการดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ๒ -------------------------------------