SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
PowerPlugs
เซลล์ประสาทและ
ระบบประสาทของคน
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์
 ระบบประสาทพัฒนามาจากเนื้อเยื่อ
ชั้นนอก(ectoderm)ทางด้านหลัง
ของตัวอ่อน พัฒนาเปลี่ยนสภาพ
เป็นหลอดประสาทหรือนิวรัลทิวบ์
(neural tube)
ร่างกายของคนมีเซลล์ประสาท(nerve cell) หรือนิวรอน(neurn) จานวนมาก
เซลล์ประสาททาหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้และการตอบสนอง แต่ละเซลล์อาจมี
การเชื่อมโยงเกี่ยวพันกับเซลล์ประสาทอื่นเป็นพันๆ เซลล์
 เซลล์ประสาทสามารถรับและส่งสัญญาณระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับภายใน
ร่างกายได้อย่างมีระบบ
 เซลล์ประสาท เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงพลังงานจากรูปแบบ
หนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง เช่นเปลี่ยนจากสารเคมี ความร้อน ที่มากระตุ้น
(stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action
potential
เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
เซลล์คาจุน (glial cells)
เดนไดรต์ (dendrite) ทาหน้าทีนากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์
แอกซอน (axon) ทาหน้าที่นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
1.ตัวเซลล์ประสาท(cell body)เป็นส่วนของไซโทพลาสซึม
และนิวเคลียร์ มีออร์แกเนลล์ที่สาคัญคือ เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
ไมโทคอนเดรียและกอลจิคอมเพล็กซ์
2.เส้นใยประสาท (nerve fiber) เป็นส่วนของเซลล์ที่ยื่น
ออกมาจากตัวเซลล์ มีลักษณะเป็นแขนงเส้นใยประสาท
ประกอบด้วยเส้นใย 2 ชนิด
ประกอบด้วยสองส่วนที่สาคัญคือ
โครงสร้างเซลล์ประสาท
Cell body
 Cell body หรือ soma รับข้อมูลจาก dendrite
และส่งคาสั่งต่อไปยัง axon
 ประกอบด้วย nucleusและorganelle ต่าง ๆ
เหมือนเซลล์ทั่วไป
 ganglion (ganglia) คือการเข้ามารวมกลุ่มกัน
ของ nerve cell body ในบริเวณ PNS เช่นพบ
ที่ dorsal root ganglion -Nucleus(nuclei):
การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ใน
สมอง (CNS)ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
dorsal root ganglion
 dendrite นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นใน
รูปของสัญญาณไฟฟ้ามายัง cell body
 มักมีแขนงสันๆ จานวนมาก เพื่อให้มีพืนที่
ผิวมากและสามารถรับข้อมูลได้มากๆ
ก่อนจะส่งข้อมูลไปยัง cell body
 มี polyribosome or Nissl body อยู่ใน
บริเวณที่ dendrite รับข้อมูล
 คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon
ขึนอยู่กับความแรงของสัญญาณว่าถึง
threshold หรือไม่
 ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับ
ข้อมูลโดยตรงทาง cell body
Dendrite
 axon นาคาสั่งในรูปของ action
potential จาก cell bodyไปยัง
เซลล์/neuron อื่นนอกจากนียังทาหน้า
ที่ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง
axon ending หรือจาก axon ending
ไปยัง cell body
 - axon hillox : รวบรวมสัญญาณที่ส่ง
มาจากdendrite และก่อให้เกิด action
potential (ถ้าสัญญาณที่รวบรวมได้ไม่
ถึง threshold ก็ไม่เกิด action
potential)
 Nerve: มัดของ axons หลายๆ อันมา
รวมกัน
Axon
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite
Axon Dendrite
1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์
2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine)
3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1
dendrite/cell
4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome
5.มี myelin 5.ไม่มี myelin
6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก
cell body
6.แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับ
cell body
ชวันน์ เซลล์
เกิดจากชวันน์ เซลล์ไปห่อหุ้มแอกซอนโดยการโอบล้อม
ปลายแอกซอน คุณสมบัติเป็นชนวน การเคลื่อนที่ของ
กระแสประสาทเกิดที่ node of ranvier เท่านัน
เซลล์ชวันน์แสดงการเกิดเยื่อหุ้มไมอีลินหุ้มแอกซอน
 เยื่อไมอีลินติดต่อกับเซลล์ชวันน์ (Schwann cell) ทาหน้าที่เป็น
ฉนวนกันประจุไฟฟ้าช่วยให้ถ่ายทอดกระแสได้เร็วขึน
 แอกซอนตรงรอยต่อระหว่างเซลล์ชวันน์แต่ละเซลล์เป็นบริเวณที่
ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม เรียกว่า node of ranvier
 การเกิดแอกชันโพเทนเชียลจะเคลื่อนที่แบบกระโดดจากโนดออฟ
แรนเวียร์หนึ่งไปยังอีกโนดออฟแรนเวียร์หนึ่ง ซึ่งใช้เวลาน้อยกว่า
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
เยื่อไมอีลีน (myelin sheath)
การลาเลียงกระแสประสาทในเส้นใยประสาท
โครงสร้างของเซลล์ประสาท การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
1.ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดใหญ่ 12 – 120 เมตร/วินาที
2. ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดเล็ก 3 – 15 เมตร/วินาที
3. ใยประสาทมีไม่ไมอีลินหุ้ม 0.5 – 2.3 เมตร/วินาที
แบบ 1 พบที่ เส้นประสาทนาความรู้สึกและสั่งการ
แบบ 2 พบที่ เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ
แบบ 3 พบที่ ระบบประสาทซิมพาเทติก และเส้นใยรับความรู้สึกเจ็บปวด ร้อนหนาว
เข้าสู่ไขสันหลัง
ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาท
เยื่อไมอีลิน ถ้าเยื่อประสาทมีเยื่อไมอีลินหุ้มล้อมรอบกระแสประสาทจะ
เคลื่อนที่ได้เร็วขึนประมาณ 10 เท่า
ระยะห่างระหว่างโนด ออฟ แรนเวียร์ ถ้าโนด ออฟ แรนเวียร์ ห่างกัน
มากขึนกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึน
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาท ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใย
ประสาทเพิ่มขึน กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึนเพราะเหตุว่ามี
ความต้านทานต่าลง
ประเภทของเซลล์ประสาท
จาแนกตามหน้าที่ของเซลล์ประสาท แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
ประเภทของเซลล์ประสาท
1.เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
ทาหน้าที่นากระแสประสาทจากหน่วยรับ
ความรู้สึกไปยังสมองและไขสันหลัง
มีเดนไดรต์ต่อยู่กับอวัยวะรับสัมผัสเช่น หู ตา
จมูก ผิวหนัง
มีโครงสร้างเป็นเซลล์ประสาทขัวเดียวหรือ
สองขัว
พบอยู่ที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง
2.เซลล์ประสาทประสานงาน (interneuron
หรือ association neuron)
เซลล์ประสาทที่อยู่ภายในสมองและ
ไขสันหลัง
จะเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทรับ
ความรู้สึกและเซลล์ประสาทสั่งการ
เส้นใยประสาทของเซลล์ประสานงานมี
ความยาวเพียง 4-5ไมโครเมตร
เป็นเซลล์ประสาทหหลายขัว
3.เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron)
ทาหน้าที่นากระแสประสาทจากสมอง
หรือไขสันหลังส่งผ่านแอกซอนไปยัง
หน่วยปฏิบัติงาน
มีแอกซอนยาวกว่าเดนไดรต์อาจยาวถึง
1 เมตร
มีโครงสร้างเป็นเซลล์ประสาทหลายขัว
พบที่สมอง และไขสันหลัง
จาแนกตามโครงสร้างของเซลล์ประสาท แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
1. เซลล์ประสาทขัวเดียว(unipolar neuron)
มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดีแขนงเดียว
เดนไดรท์ยาวกว่าแอกซอนมาก
พบที่เซลล์รับความรู้สึกที่ผิวหนัง ปมประสาท
รากบนของไขสันหลัง(dorsal root ganglion)
เซลล์ประสาทขัวเดียวเทียม(pseudounipolar
neuron) มีแขนงแยกออกจากตัวเซลล์แขนง
เดียวแล้วแตกออกเป็น 2 เส้นใย
2.เซลล์ประสาทสองขัว(bipolar neuron)
มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี 2 แขนง
ความยาวของเดนไดรต์และแอกซอน
ใกล้เคียงกัน
พบที่เซลล์เรตินาของลูกตา เซลล์รับเสียง
ในหูชันใน และเซลล์รับกลิ่นที่จมูก
* เซลล์ประสาทขัวเดียวและสองขัวมักจะทาหน้าที่
เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron)
3.เซลล์ประสาทหลายขัว(multipolar neuron)
มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี หลายแขนงเป็น
แอกซอน 1 และเดนไดรต์หลายแขนง
เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในร่างกายเป็นแบบ
หลายขัว
มีแอกซอนยาว เดนไดรต์สันทาหน้าที่นาคาสั่งไป
ยังอวัยวะตอบสนอง
พบที่สมองและไขสันหลัง
ทาหน้าที่เป็นเซลล์ประสานงานและนาคาสั่ง
Neuroglia : ทาหน้าที่คาจุนเซลล์ประสาทให้อาหารและสนับสนุนให้เซลล์
ประสาททาหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มีหลายชนิด ได้แก่
Supporting cell or glial cells or neuroglia
 Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆcapillary ทาให้
เกิด Blood-brain barrierเป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ ติดกับเซลล์ประสาท
หรือเส้นเลือดที่มาเลียงสมอง ทาหน้าที่รับส่งสารให้แก่เซลล์ประสาท
 Oligodendrocyte (ในCNS) และ Schwann cell (ในPNS) : glial
cell ที่ทาหน้าที่สร้างเยื่อ myelin sheath หุ้มแอกซอนของเซลล์
ประสาทในสมอง
 Microglia มีขนาดเล็กสุดลักษณะเหมือนรากไม้อยู่รอบเซลล์ประสาท
 Ependymal cell เป็นเกลียเซลล์สันบุอยู่รอบๆในสมองและในไขสันหลัง
 Schwann cell เป็นเกลียเซลล์ที่ทาหน้าที่สร้างเยื่อไมอีลินชีทหุ้มแอกซอน
เซลล์เกี่ยวพันประสาท (Neuroglia)
 Astrocyte : Blood brain barrior ที่
ล้อมรอบเส้นเลือดฝอยในสมองและในไข
สันหลังเพื่อนาอาหารให้เซลล์ประสาท
 Oligodendrocyte (Oligodendroglia)
สร้างเยื่อไมอีลินห่อหุ้มแอกซอนของเซลล์
ประสาทที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง
เซลล์เกี่ยวพันประสาท (Neuroglia)
 Microglia : กินสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามา
ในเนือเยื่อประสาท โดยจะทาลาย
เชือจุลินทรีย์และเศษของเซลล์ที่ตายแล้ว
 Schwann cell : สร้างเยื่อไมอีลิน
glial cells
PowerPlugs
เซลล์ประสาทและ
ระบบประสาทของคน
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
bosston Duangtip
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
supreechafkk
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
Peangjit Chamnan
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
Dew Thamita
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
Natthaya Khaothong
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
Thanyamon Chat.
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
Wan Ngamwongwan
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 

Similar to เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
nokbiology
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
Namthip Theangtrong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
yangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
bowpp
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
juriyaporn
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
auttapornkotsuk
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Bios Logos
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
Wan Ngamwongwan
 

Similar to เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน (20)

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ

ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ (20)

คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
Googlesites v.2
Googlesites v.2Googlesites v.2
Googlesites v.2
 

เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน