SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นตัวอย่างแสดงการหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมในกรณีที่ทราบค่าความจริง
ของแต่ละประพจน์ย่อย
ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าความจริงของประพจน์ "ตรังและตราดเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย"
วิธีทา ให้ p แทน ตรังเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย
q แทน ตราดเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย
ประพจน์ที่กาหนดให้อยู่ในรูป qp  เนื่องจาก p เป็นจริง แต่ q เป็นเท็จ
จะได้ qp  เป็นเท็จ
ดังนั้น ประพจน์ "ตรังและตราดเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย" มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ A, B, และ C เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง เท็จ และจริง ตามลาดับ
จงหาค่าความจริงของ   CBA 
วิธีทา จาก A เป็นจริง B เป็นเท็จ จะได้ BA เป็นจริง จาก  BA เป็นจริง C เป็นจริง
จะได้   CBA  เป็นจริง
ดังนั้น   CBA  มีค่าความจริงเป็นจริง
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าความจริงของ  qp ~~  เมื่อ qp, เป็นประพจน์ที่มีค่า
ความจริงเป็นจริง
วิธีทา จาก q เป็นจริง จะได้ q~ เป็นเท็จ จาก p เป็นจริง และ q~ เป็นเท็จ
จะได้ qp ~ เป็นเท็จ
ดังนั้น  qp ~~  มีค่าความจริงเป็นจริง
ในการหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมนั้นอาจทาได้รวดเร็วขึ้น โดยใช้แผนภาพดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ p เป็นจริง q เป็นเท็จ r เป็นเท็จ และ s เป็นจริง
จงหาค่าความจริงของ     sprqp 
วิธีทา
ดังนั้นประพจน์     sprqp  มีค่าความจริงเป็นจริง
การสร้างตารางค่าความจริง
พิจารณาประพจน์ที่มีตัวเชื่อม   rqpqpqpqpqpp  ,,,,,~ ฯลฯ
จะเห็นว่าประพจน์เหล่านี้มี rqp ,, เป็นประพจน์ย่อย ซึ่งยังไม่ได้กาหนดค่าความจริง จะเรียก rqp ,,
ว่าเป็นตัวแปรแทนประพจน์ใดๆ และเรียกประพจน์ที่มีตัวเชื่อม เช่น qpp ,~ ฯลฯ ว่า รูปแบบของประพจน์
เนื่องจาก rqp ,, เป็นตัวแปรแทนประพจน์ใดๆ ดังนั้นในการพิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์จึงต้อง
กาหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อยทุกกรณีที่เป็นไปได้ เช่น
ถ้ามีประพจน์เดียว คือ p ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด มี 2 กรณี
ถ้ามีสองประพจน์ คือ qp, ค่าความจริงที่ต้องพิจารณา มี 4 กรณี
ถ้ามีสามประพจน์ คือ rqp ,, ค่าความจริงที่ต้องพิจารณา มี 8 กรณี ดังเช่น
ในทานองเดียวกัน ถ้ามี n ประพจน์ มีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะต้องพิจารณาทั้งหมด 2n กรณี
ตัวอย่างที่ 5 จงสร้างตารางค่าความจริงของ    qpqp ~~ 
วิธีทา รูปแบบของประพจน์    qpqp ~~  ประกอบด้วยประพจน์ย่อย
สองประพจน์ คือ qp,
จึงมีกรณี เกี่ยวกับค่าความจริงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดเท่ากับ 4 กรณี
สร้างตารางและหาค่าความจริงได้ดังนี้
p q p~ q~ qp  qp ~~     qpqp ~~ 
T
T
F
F
T
F
T
F
F
F
T
T
F
T
F
T
T
F
T
T
F
F
F
T
F
T
F
T
ตัวอย่างที่ 6 จงสร้างตารางค่าความจริงของ   rqp 
วิธีทา รูปแบบประพจน์   rqp  ประกอบด้วยประพจน์ย่อยสามประพจน์ คือ
rqp ,, จึงมีกรณีที่เกี่ยวกับค่าความจริงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด 8 กรณี
สร้างตารางหาค่าความจริงได้ดังต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 7 จงสร้างตารางค่าความเป็นจริงของ    qpqp 
วิธีทา รูปแบบประพจน์    qpqp  ประกอบด้วย
ประพจน์ย่อยสามประพจน์ คือ qp,
สร้างตารางหาค่าความจริงได้ดังต่อไปนี้
p q r qp    rqp 
T
T
T
T
F
F
F
F
T
T
F
F
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
T
F
T
T
F
F
F
F
F
F
T
F
T
T
T
T
T
T
p q qp    pqp     qpqp 
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
T
T
T
F
F
F
T
T
T
T

More Related Content

What's hot

คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์Aon Narinchoti
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 

ตัวอย่างการหาค่าความจริง

  • 1. ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นตัวอย่างแสดงการหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมในกรณีที่ทราบค่าความจริง ของแต่ละประพจน์ย่อย ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าความจริงของประพจน์ "ตรังและตราดเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย" วิธีทา ให้ p แทน ตรังเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย q แทน ตราดเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย ประพจน์ที่กาหนดให้อยู่ในรูป qp  เนื่องจาก p เป็นจริง แต่ q เป็นเท็จ จะได้ qp  เป็นเท็จ ดังนั้น ประพจน์ "ตรังและตราดเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ของไทย" มีค่าความจริงเป็นเท็จ ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ A, B, และ C เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง เท็จ และจริง ตามลาดับ จงหาค่าความจริงของ   CBA  วิธีทา จาก A เป็นจริง B เป็นเท็จ จะได้ BA เป็นจริง จาก  BA เป็นจริง C เป็นจริง จะได้   CBA  เป็นจริง ดังนั้น   CBA  มีค่าความจริงเป็นจริง ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าความจริงของ  qp ~~  เมื่อ qp, เป็นประพจน์ที่มีค่า ความจริงเป็นจริง วิธีทา จาก q เป็นจริง จะได้ q~ เป็นเท็จ จาก p เป็นจริง และ q~ เป็นเท็จ จะได้ qp ~ เป็นเท็จ ดังนั้น  qp ~~  มีค่าความจริงเป็นจริง ในการหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมนั้นอาจทาได้รวดเร็วขึ้น โดยใช้แผนภาพดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ p เป็นจริง q เป็นเท็จ r เป็นเท็จ และ s เป็นจริง จงหาค่าความจริงของ     sprqp  วิธีทา ดังนั้นประพจน์     sprqp  มีค่าความจริงเป็นจริง การสร้างตารางค่าความจริง พิจารณาประพจน์ที่มีตัวเชื่อม   rqpqpqpqpqpp  ,,,,,~ ฯลฯ จะเห็นว่าประพจน์เหล่านี้มี rqp ,, เป็นประพจน์ย่อย ซึ่งยังไม่ได้กาหนดค่าความจริง จะเรียก rqp ,, ว่าเป็นตัวแปรแทนประพจน์ใดๆ และเรียกประพจน์ที่มีตัวเชื่อม เช่น qpp ,~ ฯลฯ ว่า รูปแบบของประพจน์ เนื่องจาก rqp ,, เป็นตัวแปรแทนประพจน์ใดๆ ดังนั้นในการพิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์จึงต้อง กาหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อยทุกกรณีที่เป็นไปได้ เช่น ถ้ามีประพจน์เดียว คือ p ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด มี 2 กรณี ถ้ามีสองประพจน์ คือ qp, ค่าความจริงที่ต้องพิจารณา มี 4 กรณี
  • 2. ถ้ามีสามประพจน์ คือ rqp ,, ค่าความจริงที่ต้องพิจารณา มี 8 กรณี ดังเช่น ในทานองเดียวกัน ถ้ามี n ประพจน์ มีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะต้องพิจารณาทั้งหมด 2n กรณี ตัวอย่างที่ 5 จงสร้างตารางค่าความจริงของ    qpqp ~~  วิธีทา รูปแบบของประพจน์    qpqp ~~  ประกอบด้วยประพจน์ย่อย สองประพจน์ คือ qp, จึงมีกรณี เกี่ยวกับค่าความจริงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดเท่ากับ 4 กรณี สร้างตารางและหาค่าความจริงได้ดังนี้ p q p~ q~ qp  qp ~~     qpqp ~~  T T F F T F T F F F T T F T F T T F T T F F F T F T F T
  • 3. ตัวอย่างที่ 6 จงสร้างตารางค่าความจริงของ   rqp  วิธีทา รูปแบบประพจน์   rqp  ประกอบด้วยประพจน์ย่อยสามประพจน์ คือ rqp ,, จึงมีกรณีที่เกี่ยวกับค่าความจริงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด 8 กรณี สร้างตารางหาค่าความจริงได้ดังต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 7 จงสร้างตารางค่าความเป็นจริงของ    qpqp  วิธีทา รูปแบบประพจน์    qpqp  ประกอบด้วย ประพจน์ย่อยสามประพจน์ คือ qp, สร้างตารางหาค่าความจริงได้ดังต่อไปนี้ p q r qp    rqp  T T T T F F F F T T F F T T F F T F T F T F T F T T F F F F F F T F T T T T T T p q qp    pqp     qpqp  T T F F T F T F T F T T T F F F T T T T