SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ชุดกิจกรรม ชุดที่ 5
เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาของค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
ชื่อ..............................................................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 /….. เลขที่.................
โดย ครูรัศมี ธัญน้อม
ตาแหน่ง ครูชานาญการ
โรงเรียนพิชัย อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
2
คาชี้แจงสาหรับการใช้ชุดกิจกรรม
เรื่อง การวัดค่ากลางของข้อมูล
ชุดกิจกรรมนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดค่ากลางของข้อมูล สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ใช้กระบวนการ 4 ขั้นตอนของโพลยา ขั้นที่หนึ่ง การทาความ
เข้าใจกับปัญหา (Understanding the problem) ขั้นที่สอง วางแผนแก้ปัญหา (Devising a plan)
ขั้นที่สาม ดาเนินการตามแผน (Carring out plan) ขั้นที่สี่ ตรวจสอบผล( Looking back )
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการแก้โจทย์ปัญหา สามารถตีความโจทย์ปัญหาได้ สามารถ
วางแผนในการแก้ปัญหาได้ สามารถดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนได้ รู้จักคิดอย่างมีเหตุผล รู้จัก
คิดวางแผนในการทางาน และให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน โดย
นาโจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์ต่างๆ ที่ใช้ภาษาง่าย เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน เป็น
ภาษาที่นักเรียนคุ้นเคย มีนักเรียนเคยฝึกแก้ปัญหา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้อย่างเป็นลาดับ
ขั้นตอน เพื่อความสะดวกแก่ครูผู้สอน และเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน โดยใช้
กิจกรรมที่หลากหลายให้สอดคล้องกับธรรมชาติและลักษณะของผู้เรียน
องค์ประกอบของชุดกิจกรรม
ผลการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม
บทบาทของครู
สิ่งที่ต้องเตรียม
การจัดสถานที่เรียน
การประเมินผล
สื่อประกอบชุดกิจกรรม
ใบความรู้
ใบกิจกรรม
เฉลยกิจกรรม
แบบประเมินผล
3
องค์ประกอบของชุดกิจกรรม
ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมเพื่อแก้โจทย์ปัญหาการวัดค่ากลางของข้อมูล โดยใช้
กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
1. ผลการเรียนรู้
1. หาค่ากลางของข้อมูลได้
2. สามารถเลือกใช้ค่ากลางได้เหมาะสมกับข้อมูล
2. สาระการเรียนรู้
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
2. มัธยฐาน
3. ฐานนิยม
4. ค่าเฉลี่ยฮาร์มอนิค
5. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถทาความเข้าใจโจทย์ปัญหาของการวัดค่ากลางของข้อมูล
2. นักเรียนสามารถวางแผนการแก้ปัญหาได้
3. นักเรียนสามารถดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนได้
4. นักเรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้
4
คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม
ชุดที่ 5 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
1. บทบาทของครูผู้สอน
1.1 ครูผู้สอนเตรียมตัวให้พร้อม โดยศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมและ
เตรียมสื่อการเรียนที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้
1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูต้องจัดกิจกรรมให้ครบตามที่กาหนดไว้ เพื่อให้
กิจกรรมนั้นเป็นอย่างต่อเนื่องและบรรลุตามวัตถุประสงค์
1.3 ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกครั้ง ครูต้องอธิบาย ชี้แจงการปฏิบัติกิจกรรมให้
ชัดเจนให้นักเรียนได้เข้าใจตรงกัน จึงจะทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุตามเป้ าหมายและมี
ประสิทธิภาพ
1.4 ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม เพื่อเป็นการฝึกให้
นักเรียนรู้จักทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.5 ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จสิ้นลง ในแต่ละกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่ง
ตัวแทนมานาเสนอผลงาน ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
2. สิ่งที่ครูต้องเตรียม
ครูต้องเตรียมสื่อการจัดการเรียนรู้ให้ครบตามขั้นตอนของชุดกิจกรรม ดังนี้
2.1 ใบความรู้
2.2 ใบกิจกรรม
2.3 เครื่องคอมพิวเตอร์(ถ้ามี)
3. การจัดชั้นเรียน(สถานที่เรียน)
ในการเรียนแต่ละครั้ง ครูจะแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มให้มี
ทั้งนักเรียนเก่ง อ่อน อย่างละ1 คน ปานกลาง 2 คน คละกัน แล้วให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มเลือก
ประธานกลุ่มและเลขาของกลุ่ม แบ่งหน้าที่ในการทากิจกรรมและหมุนเวียนหน้าที่กันในกลุ่ม
ช่วยกันทางานกลุ่ม ซึ่งนักเรียนจะอยู่กลุ่มเดียวกันจนสิ้นสุดการสอน
5
ผังการจัดสถานที่เรียน
ห้องศูนย์คณิตศาสตร์
ครู
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4
กลุ่ม 5 กลุ่ม 6 กลุ่ม 7
กลุ่ม 8 กลุ่ม 9 กลุ่ม 10
4. การประเมินผล
4.1 การประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมในกลุ่ม
4.2 การประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคล
6
ชุดกิจกรรมที่ 5 การแก้โจทย์ปัญหาของค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
จานวน 3 คาบ ประกอบด้วย
ใบความรู้ที่ 5.1 ทบทวนสมบัติของลอการิทึม
ใบความรู้ที่ 5.1 โจทย์ปัญหาลอกการิทึม
ใบกิจกรรมที่ 5.2 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
ใบกิจกรรมที่ 5.2 โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
ใบกิจกรรมที่ 5.3 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลแจกแจงความถี่
ใบกิจกรรมที่ 5.3 โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม
จุดประสงค์
จุดประสงค์ประจาหน่วย
นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถทาความเข้าใจปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้
2. นักเรียนสามารถวางแผนการแก้ปัญหาได้
3. นักเรียนสามารถดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนได้
4. นักเรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. สามารถหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้
2. สามารถแก้โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้
7
ใบความรู้ 5.1
ทบทวนการหาค่าลอการิทึม
1. สมบัติของลอกฐานสิบ ถ้า M , N  R+
และ k  R
1. log (MN) = log M + log N
2. log
N
M
= log M - log N
3. log Mk
= k log M
4. log 10 = 1
5. log 1 = 0
2. ฝึกเปิดตารางลอก
log 3.62 = 0.5587 log 7.43 = 0.8710
3. การหาค่าของ log ( N0  10n
) = log N0 + n log 10 = log N0 + n
N0เรียกว่า แมนติสซา (mantissa) และ n เรียกว่าคาแรคเตอริสติค (characteristics)
ตัวอย่างที่ 2.1 จงหาค่าของ log 135
วิธีทา log 135 = log ( 1.35  102
)
= log 1.35 + log 102
= log 1.35 + 2log 10
= log 1.35 + 2
= 2 + log 1.35
= 2 + 0.1303
= 2.1303
ตัวอย่างที่ 2.2 จงหาค่าของ log 0.0415
วิธีทา log 4.15 = log (4.15  10-2
)
= log 4.15 + log 10-2
= log 4.15 - 2log 10
= log 4.15 - 2
= - 2 + log 4.15
= - 2 + 0.6180
= - 1.3820
4. การหา antilogarithm ของ log N การหาค่าของ N
ตัวอย่างที่ 4.1 ให้ log y = 3.7340 จงหาค่า N
วิธีทา log N = 3.7340
= 3 + 0.7340
= 3 + log 5.42
= log 5.42 + log 103
= log (5.42  103
)
antilog N = 5.42  103
= 5420
ตัวอย่างที่ 4.2 ให้ log y = - 2.1720 จงหาค่า N
วิธีทา log N = - 2.1720
= - 2 - 0.1720 + 1 - 1
= 0.8280 - 3
= log 6.73 + log 10- 3
= log (6.73 10-3
)
antilog N = 6.73 10-3
= 0.00673
8
ใบกิจกรรม 5.1
1. ให้ log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771 จงใช้ค่าของ log 2 และ log 3
จงประมาณค่าของ log ต่อไปนี้
1. log 6 =…………………………….
2. log 5 =…………………………….
3. log 8 =…………………………….
4. log 9 =…………………………….
5. log 100 =…………………………….
6. log 1 =…………………………….
2. จงเปิดตารางหาค่าของ log ต่อไปนี้
1. log 2.48 = …………………
2. log 3.4 =……………………
3. log 4.62 =……………………
4. log 5.37 =……………………
5. log 6.59 =……………………
6. log 7.15 =……………………
7. log 8.23 =……………………
8. log 9.09 =……………………
9. log 5.426 =……………………
10. log 8.125 =……………………
3. จงหาค่าของ log ต่อไปนี้
1. log 421 =………………………….
2. log 3570 =………………………….
3. log 0.0432 =………………………….
4. log 0.00786 =………………………….
4. จงหาค่า N (antilogarithm ของ log N )
1. log N = 1.9212
…………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………..
2. log N = 3.4564
…………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………..
3. log N = - 1.2125
…………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………..
4. log N = - 2.1630
…………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………..
9
ใบความรู้ที่ 5.2
เสร็จสิ้นด้วยค่ารากหรือค่าลอกฯ ( ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต )
1. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ( geometric mean )
ก. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงไม่ความถี่
ถ้า X1 , X2 , X3 , . . . , XN เป็นข้อมูล N จานวนซึ่งเป็นจานวนบวกทุกจานวน และไม่มีจานวน
ใดจานวนหนึ่งมีค่าเท่ากับ 0
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต G.M. = N
N321 X...XXX ……สูตรที่ 1
log G.M. = 

N
1i
iXlog
N
1
…….สูตรที่ 2
ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูล 2 , 8 , 32 , 128
วิธีทา สูตรที่ 1 จาก G.M. = N
N321 X...XXX
= 4
1283282 xxx
= 4 16
2 = 24
= 16
วิธีทา สูตรที่ 2 log G.M. = 

N
1i
iXlog
N
1
= )128log32log8log2(log
4
1

= )1072.25051.19031.03010.0(
4
1

log G.M. = )8164.4(
4
1
= 1.2041
= 0.2041 + 1
= log 1.6 + log 10
log G.M. = log ( 1.6 x10 )
antilog G.M. = 1.6 x10 = 16
10
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูล 7.96 , 13.82 , 22.95 . 35.34
ให้ log 7.96 = 0.9009 log 13.82 = 1.1405
log 22.95 = 1.3608 log 35.34 = 1.5483
วิธีทา ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต G.M. = N
N321 X...XXX
log G.M. = 

N
1i
iXlog
N
1
= 

4
1i
iXlog
4
1
=
4
955.4
log G.M. = 1.2376
antilog G.M. = 17.28
ตัวอย่างที่ 3 ถ้าสิรินภามีเงินใช้จ่าย 9,300 บาท หรือ 93 ( หน่วย : 100 ) และ ต้องการใช้ให้หมด
ภายใน 5 วัน โดยจ่ายในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 48 24 12 6 3 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่าย
ต่อวัน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
วิธีทา ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนหน่วยของการใช้จ่ายเงิน 5 วัน
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน
ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา
เลือกใช้สูตรค่าลอกฯ เพราะข้อมูลแต่ละค่าไม่สามารถหาค่ารากได้
ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน
แสดงวิธีการคานวณคาตอบ ใช้สูตร
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต G.M. = N
N321 X...XXX
log G.M. = 

N
1i
iXlog
N
1
= 

5
1i
iXlog
5
1
=
5
1
(log 48 + log 24+ log 12 +log6 +log 3 )
=
5
1
(1.681 + 1.380 + 1.079 + 0.778 + 0.477)
=
5
1
(5.395) = 1.079 = 0.079 + 1
log G.M. = log 1.2 + 1 = log (1.2  10)
antilog G.M. = 12 (เปิดตารางลอกฯ)
ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายเงินต่อวัน คือ 1200 บาท
11
ใบกิจกรรมที่ 5.2
ชื่อ……………………………………...................ชั้น……………….เลขที่………….
ข. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงไม่ความถี่
จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
1. ข้อมูล 2 , 4 , 8
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
2. ข้อมูล 4 , 8 , 8, 16
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
3. ข้อมูล 3 , 8 , 9
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
4. ข้อมูล 2 , 4 , 6 , 8 , 12 , 16
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
5. ข้อมูล 2 , 4 , 4 , 8 , 8 , 12 , 12 , 16 , 18 , 24
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
12
6. ถ้านางสาววริษฐา มีเงินใช้จ่าย 2500 บาท หรือ (25 หน่วย : 100 ) และถ้าต้องการใช้ให้หมด
ภายใน 1 – 5 โดยเสียค่าใช้ในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 8 , 6 , 4 , 4 , 3
จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
กาหนด log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771
log 4 = 0.6021 log 6 = 0.7782
log 8 = 0.9031 log 4.7 = 0.6721
log 4.8 = 0.6812 log 4.9 = 0.6902
ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
13
ใบความรู้ที่ 5.3
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่
ในกรณีที่ XI มีความถี่ fI และ 
k
i
if
1
= N
สูตรที่ 1 G.M. = N f
N
f
3
f
2
f
1 k321 X...XXX
สูตรที่ 2 log G.M. = 

k
1i
ii Xlogf
N
1
ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นคะแนนสอบกลางภาควิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5
ซึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนนของนักเรียน 20 คน ดังนี้
คะแนน 1 – 5 6 – 10 11- 15 16 – 20
ความถี่(f) 4 5 8 3
จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
วิธีทา ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด คะแนนและความถี่
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา
2.1 สร้างตารางแจกแจงความถี่
2.2 กาหนดตัวแปร x แทนจุดกึ่งกลางชั้น และ f แทนความถี่
ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน
3. 1 สร้างตารางแจกแจงความถี่ หาจุดกึ่งกลางชั้น(x) หา log x และ f (log x )
3.2 แสดงวิธีการคานวณคาตอบ ใช้สูตร
ตารางที่ 5.2ก
คะแนน ความถี่ (f) จุดกึ่งกลางชั้น (x) log x f (log x )
1 – 5 4 3 log 3 = 0.4771 1.9084
6 – 10 5 8 log 8 = 0.9031 4.5155
11- 15 8 13 log 13 = 1 + 0.1139 8.9112
16 - 20 3 18 log 18 = 1 + 0.2553 3.7659
14
รวม 20 - -


k
1i
ii Xlogf = 19.101
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต สูตรที่ 2 log G.M. = 

k
1i
ii Xlogf
N
1
= )101.19(
20
1
= 0.95505 0.9551
log G.M. = log 9.02 (เปิดตารางลอกริทึม)
antilog G.M. = 9.02
ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของคะแนนสอบ เท่ากับ 9.02 คะแนน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้
4.1 เขียนคาตอบที่โจทย์ถาม ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของคะแนนสอบ เท่ากับ 9.02 คะแนน
4.2 แสดงวิธีการตรวจผลของคาตอบ
N log G.M. = 

k
1i
ii Xlogf
20(0.9551) = 19.10
15
ใบกิจกรรมที่ 5.3
ชื่อ……………………………………...................ชั้น……………….เลขที่………….
5.2 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่
ตารางแจกแจงความถี่แสดงคะแนนสอบปลายภาควิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 50 คน ดังนี้
คะแนน 10 - 14 15 - 19 20 - 24 25 - 29 30 - 34 35 -39
จานวน(คน) 3 7 10 14 9 7
จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
ตารางที่ 5.2 ข
ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา
ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้
คะแนน ความถี่ (f) จุดกึ่งกลางชั้น (x) log x f log x
10 - 14 3
15 – 19 7
20 – 24 10
25 – 29 14
30 – 34 9
35 - 39 7
รวม 50
16
แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม ชุดที่ 5 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 ( ค43201 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทย์-คณิต
จุดประสงค์ที่ 5 หาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลได้
1. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
9 , 81
ก. 3 ข. 9
ค. 27 ง. 27
2. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
2 , 4 , 8
ก. 2 ข. 4
ค. 3
2 ง. 2
3.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
2 , 4 , 8 , 64
ก. 6 ข. 8
ค. 4
8 ง. 8
4.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
2 , 4 , 8 , 16 , 32
ก. 4 ข. 8
ค 16 ง. 5
8
5.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
2 , 8 , 32 , 128
ก. 6 ข. 8
ค. 16 ง. 5
16
6.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
2 , 4 , 6 , 12
ก. 4.9 ข. 6
ค. 6 ง. 4
6
7. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
6 , 6 ,16 , 18 , 24
ก. 8 ข. 10
ค. 12 ง. 15
8. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
2 , 4 , 8 , 16
ก. 2 ข. 22
ค. 24 ง. 8
9. ผลการสอบกลางภาควิชาคณิตศาสตร์ ของ
นักเรียนกลุ่มหนึ่งจานวน 20 คน เป็นดังนี้
คะแนน ความถี่
1 - 5 4
6 - 10 9
11 - 15 2
16 - 20 5
รวม 20
จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
ก. 10 ข. 9.12
ค. 8.83 ง. 8.45
10. ถ้านางสาวใจดี มีเงินใช้จ่าย 3000 บาท
หรือ (30 หน่วย : 100 ) และถ้าต้องการใช้ให้หมด
ภายใน 1 – 5 โดยเสียค่าใช้ในวันที่ 1 – 5 ดังนี้
2 , 4 , 6 , 8 , 10
กาหนด log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771
log 4 = 0.6021 log 6 = 0.7782
log 8 = 0.9031 log 4.85 = 0.6857
log 4.92 = 0.6920 log 5 = 0.6990
log 5.21 = 0.7168
จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน
ก. 485 ข. 492
ค. 500 ง. 521
17
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2544 ). การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2544 ). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 . กรุงเทพมหานคร :
คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2545 ). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ . กรุงเทพมหานคร :
คุรุสภาลาดพร้าว.
ฉวีวรรณ เศวตมาลย์. (2545). ชุดปฏิรูปการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่ 4 ( ม.4 - 6) เล่ม 3 สาระที่ 5
การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ประสานมิตร.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2547). คู่มือครูสาระการเรียนรู้
เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร:
คุรุสภา ลาดพร้าว.
. (2548). หนังสือเรียนสาระ เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว.
. (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว.
ค่ากลางของข้อมูล. http://www.chanupatham.ac.th/math/pensri/Unit4_02.htm : [ออนไลน์]
24 มีนาคม 2553
18
19
20
21
22
เฉลยใบกิจกรรม 5 ก
1. ให้ log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771 จงใช้ค่าของ log 2 และ log 3
จงประมาณค่าของ log ต่อไปนี้
1. log 6 =……0.7781
2. log 5 =……0.6990
3. log 8 =……0.9030
4. log 9 =……0.9542
5. log 100 =……2
6. log 0.0001 =…… - 4
2. จงเปิดตารางหาค่าของ log ต่อไปนี้
1. log 2.48 = ….0.3945
2. log 3.4 =……0.5315
3. log 4.62 =……0.6646
4. log 5.37 =……0.7300
5. log 6.59 =……0.8189
6. log 7.15 =……0.8543
7. log 8.23 =……0.9154
8. log 9.09 =……0.9586
9. log 5.426 =….0.73448  0.7345
10. log 8.125 =…0.90985  0.9099
3. จงหาค่าของ log ต่อไปนี้
1. log 421 =……2.6243
2. log 3570 =……3.5527
3. log 0.0432 =…… - 1.3645
4. log 0.00786 =…… - 2.1046
4. จงหาค่า y (antilog )
1. log y = 1.9212
y = …83.4
2. log y = 3.4564
y = …2860
3. log y = - 1.2125
y = …0.0613
4. log y = - 2.1630
y = …0.00687
23
เฉลย ใบกิจกรรมที่ 5.1
ข้อมูล ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
1. 2 , 4 , 8 2
2. 4 , 8 , 8, 16 8
3. 3 , 8 , 9 6
4. 6 , 8 , 16 , 18 , 18 12
5. 2 , 4 , 4 , 8 , 8 , 12 , 12 , 16 , 18 , 24 8.53
6. ถ้านางสาววริษฐา มีเงินใช้จ่าย 2500 บาท หรือ (25 หน่วย : 100 ) และถ้าต้องการใช้ให้หมด
ภายใน 1 – 5 โดยเสียค่าใช้ในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 8 , 6 , 4 , 4 , 3
จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
ตอบ ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายเงิน 470 ต่อวัน
เฉลยใบกิจกรรมที่ 5.2
ตารางที่5.2ข ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
คะแนน ความถี่ (f) จุดกึ่งกลางชั้น (x) log x f log x
10 - 14 3 12 1.0792 3.2376
15 – 19 7 17 1.2304 8.6128
20 – 24 10 22 1.3424 13.424
25 – 29 14 27 1.4314 20.0396
30 – 34 9 32 1.5051 13.5459
35 - 39 7 37 1.5682 10.9774
รวม 50 - - 69.8373
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่
สูตรที่ 2 log G.M. = 
k
i
ii Xf
N 1
log
1
=
50
8373.69
= 1.3967 = 0.3967 + 1
24
การประมาณค่าของลอกฯ
log G.M. = 0.3967 + 1
= log 2.493 + log 10
= log (2.493  10)
antilog G.M. = 2.493  10
= 24.93
การประมาณค่าของลอกฯ
log 2.49 = 0.3962
log x = 0.3967
log 2.5 = 0.3979
ตั้งอัตราส่วน
49.25.2
49.2

x
=
3962.03979.0
3962.03967.0


01.0
49.2x
=
0017.0
0005.0
x – 2.49 =
0017.0
0005.0
 0.01
x  0.003 + 2.49
 2.493
เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม
ชุดที่ 5 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
1. ค 6. ข
2. ข 7. ค
3. ข 8. ค
4. ข 9. ง
5. ค 10. ก

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมkanjana2536
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2Khunnawang Khunnawang
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 

Was ist angesagt? (20)

เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 

Ähnlich wie ชุดที่ 5

ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 krurutsamee
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดmaneewaan
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้supamit jandeewong
 
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิตนวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิตปิยวิทย์ เหลืองระลึก
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานNittaya Noinan
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมKamolthip Boonpo
 

Ähnlich wie ชุดที่ 5 (20)

ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
 
แบบฝึกทักรวมชุด 2
แบบฝึกทักรวมชุด 2แบบฝึกทักรวมชุด 2
แบบฝึกทักรวมชุด 2
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
E book math
E book mathE book math
E book math
 
E book math
E book mathE book math
E book math
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวด
 
M1
M1M1
M1
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิตนวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
 
Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
 

Mehr von krurutsamee

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน krurutsamee
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนkrurutsamee
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 krurutsamee
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1 krurutsamee
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2 krurutsamee
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3 krurutsamee
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5 krurutsamee
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccskrurutsamee
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อมkrurutsamee
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์krurutsamee
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 

Mehr von krurutsamee (20)

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 

ชุดที่ 5

  • 1. ชุดกิจกรรม ชุดที่ 5 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาของค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ชื่อ.............................................................. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 /….. เลขที่................. โดย ครูรัศมี ธัญน้อม ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนพิชัย อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
  • 2. 2 คาชี้แจงสาหรับการใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง การวัดค่ากลางของข้อมูล ชุดกิจกรรมนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดค่ากลางของข้อมูล สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ใช้กระบวนการ 4 ขั้นตอนของโพลยา ขั้นที่หนึ่ง การทาความ เข้าใจกับปัญหา (Understanding the problem) ขั้นที่สอง วางแผนแก้ปัญหา (Devising a plan) ขั้นที่สาม ดาเนินการตามแผน (Carring out plan) ขั้นที่สี่ ตรวจสอบผล( Looking back ) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการแก้โจทย์ปัญหา สามารถตีความโจทย์ปัญหาได้ สามารถ วางแผนในการแก้ปัญหาได้ สามารถดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนได้ รู้จักคิดอย่างมีเหตุผล รู้จัก คิดวางแผนในการทางาน และให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน โดย นาโจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์ต่างๆ ที่ใช้ภาษาง่าย เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน เป็น ภาษาที่นักเรียนคุ้นเคย มีนักเรียนเคยฝึกแก้ปัญหา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้อย่างเป็นลาดับ ขั้นตอน เพื่อความสะดวกแก่ครูผู้สอน และเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน โดยใช้ กิจกรรมที่หลากหลายให้สอดคล้องกับธรรมชาติและลักษณะของผู้เรียน องค์ประกอบของชุดกิจกรรม ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม บทบาทของครู สิ่งที่ต้องเตรียม การจัดสถานที่เรียน การประเมินผล สื่อประกอบชุดกิจกรรม ใบความรู้ ใบกิจกรรม เฉลยกิจกรรม แบบประเมินผล
  • 3. 3 องค์ประกอบของชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมเพื่อแก้โจทย์ปัญหาการวัดค่ากลางของข้อมูล โดยใช้ กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1. ผลการเรียนรู้ 1. หาค่ากลางของข้อมูลได้ 2. สามารถเลือกใช้ค่ากลางได้เหมาะสมกับข้อมูล 2. สาระการเรียนรู้ 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. มัธยฐาน 3. ฐานนิยม 4. ค่าเฉลี่ยฮาร์มอนิค 5. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถทาความเข้าใจโจทย์ปัญหาของการวัดค่ากลางของข้อมูล 2. นักเรียนสามารถวางแผนการแก้ปัญหาได้ 3. นักเรียนสามารถดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนได้ 4. นักเรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้
  • 4. 4 คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม ชุดที่ 5 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต 1. บทบาทของครูผู้สอน 1.1 ครูผู้สอนเตรียมตัวให้พร้อม โดยศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมและ เตรียมสื่อการเรียนที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ 1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูต้องจัดกิจกรรมให้ครบตามที่กาหนดไว้ เพื่อให้ กิจกรรมนั้นเป็นอย่างต่อเนื่องและบรรลุตามวัตถุประสงค์ 1.3 ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกครั้ง ครูต้องอธิบาย ชี้แจงการปฏิบัติกิจกรรมให้ ชัดเจนให้นักเรียนได้เข้าใจตรงกัน จึงจะทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุตามเป้ าหมายและมี ประสิทธิภาพ 1.4 ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม เพื่อเป็นการฝึกให้ นักเรียนรู้จักทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.5 ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จสิ้นลง ในแต่ละกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทนมานาเสนอผลงาน ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม 2. สิ่งที่ครูต้องเตรียม ครูต้องเตรียมสื่อการจัดการเรียนรู้ให้ครบตามขั้นตอนของชุดกิจกรรม ดังนี้ 2.1 ใบความรู้ 2.2 ใบกิจกรรม 2.3 เครื่องคอมพิวเตอร์(ถ้ามี) 3. การจัดชั้นเรียน(สถานที่เรียน) ในการเรียนแต่ละครั้ง ครูจะแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มให้มี ทั้งนักเรียนเก่ง อ่อน อย่างละ1 คน ปานกลาง 2 คน คละกัน แล้วให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มเลือก ประธานกลุ่มและเลขาของกลุ่ม แบ่งหน้าที่ในการทากิจกรรมและหมุนเวียนหน้าที่กันในกลุ่ม ช่วยกันทางานกลุ่ม ซึ่งนักเรียนจะอยู่กลุ่มเดียวกันจนสิ้นสุดการสอน
  • 5. 5 ผังการจัดสถานที่เรียน ห้องศูนย์คณิตศาสตร์ ครู กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 กลุ่ม 6 กลุ่ม 7 กลุ่ม 8 กลุ่ม 9 กลุ่ม 10 4. การประเมินผล 4.1 การประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมในกลุ่ม 4.2 การประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคล
  • 6. 6 ชุดกิจกรรมที่ 5 การแก้โจทย์ปัญหาของค่าเฉลี่ยเรขาคณิต จานวน 3 คาบ ประกอบด้วย ใบความรู้ที่ 5.1 ทบทวนสมบัติของลอการิทึม ใบความรู้ที่ 5.1 โจทย์ปัญหาลอกการิทึม ใบกิจกรรมที่ 5.2 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ใบกิจกรรมที่ 5.2 โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ใบกิจกรรมที่ 5.3 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลแจกแจงความถี่ ใบกิจกรรมที่ 5.3 โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม จุดประสงค์ จุดประสงค์ประจาหน่วย นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถทาความเข้าใจปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้ 2. นักเรียนสามารถวางแผนการแก้ปัญหาได้ 3. นักเรียนสามารถดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนได้ 4. นักเรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สามารถหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้ 2. สามารถแก้โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตได้
  • 7. 7 ใบความรู้ 5.1 ทบทวนการหาค่าลอการิทึม 1. สมบัติของลอกฐานสิบ ถ้า M , N  R+ และ k  R 1. log (MN) = log M + log N 2. log N M = log M - log N 3. log Mk = k log M 4. log 10 = 1 5. log 1 = 0 2. ฝึกเปิดตารางลอก log 3.62 = 0.5587 log 7.43 = 0.8710 3. การหาค่าของ log ( N0  10n ) = log N0 + n log 10 = log N0 + n N0เรียกว่า แมนติสซา (mantissa) และ n เรียกว่าคาแรคเตอริสติค (characteristics) ตัวอย่างที่ 2.1 จงหาค่าของ log 135 วิธีทา log 135 = log ( 1.35  102 ) = log 1.35 + log 102 = log 1.35 + 2log 10 = log 1.35 + 2 = 2 + log 1.35 = 2 + 0.1303 = 2.1303 ตัวอย่างที่ 2.2 จงหาค่าของ log 0.0415 วิธีทา log 4.15 = log (4.15  10-2 ) = log 4.15 + log 10-2 = log 4.15 - 2log 10 = log 4.15 - 2 = - 2 + log 4.15 = - 2 + 0.6180 = - 1.3820 4. การหา antilogarithm ของ log N การหาค่าของ N ตัวอย่างที่ 4.1 ให้ log y = 3.7340 จงหาค่า N วิธีทา log N = 3.7340 = 3 + 0.7340 = 3 + log 5.42 = log 5.42 + log 103 = log (5.42  103 ) antilog N = 5.42  103 = 5420 ตัวอย่างที่ 4.2 ให้ log y = - 2.1720 จงหาค่า N วิธีทา log N = - 2.1720 = - 2 - 0.1720 + 1 - 1 = 0.8280 - 3 = log 6.73 + log 10- 3 = log (6.73 10-3 ) antilog N = 6.73 10-3 = 0.00673
  • 8. 8 ใบกิจกรรม 5.1 1. ให้ log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771 จงใช้ค่าของ log 2 และ log 3 จงประมาณค่าของ log ต่อไปนี้ 1. log 6 =……………………………. 2. log 5 =……………………………. 3. log 8 =……………………………. 4. log 9 =……………………………. 5. log 100 =……………………………. 6. log 1 =……………………………. 2. จงเปิดตารางหาค่าของ log ต่อไปนี้ 1. log 2.48 = ………………… 2. log 3.4 =…………………… 3. log 4.62 =…………………… 4. log 5.37 =…………………… 5. log 6.59 =…………………… 6. log 7.15 =…………………… 7. log 8.23 =…………………… 8. log 9.09 =…………………… 9. log 5.426 =…………………… 10. log 8.125 =…………………… 3. จงหาค่าของ log ต่อไปนี้ 1. log 421 =…………………………. 2. log 3570 =…………………………. 3. log 0.0432 =…………………………. 4. log 0.00786 =…………………………. 4. จงหาค่า N (antilogarithm ของ log N ) 1. log N = 1.9212 ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ……………………………………………….. 2. log N = 3.4564 ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ……………………………………………….. 3. log N = - 1.2125 ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ……………………………………………….. 4. log N = - 2.1630 ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………..
  • 9. 9 ใบความรู้ที่ 5.2 เสร็จสิ้นด้วยค่ารากหรือค่าลอกฯ ( ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ) 1. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ( geometric mean ) ก. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงไม่ความถี่ ถ้า X1 , X2 , X3 , . . . , XN เป็นข้อมูล N จานวนซึ่งเป็นจานวนบวกทุกจานวน และไม่มีจานวน ใดจานวนหนึ่งมีค่าเท่ากับ 0 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต G.M. = N N321 X...XXX ……สูตรที่ 1 log G.M. =   N 1i iXlog N 1 …….สูตรที่ 2 ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูล 2 , 8 , 32 , 128 วิธีทา สูตรที่ 1 จาก G.M. = N N321 X...XXX = 4 1283282 xxx = 4 16 2 = 24 = 16 วิธีทา สูตรที่ 2 log G.M. =   N 1i iXlog N 1 = )128log32log8log2(log 4 1  = )1072.25051.19031.03010.0( 4 1  log G.M. = )8164.4( 4 1 = 1.2041 = 0.2041 + 1 = log 1.6 + log 10 log G.M. = log ( 1.6 x10 ) antilog G.M. = 1.6 x10 = 16
  • 10. 10 ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูล 7.96 , 13.82 , 22.95 . 35.34 ให้ log 7.96 = 0.9009 log 13.82 = 1.1405 log 22.95 = 1.3608 log 35.34 = 1.5483 วิธีทา ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต G.M. = N N321 X...XXX log G.M. =   N 1i iXlog N 1 =   4 1i iXlog 4 1 = 4 955.4 log G.M. = 1.2376 antilog G.M. = 17.28 ตัวอย่างที่ 3 ถ้าสิรินภามีเงินใช้จ่าย 9,300 บาท หรือ 93 ( หน่วย : 100 ) และ ต้องการใช้ให้หมด ภายใน 5 วัน โดยจ่ายในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 48 24 12 6 3 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่าย ต่อวัน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา วิธีทา ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนหน่วยของการใช้จ่ายเงิน 5 วัน 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา เลือกใช้สูตรค่าลอกฯ เพราะข้อมูลแต่ละค่าไม่สามารถหาค่ารากได้ ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน แสดงวิธีการคานวณคาตอบ ใช้สูตร ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต G.M. = N N321 X...XXX log G.M. =   N 1i iXlog N 1 =   5 1i iXlog 5 1 = 5 1 (log 48 + log 24+ log 12 +log6 +log 3 ) = 5 1 (1.681 + 1.380 + 1.079 + 0.778 + 0.477) = 5 1 (5.395) = 1.079 = 0.079 + 1 log G.M. = log 1.2 + 1 = log (1.2  10) antilog G.M. = 12 (เปิดตารางลอกฯ) ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายเงินต่อวัน คือ 1200 บาท
  • 11. 11 ใบกิจกรรมที่ 5.2 ชื่อ……………………………………...................ชั้น……………….เลขที่…………. ข. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงไม่ความถี่ จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 1. ข้อมูล 2 , 4 , 8 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 2. ข้อมูล 4 , 8 , 8, 16 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 3. ข้อมูล 3 , 8 , 9 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 4. ข้อมูล 2 , 4 , 6 , 8 , 12 , 16 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 5. ข้อมูล 2 , 4 , 4 , 8 , 8 , 12 , 12 , 16 , 18 , 24 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….
  • 12. 12 6. ถ้านางสาววริษฐา มีเงินใช้จ่าย 2500 บาท หรือ (25 หน่วย : 100 ) และถ้าต้องการใช้ให้หมด ภายใน 1 – 5 โดยเสียค่าใช้ในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 8 , 6 , 4 , 4 , 3 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา กาหนด log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771 log 4 = 0.6021 log 6 = 0.7782 log 8 = 0.9031 log 4.7 = 0.6721 log 4.8 = 0.6812 log 4.9 = 0.6902 ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 13. 13 ใบความรู้ที่ 5.3 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ ในกรณีที่ XI มีความถี่ fI และ  k i if 1 = N สูตรที่ 1 G.M. = N f N f 3 f 2 f 1 k321 X...XXX สูตรที่ 2 log G.M. =   k 1i ii Xlogf N 1 ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นคะแนนสอบกลางภาควิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 ซึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนนของนักเรียน 20 คน ดังนี้ คะแนน 1 – 5 6 – 10 11- 15 16 – 20 ความถี่(f) 4 5 8 3 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา วิธีทา ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด คะแนนและความถี่ 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา 2.1 สร้างตารางแจกแจงความถี่ 2.2 กาหนดตัวแปร x แทนจุดกึ่งกลางชั้น และ f แทนความถี่ ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน 3. 1 สร้างตารางแจกแจงความถี่ หาจุดกึ่งกลางชั้น(x) หา log x และ f (log x ) 3.2 แสดงวิธีการคานวณคาตอบ ใช้สูตร ตารางที่ 5.2ก คะแนน ความถี่ (f) จุดกึ่งกลางชั้น (x) log x f (log x ) 1 – 5 4 3 log 3 = 0.4771 1.9084 6 – 10 5 8 log 8 = 0.9031 4.5155 11- 15 8 13 log 13 = 1 + 0.1139 8.9112 16 - 20 3 18 log 18 = 1 + 0.2553 3.7659
  • 14. 14 รวม 20 - -   k 1i ii Xlogf = 19.101 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต สูตรที่ 2 log G.M. =   k 1i ii Xlogf N 1 = )101.19( 20 1 = 0.95505 0.9551 log G.M. = log 9.02 (เปิดตารางลอกริทึม) antilog G.M. = 9.02 ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของคะแนนสอบ เท่ากับ 9.02 คะแนน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้ 4.1 เขียนคาตอบที่โจทย์ถาม ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของคะแนนสอบ เท่ากับ 9.02 คะแนน 4.2 แสดงวิธีการตรวจผลของคาตอบ N log G.M. =   k 1i ii Xlogf 20(0.9551) = 19.10
  • 15. 15 ใบกิจกรรมที่ 5.3 ชื่อ……………………………………...................ชั้น……………….เลขที่…………. 5.2 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ ตารางแจกแจงความถี่แสดงคะแนนสอบปลายภาควิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 50 คน ดังนี้ คะแนน 10 - 14 15 - 19 20 - 24 25 - 29 30 - 34 35 -39 จานวน(คน) 3 7 10 14 9 7 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา ตารางที่ 5.2 ข ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา ขั้นที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้ คะแนน ความถี่ (f) จุดกึ่งกลางชั้น (x) log x f log x 10 - 14 3 15 – 19 7 20 – 24 10 25 – 29 14 30 – 34 9 35 - 39 7 รวม 50
  • 16. 16 แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม ชุดที่ 5 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 ( ค43201 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทย์-คณิต จุดประสงค์ที่ 5 หาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลได้ 1. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 9 , 81 ก. 3 ข. 9 ค. 27 ง. 27 2. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 2 , 4 , 8 ก. 2 ข. 4 ค. 3 2 ง. 2 3.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 2 , 4 , 8 , 64 ก. 6 ข. 8 ค. 4 8 ง. 8 4.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 2 , 4 , 8 , 16 , 32 ก. 4 ข. 8 ค 16 ง. 5 8 5.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 2 , 8 , 32 , 128 ก. 6 ข. 8 ค. 16 ง. 5 16 6.จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 2 , 4 , 6 , 12 ก. 4.9 ข. 6 ค. 6 ง. 4 6 7. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 6 , 6 ,16 , 18 , 24 ก. 8 ข. 10 ค. 12 ง. 15 8. จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลต่อไปนี้ 2 , 4 , 8 , 16 ก. 2 ข. 22 ค. 24 ง. 8 9. ผลการสอบกลางภาควิชาคณิตศาสตร์ ของ นักเรียนกลุ่มหนึ่งจานวน 20 คน เป็นดังนี้ คะแนน ความถี่ 1 - 5 4 6 - 10 9 11 - 15 2 16 - 20 5 รวม 20 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ก. 10 ข. 9.12 ค. 8.83 ง. 8.45 10. ถ้านางสาวใจดี มีเงินใช้จ่าย 3000 บาท หรือ (30 หน่วย : 100 ) และถ้าต้องการใช้ให้หมด ภายใน 1 – 5 โดยเสียค่าใช้ในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 2 , 4 , 6 , 8 , 10 กาหนด log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771 log 4 = 0.6021 log 6 = 0.7782 log 8 = 0.9031 log 4.85 = 0.6857 log 4.92 = 0.6920 log 5 = 0.6990 log 5.21 = 0.7168 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน ก. 485 ข. 492 ค. 500 ง. 521
  • 17. 17 บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2544 ). การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว. . (2544 ). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 . กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว. . (2545 ). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ . กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว. ฉวีวรรณ เศวตมาลย์. (2545). ชุดปฏิรูปการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่ 4 ( ม.4 - 6) เล่ม 3 สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ประสานมิตร. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2547). คู่มือครูสาระการเรียนรู้ เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภา ลาดพร้าว. . (2548). หนังสือเรียนสาระ เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว. . (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว. ค่ากลางของข้อมูล. http://www.chanupatham.ac.th/math/pensri/Unit4_02.htm : [ออนไลน์] 24 มีนาคม 2553
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 20. 20
  • 21. 21
  • 22. 22 เฉลยใบกิจกรรม 5 ก 1. ให้ log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771 จงใช้ค่าของ log 2 และ log 3 จงประมาณค่าของ log ต่อไปนี้ 1. log 6 =……0.7781 2. log 5 =……0.6990 3. log 8 =……0.9030 4. log 9 =……0.9542 5. log 100 =……2 6. log 0.0001 =…… - 4 2. จงเปิดตารางหาค่าของ log ต่อไปนี้ 1. log 2.48 = ….0.3945 2. log 3.4 =……0.5315 3. log 4.62 =……0.6646 4. log 5.37 =……0.7300 5. log 6.59 =……0.8189 6. log 7.15 =……0.8543 7. log 8.23 =……0.9154 8. log 9.09 =……0.9586 9. log 5.426 =….0.73448  0.7345 10. log 8.125 =…0.90985  0.9099 3. จงหาค่าของ log ต่อไปนี้ 1. log 421 =……2.6243 2. log 3570 =……3.5527 3. log 0.0432 =…… - 1.3645 4. log 0.00786 =…… - 2.1046 4. จงหาค่า y (antilog ) 1. log y = 1.9212 y = …83.4 2. log y = 3.4564 y = …2860 3. log y = - 1.2125 y = …0.0613 4. log y = - 2.1630 y = …0.00687
  • 23. 23 เฉลย ใบกิจกรรมที่ 5.1 ข้อมูล ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต 1. 2 , 4 , 8 2 2. 4 , 8 , 8, 16 8 3. 3 , 8 , 9 6 4. 6 , 8 , 16 , 18 , 18 12 5. 2 , 4 , 4 , 8 , 8 , 12 , 12 , 16 , 18 , 24 8.53 6. ถ้านางสาววริษฐา มีเงินใช้จ่าย 2500 บาท หรือ (25 หน่วย : 100 ) และถ้าต้องการใช้ให้หมด ภายใน 1 – 5 โดยเสียค่าใช้ในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 8 , 6 , 4 , 4 , 3 จงหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายต่อวัน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา ตอบ ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของการใช้จ่ายเงิน 470 ต่อวัน เฉลยใบกิจกรรมที่ 5.2 ตารางที่5.2ข ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต คะแนน ความถี่ (f) จุดกึ่งกลางชั้น (x) log x f log x 10 - 14 3 12 1.0792 3.2376 15 – 19 7 17 1.2304 8.6128 20 – 24 10 22 1.3424 13.424 25 – 29 14 27 1.4314 20.0396 30 – 34 9 32 1.5051 13.5459 35 - 39 7 37 1.5682 10.9774 รวม 50 - - 69.8373 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ สูตรที่ 2 log G.M. =  k i ii Xf N 1 log 1 = 50 8373.69 = 1.3967 = 0.3967 + 1
  • 24. 24 การประมาณค่าของลอกฯ log G.M. = 0.3967 + 1 = log 2.493 + log 10 = log (2.493  10) antilog G.M. = 2.493  10 = 24.93 การประมาณค่าของลอกฯ log 2.49 = 0.3962 log x = 0.3967 log 2.5 = 0.3979 ตั้งอัตราส่วน 49.25.2 49.2  x = 3962.03979.0 3962.03967.0   01.0 49.2x = 0017.0 0005.0 x – 2.49 = 0017.0 0005.0  0.01 x  0.003 + 2.49  2.493 เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม ชุดที่ 5 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต 1. ค 6. ข 2. ข 7. ค 3. ข 8. ค 4. ข 9. ง 5. ค 10. ก