SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เกณฑ์การประกวดแข่งขัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
      งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน




             ครั้งที่ ๖๒/๒๕๕๕
    สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
         กระทรวงศึกษาธิการ
สารบัญ
เรื่อง                                       หน้า
กิจกรรมการแข่งขัน                             ๑
การแข่งขันทักษะภาษาไทย
        ๑. คณะกรรมการตัดสิน                   ๒
       ๒. เกณฑ์การตัดสิน                      ๒
       ๓. การเข้าแข่งขันระดับชาติ             ๒
 รายละเอียดการแข่งขันแต่ละประเภท
       ๑. การอ่าน                             ๓
       ๒. เรียงความและคัดลายมือ               ๕
       ๓. ท่องอาขยานทานองเสนาะ                ๗
       ๔. สุนทรพจน์                           ๙
       ๕. แต่งบทร้อยกรอง                      ๑๐
๑


      กิจกรรมการแข่งขัน

                                                  ระดับชั้น
       รายการกิจกรรม                   สพป.                        สพม.          ประเภท     หมายเหตุ
                               ป.๑–๓ ป. ๔–๖ ม. ๑–๓            ม.๑–๓ ม.๔–๖
การแข่งขันทักษะภาษาไทย
๑. การอ่าน                                                                    เดี่ยว   ประเภททีม
๒. เรียงความและคัดลายมือ                                                      เดี่ยว   เป็นนักเรียน
๓. ท่องอาขยานทานองเสนาะ                                                       เดี่ยว   โรงเรียน
๔. สุนทรพจน์                                                                    เดี่ยว   เดียวกัน
๕. แต่งบทร้อยกรอง                                                               ทีม ๒ คน
    ๕.๑ กลอนสี่                            
   ๕.๒ กาพย์ยานี ๑๑                                            
    ๕.๓ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑                                             
                                  ๓        ๔          ๕         ๕        ๕
            รวม                            ๑๒                       ๑๐
รวม ๕ กิจกรรม                                   ๒๒ รายการ
การประกวดหนังสือเล่มเล็ก ย้ายไปรวมกับ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

      หมายเหตุ ผู้เข้าแข่งขันภาษาไทย รายการที่ ๑ – ๕ แต่ละประเภท จะต้องไม่เคยได้รับรางวัลที่มีคะแนน
                    สูงสุดของเหรียญทองระดับชาติทุกประเภทในปีการศึกษา ๒๕๕๓ -๒๕๕๔




      ง
๒

การแข่งขันทักษะภาษาไทย
๑. คณะกรรมการตัดสิน (ทักษะภาษาไทย รายการที่ ๑ – ๕)
         คุณสมบัติของคณะกรรมการ
                ๑) ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านภาษาไทย หรือ
                ๒) ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือ
                ๓) ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
         ข้อควรคานึง
                 ๑) กรรมการที่เป็นครูต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
และกรรมการที่เป็นศึกษานิเทศก์ต้องไม่ตัดสินในกรณีที่มีนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดเขตของตน
เข้าแข่งขัน
                ๒) กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทาการสอน
                ๓) กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่างๆ หลายเขตในภาคเดียวกัน
                ๔) กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมแก่นักเรียนที่เข้าประกวดภายหลังเสร็จสิ้น
การประกวด
๒. เกณฑ์การตัดสิน
        ร้อยละ ๘๐ – ๑๐๐            ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญทอง
        ร้อยละ ๗๐ – ๗๙        ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน
        ร้อยละ ๖๐ – ๖๙        ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญทองแดง
        คะแนนต่ากว่าร้อยละ ๖๐ ได้รับรางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน เว้นแต่ในรายที่กรรมการมีความเห็น
เป็นอย่างอื่น
        การตัดสินของคณะกรรมการทุกประเภทถือเป็นที่สุด
๓. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
         ๑) บุคคลหรือทีมที่ได้คะแนนลาดับที่ ๑ - ๓ จากการแข่งขันระดับภาค จะเป็นตัวแทนเข้า
แข่งขันในระดับชาติ
         ๒) ในกรณีที่มีผู้ชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า ๓ คน/ทีม ให้พิจารณาลาดับตามลาดับ
ข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น บุคคลหรือทีมที่ได้คะแนนข้อที่ ๑ เท่ากัน ให้ใช้คะแนน
ข้อที่ ๒ หากได้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถือว่าเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ ๒ เท่ากัน ให้ใช้คะแนนข้อถัดไป
กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อ ให้ใช้วิธีจับสลาก
๓


รายละเอียดการแข่งขันแต่ละประเภท
๑. การอ่าน
       ๑.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
               ๑.๑.๑ ชั้น ป. ๑ - ๓
               ๑.๑.๒ ชั้น ป. ๔ – ๖
               ๑.๑.๓ ชั้น ม. ๑ – ๓
               ๑.๑.๔ ชั้น ม. ๔ – ๖
        ๑.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
               ๑.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว
               ๑.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน
                       ๑) ชั้น ป .๑ – ๓ จานวน ๑ คน
                       ๒) ชั้น ป .๔ - ๖ จานวน ๑ คน
                       ๓) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน
                        ๔) ชัน ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน
                               ้
        ๑.๓ ทักษะที่ใช้ในการแข่งขัน
                  ๑.๓.๑ ชั้น ป. ๑ – ๓ , ป. ๔ – ๖ การอ่านออกเสียงและความเข้าใจการอ่าน
                  ๑.๓.๒ ชั้น ม. ๑ – ๓ , ม. ๔ – ๖ การอ่านในใจและความเข้าใจการอ่าน
        ๑.๔ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
                      ๑.๔.๑ ชั้น ป. ๑ – ๓ และ ป. ๔ – ๖ (การอ่านออกเสียงและความเข้าใจการอ่าน)
ผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนในชั้นนั้น ต้องเข้าแข่งขันทั้งสองทักษะ โดยเริ่มจากอ่านออกเสียงจากข้อความที่
กาหนดให้ และตอบคาถามจากเนื้อเรื่องที่อ่าน
                   (๑) การอ่านออกเสียง
                         เนื้อหาที่จะให้ผู้เข้าแข่งขันอ่าน คณะกรรมการเป็นผู้เตรียม โดยกรรมการเรียก
นักเรียนอ่านทีละคน การอ่านออกเสียงทุกชั้น ดาเนินการดังนี้
                          ๑) นักเรียนจับสลากลาดับที่เข้ารับการแข่งขันการอ่านทีละคน
                          ๒) เก็บตัวนักเรียนไว้แยกจากห้องแข่งขันการอ่าน และไม่ให้ได้ยินเสียงการอ่าน
                          ๓) กรรมการเรียกนักเรียนเข้าอ่านทีละคนตามลาดับที่จับสลากได้
                          ๔) นักเรียนอ่านคนละไม่เกิน ๓ นาที
๔

                  (๒) ความเข้าใจการอ่าน
                   เนื้อหาที่จะให้ผู้เข้าแข่งขันพูดตอบคาถาม เป็นเรื่องเดียวกับที่นักเรียนใช้แข่งขันอ่าน โดย
                         ๑) เล่าเรื่องย่อได้
                         ๒) บอกข้อคิด หรือประโยชน์จากเรื่องที่อ่าน
                         ๓) บอกความหมายของคาศัพท์สาคัญจากเรื่องที่อ่าน อย่างน้อย ๕ คา
                  (๓) เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
             เกณฑ์การอ่านออกเสียง (อ่านผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน ไม่คิดคาซ้า) คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
                         ๑) อักขรวิธี ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์การออกเสียง                     ๑๕ คะแนน
                         ๒) ออกเสียง ร ล และคาควบกล้า ชัดเจน                                 ๑๐ คะแนน
                         ๓) อ่านไม่เกินคา อ่านไม่ขาดคา และอ่านไม่ตู่คา                       ๑๐ คะแนน
                         ๔) การเว้นวรรคตอน จังหวะ และน้าหนักคา                               ๑๕ คะแนน
           ความเข้าใจการอ่าน คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
                         ๑) เล่าเรื่องย่อได้                                        ๒๐ คะแนน
                         ๒) บอกข้อคิดและประโยชน์ที่ได้จากเรื่องที่อ่าน                       ๒๐ คะแนน
                         ๓) บอกความหมายของคา/ประโยค ที่อ่าน                            ๑๐ คะแนน
                 (๔) กรรมการทุกท่านนาคะแนนจากการอ่านออกเสียงและความเข้าใจการอ่าน
หาค่าเฉลี่ยเป็นผลคะแนนตัดสินตามเกณฑ์ข้างต้น
                  (๕) คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน
                  (๖) สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้
และมีห้องเก็บตัวสาหรับผู้ที่รอการแข่งขัน
            ๑.๔.๒ ชั้น ม. ๑ – ๓ และ ม. ๔ – ๖ (การอ่านในใจและความเข้าใจการอ่าน)
                         (๑) คณะกรรมการเตรียมข้อสอบที่มีบทอ่านและคาถาม ทั้ง ๒ ระดับ สาหรับใช้
เวลาในการทดสอบ ๑.๓๐ ชั่วโมง
                          (๒) ลักษณะบทอ่านเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง เนื้อหาหลากหลาย ที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวันทั้งเนื้อหาเชิงวิชาการ (รายงานข่าว รายงานทางวิชาการ บทความ กราฟ สถิติ ประกาศ
ของทางราชการ โฆษณา หรือ ข้อแนะนาต่าง ๆ ฯลฯ ) บันเทิงคดี (นวนิยาย เรื่องสั้น การ์ตูน เพลง
ฯลฯ ) และสารคดี (ท่องเที่ยว วัฒนธรรม กีฬา ฯลฯ )
๕

                 (๓) ลักษณะข้อสอบให้มีคาถามครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้
                      ๑) การจับใจความสาคัญ
                      ๒) การจาแนกข้อเท็จจริงและความคิดเห็น
                      ๓) การตีความและการแปลความ
                      ๔) ข้อคิดและประโยชน์ของสิ่งที่อ่าน
                      ๕) การประเมินค่า
        โดยมีลักษณะคาถาม แบบเลือกตอบ และ แบบปลายเปิด
                 (๔) เกณฑ์การตัดสิน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
           กรรมการกาหนดน้าหนักคะแนน เป็น ๒ ส่วน คือ การตอบแบบเลือกตอบ และการตอบแบบ
ปลายเปิด เป็นผลคะแนนตัดสินตามหัวข้อ (๓) ข้อ ๑) – ๕) ข้างต้น
                 (๕) คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน
                 (๖) สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้
พร้อมกัน โดยนั่งตามเลขที่
๖

๒. เรียงความและคัดลายมือ
      ๒.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
            ๒.๑.๑ ชั้น ป. ๑ - ๓
            ๒.๑.๒ ชั้น ป. ๔ - ๖
            ๒.๑.๓ ชั้น ม. ๑ - ๓
            ๒.๑.๔ ชั้น ม. ๔- ๖
      ๒.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
            ๒.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว
            ๒.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน
                              ๑) ชั้น ป. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน
                              ๒) ชั้น ป. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน
                              ๓) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน
                              ๔) ชั้น ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน
      ๒.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
                ๒.๓.๑ กรรมการเตรียมขอบเขตเนื้อหา ให้นักเรียนเขียน ๓ ประเด็น และดาเนินการ ดังนี้
                              ๑) ให้ตัวแทนนักเรียนจับสลากประเด็นที่กาหนดให้เขียนเรียงความ
                              ๒) ชี้แจงให้นักเรียนเขียนเรียงความ ตามประเด็นที่ตัวแทนนักเรียนจับสลาก
และตั้งชื่อเรื่องเอง ภายในเวลาภายใน ๑.๓๐ ชั่วโมง
                ๒.๓.๒ เขียนเรียงความสด
                       ชั้น ป. ๑ – ๓ ความยาวไม่น้อยกว่า ๑๐ แต่ไม่เกิน ๑๕ บรรทัด คัดลายมือเต็ม
บรรทัดด้วยดินสอ โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
                       ชั้น ป. ๔ – ๖ ความยาวไม่น้อยกว่า ๑๕ แต่ไม่เกิน ๒๐ บรรทัด คัดลายมือครึ่ง
บรรทัด ด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
                       ชั้น ม. ๑ – ๓ ความยาวไม่น้อยกว่า ๒๕ แต่ไม่เกิน ๓๐ บรรทัด คัดลายมือครึ่ง
บรรทัดด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
                        ชั้น ม. ๔- ๖ ความยาวไม่น้อยกว่า ๓๐ แต่ไม่เกิน ๓๕ บรรทัด คัดลายมือครึ่ง
บรรทัดด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
                        เมือหมดเวลา ถือว่าเสร็จสิ้นการแข่งขัน
                            ่
๗

  ๒.๔ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น
     ๒.๔.๑ การเขียนเรียงความ คะแนนเต็ม ๗๕ คะแนน
              ๑) การตั้งชื่อเรื่อง สอดคล้องกับเรื่องที่เขียน            ๑๐ คะแนน
              ๒) เนื้อเรื่อง                                            ๔๐ คะแนน
              - แสดงแนวคิดต่อเนื่องสอดคล้องกันตลอดทั้งเรื่อง           ๑๕ คะแนน
              - แสดงเหตุและผลอย่างสมเหตุสมผล                           ๑๕ คะแนน
              - ยกตัวอย่าง อ้างอิงประกอบ มีสานวนโวหาร สุภาษิต คาคม
                 ตัวเลข สถิติ บุคคล ฯลฯ ได้อย่างเหมาะสม                 ๑๐ คะแนน
              ๓) รูปแบบ ประกอบด้วย ส่วนนา เนื้อเรื่อง และบทสรุป ๕ คะแนน
              ๔) เขียนถูกต้องตามอักขรวิธี                              ๑๕ คะแนน
                     ( การสะกดคา เว้นวรรคตอน เครื่องหมายวรรคตอน)
               ๕) ความยาวของเรื่องตามกาหนด                              ๕ คะแนน
    ๒.๔.๒ การคัดลายมือ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
          ๑) ใช้ตัวอักษรตามรูปแบบของกระทรวงศึกษาธิการ                   ๑๕ คะแนน
                อ่านง่าย เป็นระเบียบ
          ๒) สะอาดเรียบร้อย                                             ๑๐ คะแนน
๒.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน
๒.๖ สถานทีจัดแข่งขัน ควรใช้ห้องเรียนที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน
            ่
๘

๓. ท่องอาขยานทานองเสนาะ
     ๓.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
           ๓.๑.๑ ชั้น ป. ๑ - ๓
           ๓.๑.๒ ชั้น ป. ๔ - ๖
           ๓.๑.๓ ชั้น ม. ๑ - ๓
           ๓.๑ ๔. ชั้น ม. ๔ - ๖
     ๓.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
           ๓.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว
           ๓.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน
                     ๑) ชั้น ป. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน
                     ๒) ชั้น ป. ๔ - ๖ จานวน ๑ คน
                     ๓) ชั้น ม. ๑ - ๓ จานวน ๑ คน
                     ๔) ชั้น ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน
       ๓.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
              ๓.๓.๑ เนื้อหาที่จะใช้แข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ เป็นบทหลักและบทเลือกของแต่ละชั้น
ตามหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทอาขยานภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หรือ
ช่วงชั้นที่ ๑ - ช่วงชั้นที่ ๔ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ผู้เข้าแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะโดยไม่ดูบท
             ๓.๓.๒ คณะกรรมการเตรียมบทอาขยาน บทหลักและบทเลือกทั้งหมดของแต่ละชั้นปี โดยให้
ตัวแทนกรรมการจับสลากบทหลักและบทเลือก อย่างละ ๓ บท รวมเป็น ๖ บท แล้วให้ผู้เข้าแข่งขันแต่ละคน
จับสลากเลือกเพียง ๑ บท จากจานวน ๖ บท ที่ตัวแทนกรรมการจับสลากไว้ แล้ว
           ๓.๓.๓ การแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ขอให้นักเรียนท่องบทอาขยานที่จับสลากได้เป็น
ทานองเสนาะ ตามลักษณะฉันทลักษณ์ของบทอาขยานนั้นๆ ตัวอย่างเช่น
           กาพย์เห่เรือ ท่องเป็น โคลงสี่สุภาพ และกาพย์ยานี ๑๑
            เสภาเรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน ท่องเป็น กลอนสุภาพ
           สามัคคีเสวก ท่องเป็น กลอนสุภาพ
             ๓.๓.๔ เวลาในการท่องบทอาขยานทานองเสนาะ ขึ้นอยู่กับเนื้อหา
๙



      ๓.๔. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น
            ๓.๔.๑ ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรอง                                  ๓๐ คะแนน
            ๓.๔.๒ ถูกต้องตามอักขรวิธี (ออกเสียงตัว ร, ล คาควบกล้า ฯลฯ)               ๓๐ คะแนน
                         (ออกเสียงผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน)
            ๓.๔.๓ น้าเสียง ความหนักเบา และความชัดเจน                                ๒๐ คะแนน
            ๓.๔.๔ อารมณ์ความรู้สึกสอดคล้องกับบทอาขยานทานองเสนาะ                     ๑๐ คะแนน
            ๓. ๔.๕ บุคลิกภาพ ความสง่างาม ความมั่นใจ                                  ๑๐ คะแนน
      ๓.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน
      ๓.๖ สถานทีจัดแข่งขัน จัดเวทีให้นักเรียนขึ้นท่องอาขยานทานองเสนาะต่อหน้าคณะกรรมการ และมี
                 ่
ทีนั่งสาหรับผู้ชม ส่วนนักเรียนที่ยังไม่ได้เข้าแข่งขันให้พักในห้องเก็บตัว
  ่
๑๐

๔. สุนทรพจน์
     ๔.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
          ๔.๑.๑ ชั้น ม. ๑ - ๓
          ๔.๑.๒ ชั้น ม. ๔ – ๖
    ๔.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
            ๔.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว
            ๔.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน
                   ๑) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน
                   ๒) ชั้น ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน
   ๔.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
         รอบที่ ๑ (ทราบหัวข้อล่วงหน้า)
            ๔.๓.๑ กรรมการเตรียมประเด็น โดยกาหนดเป็นชื่อเรื่องการกล่าวสุนทรพจน์ ประกาศให้
โรงเรียนในแต่ละภาคทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๗ วัน ก่อนการแข่งขัน
            ๔.๓.๒ ในวันแข่งขันให้นักเรียนที่เข้าแข่งขัน นาบทกล่าวสุนทรพจน์จานวน ๕ ชุด ให้กรรมการใน
วันแข่งขัน และจับสลากเพื่อจัดอันดับการกล่าวสุนทรพจน์
           ๔.๓. ๓ กรรมการให้ผู้เข้าแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ตามลาดับ โดยมีการเก็บตัวผู้ที่ยังไม่ได้แข่งขัน
           ๔.๓.๔ ระยะเวลาในการกล่าวสุนทรพจน์ ไม่เกิน ๕ นาที (บวก/ลบ ๓๐ วินาที)
         รอบที่ ๒ (ฉับพลัน)
                 ๑) กรรมการเตรียมประเด็นให้นักเรียนลาดับที่ ๑ ของรอบแรก เตรียมตัวหน้าเวทีก่อนขึ้น
         พูด ๕ นาที นักเรียนคนอื่นๆ พักรอในห้องเก็บตัว
                 ๒) นักเรียนคนที่ ๑ ขึ้นกล่าวบนเวทีใช้เวลาไม่เกิน ๕ นาที
                 ๓) นักเรียนลาดับต่อไปรับทราบประเด็นในห้องเก็บตัวอีกห้องหนึ่ง ใช้เวลาเตรียมตัว
๕ นาที และขึ้นกล่าวสุนทรพจน์หลังจากที่นักเรียนคนที่ ๑ พูดจบ เวียนไปจนครบจานวนนักเรียนที่เข้าแข่งขัน
๑๑

๔.๔. เกณฑ์การให้คะแนน แต่ละรอบมีคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น
       ๔.๔.๑ เนื้อหา ๔๐ คะแนน
            ๑) ลาดับเนื้อหา ความต่อเนื่อง                              ๒๐ คะแนน
            ๒) ความถูกต้องของข้อมูล ความสอดคล้องกับหัวข้อ              ๑๐ คะแนน
            ๓) คุณค่าของเนื้อหา (ประโยชน์ของเนื้อหาที่จะนาไปใช้)       ๑๐ คะแนน
      ๔.๔.๒ การนาเสนอ ๓๐ คะแนน
            ๑) อักขรวิธี                                               ๑๐ คะแนน
            ๒) น้าเสียง                                                ๑๐ คะแนน
            ๓) บุคลิกภาพ                                               ๑๐ คะแนน
     ๔.๔.๓ การใช้ภาษา ๓๐ คะแนน
            ๑) ระดับภาษาเหมาะสมกับเนื้อหา                              ๑๐ คะแนน
            ๒) ความถูกต้อง (การเลือกใช้คา การผูกประโยค ไวยากรณ์)       ๑๐ คะแนน
            ๓) สานวนโวหาร                                              ๑๐ คะแนน
๔.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน
 ๔.๖ สถานทีจัดแข่งขัน
            ่
      ๔.๖.๑ จัดเวทีให้นักเรียนขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ต่อหน้าคณะกรรมการ และมีที่นั่งสาหรับผู้ชม
      ๔.๖.๒ ห้องเก็บตัวผู้ที่รอการแข่งขัน
๑๒

๕ . แต่งบทร้อยกรอง
   ๕.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
        ๕.๑.๑ ชั้น ป. ๔ - ๖
        ๕.๑.๒ ชั้น ม. ๑ - ๓
        ๕.๑.๓ ชั้น ม. ๔ – ๖
   ๕.๒. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
        ๕.๒.๑ แข่งขันประเภททีม ทีมละ ๒ คน
        ๕.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน
                 ๑) ชั้น ป. ๔ - ๖ จานวน ๑ ทีม
                  ๒) ชั้น ม. ๑ - ๓ จานวน ๑ ทีม
                 ๓) ชั้น ม. ๔ - ๖ จานวน ๑ ทีม
  ๕.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
        ๕.๓.๑ กรรมการกาหนดหัวข้อที่จะใช้ในการแข่งขัน จานวน ๓ หัวข้อ
        ๕.๓.๒ ให้นักเรียนจับสลากเลือกหัวข้อที่ใช้แต่งแล้วนาไปแต่งบทร้อยกรอง
                  ๑) ชั้น ป. ๔ - ๖ แต่งกลอนสี่                              จานวน ๔ บท
                  ๒) ชั้น ม. ๑ - ๓ แต่งกาพย์ยานี ๑๑                         จานวน ๘ บท
                  ๓) ชั้น ม. ๔ - ๖ แต่งอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑                 จานวน ๘ บท
        ๕.๓.๓ ใช้เวลาในการแต่ง ๑ ชั่วโมง
  ๕.๔ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
         ๕.๔.๑ บทร้อยกรองทีผิดฉันทลักษณ์ ต่อไปนี้ กรรมการจะไม่นาไปตรวจให้คะแนน
                                 ่
                  ๑) ไม่มีสัมผัสระหว่างวรรค
                  ๒) ไม่มีสัมผัสระหว่างบท
                  ๓) ใช้สระเสียงสั้น สัมผัสกับสระเสียงยาวเป็นสัมผัสบังคับ ( เช่น ใช้“ใจ”สัมผัสกับ“กาย”)
                  ๔) เขียนไม่ครบตามที่กาหนด
                  ๕) กรณีแต่ฉันท์ วางคา ครุ ลหุ ไม่ถูกตาแหน่ง
๑๓

          ๕.๔.๒ บทร้อยกรองทีไม่ผิดฉันทลักษณ์ กรรมการจะนาไปตรวจให้คะแนนโดยมีหลักเกณฑ์
                                 ่
การให้คะแนนดังนี้
                 ๑) ฉันทลักษณ์และอักขรวิธี                               ๒๐ คะแนน
                      - เขียนตัวสะกดการันต์ผิด หักคาละ ๒ คะแนน
                      - มีสัมผัสซ้า       หักคะแนนตาแหน่งละ ๕ คะแนน
                     - มีสัมผัสเลือน หักคะแนนตาแหน่งละ ๕ คะแนน
                  ๒) ความคิดและเนื้อหา                                ๔๐ คะแนน
                           - ตรงประเด็น หมายความว่า นักเรียนจะต้องใช้หัวข้อที่กาหนดให้เป็นแกนเรื่อง
                            - เสนอแนวคิดสร้างสรรค์ หมายความว่า เนื้อหาที่นักเรียนเสนอนั้นให้แง่คิดที่เป็น
ประโยชน์แก่ผู้อ่าน เช่น แง่คิดในการดารงชีวิต การเข้าใจสังคม การปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
                            - เสนอแนวคิดแปลกใหม่ หมายถึง แนวความคิดที่ไม่ค่อยมีใครพูดถึง เป็น
แนวความคิดที่มีเหตุผลและอยู่ในขอบเขตของหัวข้อ
                 ๓) กวีโวหาร                                          ๔๐ คะแนน
                            - สัมผัสราบรื่น อ่านแล้วเกิดความไพเราะ
                            - ใช้โวหารต่างๆ ส่งเสริมเนื้อหาให้มีความหมายลึกซึ้งกินใจ เช่น การกล่าว
เปรียบเทียบ และใช้บุคลาธิษฐาน เป็นต้น
                            - การเล่นตัวอักษร เล่นคา ที่ช่วยให้คาประพันธ์มีความไพเราะยิ่งขึ้น
          ๕.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน
          ๕.๖ สถานที่จัดแข่งขัน         ควรเป็นห้องที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้
ผู้ประสานงานการจัดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
                       งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ / ๒๕๕๕


                               การแข่งขันทักษะภาษาไทย

      ภาค            สพป. / สพม.                  ผู้ประสานงาน             เบอร์โทรศัพท์
ภาคเหนือ      สพป. เชียงใหม่ เขต ๑      นางวัชราภรณ์ วัตรสุข           ๐๘๙ - ๙๕๑๖๙๘๓
              สพป. เชียงใหม่ เขต ๒      นางสุภาภรณ์ กิตติรัชตานนท์     ๐๘๔ - ๕๔๐๐๕๑๕
                                        นายโสภณ ชัยเพ็ชร               ๐๘๙ - ๙๕๒๔๔๑๒
              สพป. เชียงใหม่ เขต ๔      นางดารณีย์ พยัคฆ์กุล           ๐๘๑ - ๗๖๔๕๖๖๒
              สพม. เขต ๓๔ (เชียงใหม่)   นางสาวพิมพ์สุดา เอี่ยมสกุล     ๐๘๘ - ๔๓๐๒๑๒๘
ภาคตะวันออก   สพป. ชัยภูมิ เขต ๑        นายวิชัย เพ็ชรเรือง            ๐๘๗ - ๘๘๐๙๘๓๖
เฉียงเหนือ                              นางพรทิพา นันทะสุข             ๐๘๙ - ๘๔๕๕๔๕๔
                                        นายประดิษฐ์ จันทรังษ์          ๐๘๗ - ๗๑๗๖๗๕๐
              สพม. เขต ๓๐ ( ชัยภูมิ)    นางถาวร จิวาลักษณ์             ๐๘๑ - ๙๗๖๑๘๓๔
ภาคกลาง       สพป. ระยอง เขต ๑          นางศิริพร สุวรรณศรี            ๐๘๖ - ๒๓๗๘๕๔๔
              สพม. เขต ๑๘ (ระยอง)       นางเถาวรรณ์ อัมระนันทน์        ๐๘๖ - ๐๔๒๘๙๒๑
ภาคใต้        สพป. ภูเก็ต               นางสุดารัตน์ จูทอง             ๐๘๙ - ๗๒๙๑๐๐๔
              สพม. เขต ๑๔ (ภูเก็ต)      นางละมุล รอดขวัญ               ๐๘๑ - ๙๗๙๔๓๕๐
                                        นางวิภาดา ศรีทานนท์            ๐๘๙ - ๒๘๙๘๘๔๒
การแข่งขัน    สถาบันภาษาไทย สวก.        นางสาวนิจสุดา อภินันทาภรณ์     ๐๘๑ - ๕๘๑๑๔๘๓
ระดับประเทศ                             นางสาวพัชรา ตระกูลสิริพันธุ์   ๐๘๕ - ๔๘๕๙๓๓๙

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55krutip
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3Aiwilovekao
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษNontaporn Pilawut
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paperpeter dontoom
 
วิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียน
วิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียนวิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียน
วิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียนNirut Uthatip
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slidesharenunawanna
 

Was ist angesagt? (15)

Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
Kruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contestKruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contest
 
สังคมป6
สังคมป6สังคมป6
สังคมป6
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
 
Work you selt2
Work you selt2Work you selt2
Work you selt2
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paper
 
วิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียน
วิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียนวิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียน
วิธีดำเนินการและเกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียน
 
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf20142014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
 

Andere mochten auch

หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.krupornpana55
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDKruKaiNui
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Andere mochten auch (11)

Art
ArtArt
Art
 
Social
SocialSocial
Social
 
Math 2
Math 2Math 2
Math 2
 
Job
JobJob
Job
 
Physical
PhysicalPhysical
Physical
 
Activity
ActivityActivity
Activity
 
Science
ScienceScience
Science
 
Eng
EngEng
Eng
 
หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Ähnlich wie Thai

คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่jintanasuti
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่jintanasuti
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมรคุณครูพี่อั๋น
 

Ähnlich wie Thai (20)

คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
 
Math
MathMath
Math
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
Port arom 2561
Port arom 2561Port arom 2561
Port arom 2561
 
Las m2 53
Las m2 53Las m2 53
Las m2 53
 
Work you selt3
Work you selt3Work you selt3
Work you selt3
 
Sar peter 60
Sar peter 60Sar peter 60
Sar peter 60
 
Work you selt
Work you seltWork you selt
Work you selt
 

Mehr von krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Mehr von krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

Thai

  • 1. เกณฑ์การประกวดแข่งขัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒/๒๕๕๕ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า กิจกรรมการแข่งขัน ๑ การแข่งขันทักษะภาษาไทย ๑. คณะกรรมการตัดสิน ๒ ๒. เกณฑ์การตัดสิน ๒ ๓. การเข้าแข่งขันระดับชาติ ๒ รายละเอียดการแข่งขันแต่ละประเภท ๑. การอ่าน ๓ ๒. เรียงความและคัดลายมือ ๕ ๓. ท่องอาขยานทานองเสนาะ ๗ ๔. สุนทรพจน์ ๙ ๕. แต่งบทร้อยกรอง ๑๐
  • 3. กิจกรรมการแข่งขัน ระดับชั้น รายการกิจกรรม สพป. สพม. ประเภท หมายเหตุ ป.๑–๓ ป. ๔–๖ ม. ๑–๓ ม.๑–๓ ม.๔–๖ การแข่งขันทักษะภาษาไทย ๑. การอ่าน      เดี่ยว ประเภททีม ๒. เรียงความและคัดลายมือ      เดี่ยว เป็นนักเรียน ๓. ท่องอาขยานทานองเสนาะ      เดี่ยว โรงเรียน ๔. สุนทรพจน์    เดี่ยว เดียวกัน ๕. แต่งบทร้อยกรอง ทีม ๒ คน ๕.๑ กลอนสี่  ๕.๒ กาพย์ยานี ๑๑   ๕.๓ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑  ๓ ๔ ๕ ๕ ๕ รวม ๑๒ ๑๐ รวม ๕ กิจกรรม ๒๒ รายการ การประกวดหนังสือเล่มเล็ก ย้ายไปรวมกับ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายเหตุ ผู้เข้าแข่งขันภาษาไทย รายการที่ ๑ – ๕ แต่ละประเภท จะต้องไม่เคยได้รับรางวัลที่มีคะแนน สูงสุดของเหรียญทองระดับชาติทุกประเภทในปีการศึกษา ๒๕๕๓ -๒๕๕๔ ง
  • 4. ๒ การแข่งขันทักษะภาษาไทย ๑. คณะกรรมการตัดสิน (ทักษะภาษาไทย รายการที่ ๑ – ๕) คุณสมบัติของคณะกรรมการ ๑) ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านภาษาไทย หรือ ๒) ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือ ๓) ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ข้อควรคานึง ๑) กรรมการที่เป็นครูต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน และกรรมการที่เป็นศึกษานิเทศก์ต้องไม่ตัดสินในกรณีที่มีนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดเขตของตน เข้าแข่งขัน ๒) กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทาการสอน ๓) กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่างๆ หลายเขตในภาคเดียวกัน ๔) กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมแก่นักเรียนที่เข้าประกวดภายหลังเสร็จสิ้น การประกวด ๒. เกณฑ์การตัดสิน ร้อยละ ๘๐ – ๑๐๐ ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญทอง ร้อยละ ๗๐ – ๗๙ ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน ร้อยละ ๖๐ – ๖๙ ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญทองแดง คะแนนต่ากว่าร้อยละ ๖๐ ได้รับรางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน เว้นแต่ในรายที่กรรมการมีความเห็น เป็นอย่างอื่น การตัดสินของคณะกรรมการทุกประเภทถือเป็นที่สุด ๓. การเข้าแข่งขันระดับชาติ ๑) บุคคลหรือทีมที่ได้คะแนนลาดับที่ ๑ - ๓ จากการแข่งขันระดับภาค จะเป็นตัวแทนเข้า แข่งขันในระดับชาติ ๒) ในกรณีที่มีผู้ชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า ๓ คน/ทีม ให้พิจารณาลาดับตามลาดับ ข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น บุคคลหรือทีมที่ได้คะแนนข้อที่ ๑ เท่ากัน ให้ใช้คะแนน ข้อที่ ๒ หากได้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถือว่าเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ ๒ เท่ากัน ให้ใช้คะแนนข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อ ให้ใช้วิธีจับสลาก
  • 5. ๓ รายละเอียดการแข่งขันแต่ละประเภท ๑. การอ่าน ๑.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๑.๑.๑ ชั้น ป. ๑ - ๓ ๑.๑.๒ ชั้น ป. ๔ – ๖ ๑.๑.๓ ชั้น ม. ๑ – ๓ ๑.๑.๔ ชั้น ม. ๔ – ๖ ๑.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๑.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป .๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๒) ชั้น ป .๔ - ๖ จานวน ๑ คน ๓) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๔) ชัน ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน ้ ๑.๓ ทักษะที่ใช้ในการแข่งขัน ๑.๓.๑ ชั้น ป. ๑ – ๓ , ป. ๔ – ๖ การอ่านออกเสียงและความเข้าใจการอ่าน ๑.๓.๒ ชั้น ม. ๑ – ๓ , ม. ๔ – ๖ การอ่านในใจและความเข้าใจการอ่าน ๑.๔ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๑.๔.๑ ชั้น ป. ๑ – ๓ และ ป. ๔ – ๖ (การอ่านออกเสียงและความเข้าใจการอ่าน) ผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนในชั้นนั้น ต้องเข้าแข่งขันทั้งสองทักษะ โดยเริ่มจากอ่านออกเสียงจากข้อความที่ กาหนดให้ และตอบคาถามจากเนื้อเรื่องที่อ่าน (๑) การอ่านออกเสียง เนื้อหาที่จะให้ผู้เข้าแข่งขันอ่าน คณะกรรมการเป็นผู้เตรียม โดยกรรมการเรียก นักเรียนอ่านทีละคน การอ่านออกเสียงทุกชั้น ดาเนินการดังนี้ ๑) นักเรียนจับสลากลาดับที่เข้ารับการแข่งขันการอ่านทีละคน ๒) เก็บตัวนักเรียนไว้แยกจากห้องแข่งขันการอ่าน และไม่ให้ได้ยินเสียงการอ่าน ๓) กรรมการเรียกนักเรียนเข้าอ่านทีละคนตามลาดับที่จับสลากได้ ๔) นักเรียนอ่านคนละไม่เกิน ๓ นาที
  • 6. (๒) ความเข้าใจการอ่าน เนื้อหาที่จะให้ผู้เข้าแข่งขันพูดตอบคาถาม เป็นเรื่องเดียวกับที่นักเรียนใช้แข่งขันอ่าน โดย ๑) เล่าเรื่องย่อได้ ๒) บอกข้อคิด หรือประโยชน์จากเรื่องที่อ่าน ๓) บอกความหมายของคาศัพท์สาคัญจากเรื่องที่อ่าน อย่างน้อย ๕ คา (๓) เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน เกณฑ์การอ่านออกเสียง (อ่านผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน ไม่คิดคาซ้า) คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน ๑) อักขรวิธี ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์การออกเสียง ๑๕ คะแนน ๒) ออกเสียง ร ล และคาควบกล้า ชัดเจน ๑๐ คะแนน ๓) อ่านไม่เกินคา อ่านไม่ขาดคา และอ่านไม่ตู่คา ๑๐ คะแนน ๔) การเว้นวรรคตอน จังหวะ และน้าหนักคา ๑๕ คะแนน ความเข้าใจการอ่าน คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน ๑) เล่าเรื่องย่อได้ ๒๐ คะแนน ๒) บอกข้อคิดและประโยชน์ที่ได้จากเรื่องที่อ่าน ๒๐ คะแนน ๓) บอกความหมายของคา/ประโยค ที่อ่าน ๑๐ คะแนน (๔) กรรมการทุกท่านนาคะแนนจากการอ่านออกเสียงและความเข้าใจการอ่าน หาค่าเฉลี่ยเป็นผลคะแนนตัดสินตามเกณฑ์ข้างต้น (๕) คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน (๖) สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้ และมีห้องเก็บตัวสาหรับผู้ที่รอการแข่งขัน ๑.๔.๒ ชั้น ม. ๑ – ๓ และ ม. ๔ – ๖ (การอ่านในใจและความเข้าใจการอ่าน) (๑) คณะกรรมการเตรียมข้อสอบที่มีบทอ่านและคาถาม ทั้ง ๒ ระดับ สาหรับใช้ เวลาในการทดสอบ ๑.๓๐ ชั่วโมง (๒) ลักษณะบทอ่านเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง เนื้อหาหลากหลาย ที่ใช้ใน ชีวิตประจาวันทั้งเนื้อหาเชิงวิชาการ (รายงานข่าว รายงานทางวิชาการ บทความ กราฟ สถิติ ประกาศ ของทางราชการ โฆษณา หรือ ข้อแนะนาต่าง ๆ ฯลฯ ) บันเทิงคดี (นวนิยาย เรื่องสั้น การ์ตูน เพลง ฯลฯ ) และสารคดี (ท่องเที่ยว วัฒนธรรม กีฬา ฯลฯ )
  • 7. (๓) ลักษณะข้อสอบให้มีคาถามครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ ๑) การจับใจความสาคัญ ๒) การจาแนกข้อเท็จจริงและความคิดเห็น ๓) การตีความและการแปลความ ๔) ข้อคิดและประโยชน์ของสิ่งที่อ่าน ๕) การประเมินค่า โดยมีลักษณะคาถาม แบบเลือกตอบ และ แบบปลายเปิด (๔) เกณฑ์การตัดสิน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน กรรมการกาหนดน้าหนักคะแนน เป็น ๒ ส่วน คือ การตอบแบบเลือกตอบ และการตอบแบบ ปลายเปิด เป็นผลคะแนนตัดสินตามหัวข้อ (๓) ข้อ ๑) – ๕) ข้างต้น (๕) คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน (๖) สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้ พร้อมกัน โดยนั่งตามเลขที่
  • 8. ๖ ๒. เรียงความและคัดลายมือ ๒.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๒.๑.๑ ชั้น ป. ๑ - ๓ ๒.๑.๒ ชั้น ป. ๔ - ๖ ๒.๑.๓ ชั้น ม. ๑ - ๓ ๒.๑.๔ ชั้น ม. ๔- ๖ ๒.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๒.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๒.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๒) ชั้น ป. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน ๓) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๔) ชั้น ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน ๒.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๒.๓.๑ กรรมการเตรียมขอบเขตเนื้อหา ให้นักเรียนเขียน ๓ ประเด็น และดาเนินการ ดังนี้ ๑) ให้ตัวแทนนักเรียนจับสลากประเด็นที่กาหนดให้เขียนเรียงความ ๒) ชี้แจงให้นักเรียนเขียนเรียงความ ตามประเด็นที่ตัวแทนนักเรียนจับสลาก และตั้งชื่อเรื่องเอง ภายในเวลาภายใน ๑.๓๐ ชั่วโมง ๒.๓.๒ เขียนเรียงความสด ชั้น ป. ๑ – ๓ ความยาวไม่น้อยกว่า ๑๐ แต่ไม่เกิน ๑๕ บรรทัด คัดลายมือเต็ม บรรทัดด้วยดินสอ โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ ชั้น ป. ๔ – ๖ ความยาวไม่น้อยกว่า ๑๕ แต่ไม่เกิน ๒๐ บรรทัด คัดลายมือครึ่ง บรรทัด ด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ ชั้น ม. ๑ – ๓ ความยาวไม่น้อยกว่า ๒๕ แต่ไม่เกิน ๓๐ บรรทัด คัดลายมือครึ่ง บรรทัดด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ ชั้น ม. ๔- ๖ ความยาวไม่น้อยกว่า ๓๐ แต่ไม่เกิน ๓๕ บรรทัด คัดลายมือครึ่ง บรรทัดด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ เมือหมดเวลา ถือว่าเสร็จสิ้นการแข่งขัน ่
  • 9. ๗ ๒.๔ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น ๒.๔.๑ การเขียนเรียงความ คะแนนเต็ม ๗๕ คะแนน ๑) การตั้งชื่อเรื่อง สอดคล้องกับเรื่องที่เขียน ๑๐ คะแนน ๒) เนื้อเรื่อง ๔๐ คะแนน - แสดงแนวคิดต่อเนื่องสอดคล้องกันตลอดทั้งเรื่อง ๑๕ คะแนน - แสดงเหตุและผลอย่างสมเหตุสมผล ๑๕ คะแนน - ยกตัวอย่าง อ้างอิงประกอบ มีสานวนโวหาร สุภาษิต คาคม ตัวเลข สถิติ บุคคล ฯลฯ ได้อย่างเหมาะสม ๑๐ คะแนน ๓) รูปแบบ ประกอบด้วย ส่วนนา เนื้อเรื่อง และบทสรุป ๕ คะแนน ๔) เขียนถูกต้องตามอักขรวิธี ๑๕ คะแนน ( การสะกดคา เว้นวรรคตอน เครื่องหมายวรรคตอน) ๕) ความยาวของเรื่องตามกาหนด ๕ คะแนน ๒.๔.๒ การคัดลายมือ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน ๑) ใช้ตัวอักษรตามรูปแบบของกระทรวงศึกษาธิการ ๑๕ คะแนน อ่านง่าย เป็นระเบียบ ๒) สะอาดเรียบร้อย ๑๐ คะแนน ๒.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน ๒.๖ สถานทีจัดแข่งขัน ควรใช้ห้องเรียนที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน ่
  • 10. ๘ ๓. ท่องอาขยานทานองเสนาะ ๓.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๓.๑.๑ ชั้น ป. ๑ - ๓ ๓.๑.๒ ชั้น ป. ๔ - ๖ ๓.๑.๓ ชั้น ม. ๑ - ๓ ๓.๑ ๔. ชั้น ม. ๔ - ๖ ๓.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๓.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๓.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๒) ชั้น ป. ๔ - ๖ จานวน ๑ คน ๓) ชั้น ม. ๑ - ๓ จานวน ๑ คน ๔) ชั้น ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน ๓.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๓.๓.๑ เนื้อหาที่จะใช้แข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ เป็นบทหลักและบทเลือกของแต่ละชั้น ตามหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทอาขยานภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หรือ ช่วงชั้นที่ ๑ - ช่วงชั้นที่ ๔ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ผู้เข้าแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะโดยไม่ดูบท ๓.๓.๒ คณะกรรมการเตรียมบทอาขยาน บทหลักและบทเลือกทั้งหมดของแต่ละชั้นปี โดยให้ ตัวแทนกรรมการจับสลากบทหลักและบทเลือก อย่างละ ๓ บท รวมเป็น ๖ บท แล้วให้ผู้เข้าแข่งขันแต่ละคน จับสลากเลือกเพียง ๑ บท จากจานวน ๖ บท ที่ตัวแทนกรรมการจับสลากไว้ แล้ว ๓.๓.๓ การแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ขอให้นักเรียนท่องบทอาขยานที่จับสลากได้เป็น ทานองเสนาะ ตามลักษณะฉันทลักษณ์ของบทอาขยานนั้นๆ ตัวอย่างเช่น กาพย์เห่เรือ ท่องเป็น โคลงสี่สุภาพ และกาพย์ยานี ๑๑ เสภาเรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน ท่องเป็น กลอนสุภาพ สามัคคีเสวก ท่องเป็น กลอนสุภาพ ๓.๓.๔ เวลาในการท่องบทอาขยานทานองเสนาะ ขึ้นอยู่กับเนื้อหา
  • 11. ๓.๔. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น ๓.๔.๑ ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรอง ๓๐ คะแนน ๓.๔.๒ ถูกต้องตามอักขรวิธี (ออกเสียงตัว ร, ล คาควบกล้า ฯลฯ) ๓๐ คะแนน (ออกเสียงผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน) ๓.๔.๓ น้าเสียง ความหนักเบา และความชัดเจน ๒๐ คะแนน ๓.๔.๔ อารมณ์ความรู้สึกสอดคล้องกับบทอาขยานทานองเสนาะ ๑๐ คะแนน ๓. ๔.๕ บุคลิกภาพ ความสง่างาม ความมั่นใจ ๑๐ คะแนน ๓.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน ๓.๖ สถานทีจัดแข่งขัน จัดเวทีให้นักเรียนขึ้นท่องอาขยานทานองเสนาะต่อหน้าคณะกรรมการ และมี ่ ทีนั่งสาหรับผู้ชม ส่วนนักเรียนที่ยังไม่ได้เข้าแข่งขันให้พักในห้องเก็บตัว ่
  • 12. ๑๐ ๔. สุนทรพจน์ ๔.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๔.๑.๑ ชั้น ม. ๑ - ๓ ๔.๑.๒ ชั้น ม. ๔ – ๖ ๔.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๔.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๔.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๒) ชั้น ม. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน ๔.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน รอบที่ ๑ (ทราบหัวข้อล่วงหน้า) ๔.๓.๑ กรรมการเตรียมประเด็น โดยกาหนดเป็นชื่อเรื่องการกล่าวสุนทรพจน์ ประกาศให้ โรงเรียนในแต่ละภาคทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๗ วัน ก่อนการแข่งขัน ๔.๓.๒ ในวันแข่งขันให้นักเรียนที่เข้าแข่งขัน นาบทกล่าวสุนทรพจน์จานวน ๕ ชุด ให้กรรมการใน วันแข่งขัน และจับสลากเพื่อจัดอันดับการกล่าวสุนทรพจน์ ๔.๓. ๓ กรรมการให้ผู้เข้าแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ตามลาดับ โดยมีการเก็บตัวผู้ที่ยังไม่ได้แข่งขัน ๔.๓.๔ ระยะเวลาในการกล่าวสุนทรพจน์ ไม่เกิน ๕ นาที (บวก/ลบ ๓๐ วินาที) รอบที่ ๒ (ฉับพลัน) ๑) กรรมการเตรียมประเด็นให้นักเรียนลาดับที่ ๑ ของรอบแรก เตรียมตัวหน้าเวทีก่อนขึ้น พูด ๕ นาที นักเรียนคนอื่นๆ พักรอในห้องเก็บตัว ๒) นักเรียนคนที่ ๑ ขึ้นกล่าวบนเวทีใช้เวลาไม่เกิน ๕ นาที ๓) นักเรียนลาดับต่อไปรับทราบประเด็นในห้องเก็บตัวอีกห้องหนึ่ง ใช้เวลาเตรียมตัว ๕ นาที และขึ้นกล่าวสุนทรพจน์หลังจากที่นักเรียนคนที่ ๑ พูดจบ เวียนไปจนครบจานวนนักเรียนที่เข้าแข่งขัน
  • 13. ๑๑ ๔.๔. เกณฑ์การให้คะแนน แต่ละรอบมีคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น ๔.๔.๑ เนื้อหา ๔๐ คะแนน ๑) ลาดับเนื้อหา ความต่อเนื่อง ๒๐ คะแนน ๒) ความถูกต้องของข้อมูล ความสอดคล้องกับหัวข้อ ๑๐ คะแนน ๓) คุณค่าของเนื้อหา (ประโยชน์ของเนื้อหาที่จะนาไปใช้) ๑๐ คะแนน ๔.๔.๒ การนาเสนอ ๓๐ คะแนน ๑) อักขรวิธี ๑๐ คะแนน ๒) น้าเสียง ๑๐ คะแนน ๓) บุคลิกภาพ ๑๐ คะแนน ๔.๔.๓ การใช้ภาษา ๓๐ คะแนน ๑) ระดับภาษาเหมาะสมกับเนื้อหา ๑๐ คะแนน ๒) ความถูกต้อง (การเลือกใช้คา การผูกประโยค ไวยากรณ์) ๑๐ คะแนน ๓) สานวนโวหาร ๑๐ คะแนน ๔.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน ๔.๖ สถานทีจัดแข่งขัน ่ ๔.๖.๑ จัดเวทีให้นักเรียนขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ต่อหน้าคณะกรรมการ และมีที่นั่งสาหรับผู้ชม ๔.๖.๒ ห้องเก็บตัวผู้ที่รอการแข่งขัน
  • 14. ๑๒ ๕ . แต่งบทร้อยกรอง ๕.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๕.๑.๑ ชั้น ป. ๔ - ๖ ๕.๑.๒ ชั้น ม. ๑ - ๓ ๕.๑.๓ ชั้น ม. ๔ – ๖ ๕.๒. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๕.๒.๑ แข่งขันประเภททีม ทีมละ ๒ คน ๕.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป. ๔ - ๖ จานวน ๑ ทีม ๒) ชั้น ม. ๑ - ๓ จานวน ๑ ทีม ๓) ชั้น ม. ๔ - ๖ จานวน ๑ ทีม ๕.๓ วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๕.๓.๑ กรรมการกาหนดหัวข้อที่จะใช้ในการแข่งขัน จานวน ๓ หัวข้อ ๕.๓.๒ ให้นักเรียนจับสลากเลือกหัวข้อที่ใช้แต่งแล้วนาไปแต่งบทร้อยกรอง ๑) ชั้น ป. ๔ - ๖ แต่งกลอนสี่ จานวน ๔ บท ๒) ชั้น ม. ๑ - ๓ แต่งกาพย์ยานี ๑๑ จานวน ๘ บท ๓) ชั้น ม. ๔ - ๖ แต่งอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ จานวน ๘ บท ๕.๓.๓ ใช้เวลาในการแต่ง ๑ ชั่วโมง ๕.๔ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ๕.๔.๑ บทร้อยกรองทีผิดฉันทลักษณ์ ต่อไปนี้ กรรมการจะไม่นาไปตรวจให้คะแนน ่ ๑) ไม่มีสัมผัสระหว่างวรรค ๒) ไม่มีสัมผัสระหว่างบท ๓) ใช้สระเสียงสั้น สัมผัสกับสระเสียงยาวเป็นสัมผัสบังคับ ( เช่น ใช้“ใจ”สัมผัสกับ“กาย”) ๔) เขียนไม่ครบตามที่กาหนด ๕) กรณีแต่ฉันท์ วางคา ครุ ลหุ ไม่ถูกตาแหน่ง
  • 15. ๑๓ ๕.๔.๒ บทร้อยกรองทีไม่ผิดฉันทลักษณ์ กรรมการจะนาไปตรวจให้คะแนนโดยมีหลักเกณฑ์ ่ การให้คะแนนดังนี้ ๑) ฉันทลักษณ์และอักขรวิธี ๒๐ คะแนน - เขียนตัวสะกดการันต์ผิด หักคาละ ๒ คะแนน - มีสัมผัสซ้า หักคะแนนตาแหน่งละ ๕ คะแนน - มีสัมผัสเลือน หักคะแนนตาแหน่งละ ๕ คะแนน ๒) ความคิดและเนื้อหา ๔๐ คะแนน - ตรงประเด็น หมายความว่า นักเรียนจะต้องใช้หัวข้อที่กาหนดให้เป็นแกนเรื่อง - เสนอแนวคิดสร้างสรรค์ หมายความว่า เนื้อหาที่นักเรียนเสนอนั้นให้แง่คิดที่เป็น ประโยชน์แก่ผู้อ่าน เช่น แง่คิดในการดารงชีวิต การเข้าใจสังคม การปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม - เสนอแนวคิดแปลกใหม่ หมายถึง แนวความคิดที่ไม่ค่อยมีใครพูดถึง เป็น แนวความคิดที่มีเหตุผลและอยู่ในขอบเขตของหัวข้อ ๓) กวีโวหาร ๔๐ คะแนน - สัมผัสราบรื่น อ่านแล้วเกิดความไพเราะ - ใช้โวหารต่างๆ ส่งเสริมเนื้อหาให้มีความหมายลึกซึ้งกินใจ เช่น การกล่าว เปรียบเทียบ และใช้บุคลาธิษฐาน เป็นต้น - การเล่นตัวอักษร เล่นคา ที่ช่วยให้คาประพันธ์มีความไพเราะยิ่งขึ้น ๕.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ ๓ – ๕ คน ๕.๖ สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้
  • 16. ผู้ประสานงานการจัดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ / ๒๕๕๕ การแข่งขันทักษะภาษาไทย ภาค สพป. / สพม. ผู้ประสานงาน เบอร์โทรศัพท์ ภาคเหนือ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ นางวัชราภรณ์ วัตรสุข ๐๘๙ - ๙๕๑๖๙๘๓ สพป. เชียงใหม่ เขต ๒ นางสุภาภรณ์ กิตติรัชตานนท์ ๐๘๔ - ๕๔๐๐๕๑๕ นายโสภณ ชัยเพ็ชร ๐๘๙ - ๙๕๒๔๔๑๒ สพป. เชียงใหม่ เขต ๔ นางดารณีย์ พยัคฆ์กุล ๐๘๑ - ๗๖๔๕๖๖๒ สพม. เขต ๓๔ (เชียงใหม่) นางสาวพิมพ์สุดา เอี่ยมสกุล ๐๘๘ - ๔๓๐๒๑๒๘ ภาคตะวันออก สพป. ชัยภูมิ เขต ๑ นายวิชัย เพ็ชรเรือง ๐๘๗ - ๘๘๐๙๘๓๖ เฉียงเหนือ นางพรทิพา นันทะสุข ๐๘๙ - ๘๔๕๕๔๕๔ นายประดิษฐ์ จันทรังษ์ ๐๘๗ - ๗๑๗๖๗๕๐ สพม. เขต ๓๐ ( ชัยภูมิ) นางถาวร จิวาลักษณ์ ๐๘๑ - ๙๗๖๑๘๓๔ ภาคกลาง สพป. ระยอง เขต ๑ นางศิริพร สุวรรณศรี ๐๘๖ - ๒๓๗๘๕๔๔ สพม. เขต ๑๘ (ระยอง) นางเถาวรรณ์ อัมระนันทน์ ๐๘๖ - ๐๔๒๘๙๒๑ ภาคใต้ สพป. ภูเก็ต นางสุดารัตน์ จูทอง ๐๘๙ - ๗๒๙๑๐๐๔ สพม. เขต ๑๔ (ภูเก็ต) นางละมุล รอดขวัญ ๐๘๑ - ๙๗๙๔๓๕๐ นางวิภาดา ศรีทานนท์ ๐๘๙ - ๒๘๙๘๘๔๒ การแข่งขัน สถาบันภาษาไทย สวก. นางสาวนิจสุดา อภินันทาภรณ์ ๐๘๑ - ๕๘๑๑๔๘๓ ระดับประเทศ นางสาวพัชรา ตระกูลสิริพันธุ์ ๐๘๕ - ๔๘๕๙๓๓๙