SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ก



             การศึกษาผลการเรียนรู้หน่ วยอินเทอร์ เน็ต
             วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
          โรงเรียนนาดีวทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์
                          ิ
         โดยใช้ เว็บช่ วยสอนในรูปแบบการเรียนรู้ “ฉลาดรู้ ”




                           จีรา ศรีไทย
                        รหัส 52054110103




                  การวิจัยนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา
  ตามหลักสู ตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา
            วิชา 1046409 ระเบียบวิธีวจัยในการเรียนการสอน
                                         ิ
                      มหาวิทยาลัยราชภัฎสุ รินทร์
ข



                                                พ.ศ. 2553

ชื่องานวิจย
          ั        การศึกษาผลการเรี ยนรู้หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
                   กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี ชั้น มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4
                   โรงเรี ยนนาดีวิทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่ วยสอนในรู ปแบบ
                   การเรี ยนรู้ “ฉลาดรู้”
ผูวจย
   ้ิั             นางจีรา ศรี ไทย
ปี ที่ศึกษา        2553

                                                  บทคัดย่อ

              การวิ จ ัย ในครั้ งนี้ มี ว ต ถุ ป ระสงค์ 1) เพื่ อศึ ก ษาผลการเรี ยนรู้ ห น่ ว ยอิ น เทอร์ เ น็ ต
                                          ั
วิชาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่ มสาระการเรี ย นรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนนาดีวทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบ
                                             ิ
การเรี ยนรู้ “ฉลาดรู้” ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ทักษะการทางานกลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และความพึงพอใจ 2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยน
นาดีวทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู้ “ฉลาดรู้” ในด้าน
        ิ
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย น กลุ่ มตัวอย่าง คื อ นัก เรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 4/1 โรงเรี ย นนาดี วิทยา
อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 จานวน 30 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยประกอบด้วย 3 ชนิด ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรี ยนรู้ หน่ วยอินเทอร์ เน็ต
                           ั
วิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” จานวน 4 แผน แผนละ
2 ชัวโมง รวม 8 ชัวโมง มีคุณภาพในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความสอดคล้อง และความ
      ่                 ่
เป็ นไปได้ในระดับมากที่สุด 2) เว็บช่วยสอนหน่ วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีส ารสนเทศและ
การสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 4 เรื่ อง
มีคุณภาพในระดับดีมาก 3) เครื่ องมือวัดและประเมินผล ประกอบด้วย (1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนหน่ วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เป็ นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน
40 ข้อ มีคุณภาพด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก ด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหาอยู่
                                                           ่
ค



ในระดับมาก ด้านความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้เท่ากับ 1 ทุกข้อ มีความ
                                                             ่
เหมาะสมในด้านความชัดเจนในการใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การ
                ่                                                      ่
ให้คะแนนอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การแปลผลอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของ
เกณฑ์การตัดสิ นอยูในระดับมาก (2) แบบวัดทักษะการทางานกลุ่มหน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยี
                        ่
สารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
เป็ นแบบบันทึกผลการปฏิบติงานตามที่มอบหมาย จานวน 8 ฉบับ มีคุณภาพในด้านความเที่ยงตรง
                                  ั
                      ่
เชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสมของรายการประเมินในด้านมีความชัดเจนใช้ภาษา
              ่                                                    ่
เข้าใจง่ายอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การให้คะแนนอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์
                  ่
การแปลผลอยูในระดับมาก และความเหมาะสมของเกณฑ์การตัดสิ นอยูในระดับมาก 3) แบบวัด่
คุณลักษณะอันพึงประสงค์หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เป็ นแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรม
                                                                           ่
การเรี ยน จานวน 4 ฉบับ มีคุณภาพในด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสม
                                                                     ่
ของรายการประเมินในด้านมีความชัดเจนใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของ
                              ่                                          ่
เกณฑ์การให้คะแนนอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การแปลผลอยูในระดับมาก และความเหมาะสม
ของเกณฑ์การตัดสิ นอยูในระดับมาก 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน
                                ่
หน่ วยอินเทอร์ เน็ต วิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” เป็ นแบบ
มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 1 ฉบับ ข้อคาถามจานวน 15 ข้อ มีคุณภาพ
                                        ่
ในด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสมของข้อคาถามในด้านความชัดเจน
                          ่
ใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบน
                                                                 ้
มาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานด้วย t-test กรณี กลุ่มตัวอย่างเดียวเทียบกับเกณฑ์ (One Sample
t-test) และกรณี กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวไม่เป็ นอิสระต่อกัน (Dependent Samples t-test)
             ผลการวิจยพบดังนี้
                            ั
              1) ผลการเรี ย นรู้ ห น่ วยอิ น เทอร์ เน็ ต วิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สาร
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนนาดีวิทยา อาเภอเมือง
จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ทักษะการทางานกลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และความพึงพอใจ สรุ ปได้ดงนี้           ั
                    (1) ด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กรณี ก่อนเรี ยนนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้ อยละ 3.33 ไม่ผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้ อยละ 96.67
โดยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนอยูในระดับต่า ( X =17.13, S=3.96) และต่ากว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญ
                                    ่                                                       ั
ง



ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ส่ วนกรณี หลังเรี ยนนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้อยละ 23.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 76.67 โดยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
                                           ่
    ่
อยูในระดับต่า ( X =21.23, S=3.55) และต่ากว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
                                                              ั
                  (2) ด้านทักษะการทางานกลุ่ม โดยรวมนักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มผ่านเกณฑ์
                                                                       ั
ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้อยละ 100 โดยนักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มอยู่ในระดับดี
                                                                    ั
( X =547.80, S=21.96) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า นักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มสู งกว่าเกณฑ์อย่างมี
                                                            ั
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน คือ ด้านการร่ วมคิดร่ วมวางแผน ด้านการ
ปฏิบติงานกลุ่ม และด้านผลงานกลุ่ม พบว่า นักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ
        ั                                                ั
100 โดยนักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มอยูในระดับดี ( X =547.80, S=21.96 ; X =113.33, S=6.6;
                        ั                     ่
 X =321.37, S=12.25 ; X =547.80, S=21.79) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่ม
                                                                                 ั
สู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกด้าน
                          ั
                  (3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยรวมนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผาน       ่
เกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้อยละ 100 โดยนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่
ในระดับดี ( X =126.93, S=7.27) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า นักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่า
เกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน คือ ด้านความมีวินยในการเรี ยน
                ั                                                                         ั
ด้านมีคุณธรรมและจริ ยธรรมในการใช้งานอินเทอร์ เน็ต และด้านเห็นคุณค่าของอินเทอร์ เน็ต พบว่า นักเรี ยน
                                 ่
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ100 โดยนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยูใน         ่
ระดับดี ( X =38.93, S=2.59; X =48.00, S=0.00; X =40.00, S=6.30 ) และเมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยน
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 ทุกด้าน และเมื่อพิจารณา
                                                   ั
เป็ นรายแผนการจัดการเรี ยนรู้ พบว่า แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 1 อินเทอร์ เน็ตและเวิร์ดไวท์เว็บ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 2 การค้นหาผ่านเว็บ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 3 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
หรื ออีเมล (E-mail) และแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 4 ภัยอินเทอร์เน็ต นักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                                                                               ่
ผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 100 โดยนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยูในระดับดี ( X =31.23,
S=1.85 ; X =31.53, S=2.22; X =32.30, S=2.10; X =31.87, S=2.34 ) และเมื่ อทดสอบแล้วพบว่า
ทุกแผนการจัดการเรี ยนรู ้นกเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่
                             ั                                                      ั
ระดับ 0.5 เช่นเดียวกัน
                  (4) ด้านความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน โดยรวมนักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์
อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 96.67 ไม่ผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้ อยละ 3.33 โดยนักเรี ยนมี
      ่
                               ่
ความพึงพอใจต่อการเรี ยนอยูในระดับมาก ( X =4.10, S=0.67) เมื่อทดสอบแล้วพบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจ
สู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า
                      ั
จ



                                                                                          ่
                        (4.1) ด้านเนื้ อหา นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์อยูในระดับมาก
( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 93.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 6.67 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจอยู่
                                         ่
ในระดับมาก ( X =4.00,S=0.37 ) เมื่ อทดสอบแล้วพบว่านักเรี ย นมี ค วามพึงพอใจสู งกว่า เกณฑ์
อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อ
          ั
การเรี ยนผ่านเกณฑ์ จานวน 2 ข้อ คือ ข้อ 1 เว็บช่วยสอนมีเนื้ อหาเกี่ยวกับอินเทอร์ เน็ตที่ทนสมัย   ั
        ่
อยูในความสนใจของนักเรี ยน คิดเป็ นร้อยละ 90.00 และข้อ 2 การลาดับเนื้ อหาในเว็บช่วยสอนมี
ความสัมพันธ์ต่อเนื่ อง ได้แก่ 1) อินเทอร์ เน็ตและเวิร์ดไวท์เว็บ 2) การสื บค้นผ่านเว็บ 3) จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์หรื ออีเมล (E-mail) และ 4) ภัยจากอินเทอร์ เน็ต คิดเป็ นร้อยละ 86.67 นักเรี ยนมีความ
                             ่
พึงพอใจต่อการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์ จานวน 1 ข้อ คือ ข้อ 3 เนื้ อหาในเว็บช่วยสอนมีความยากง่าย
                                                                                  ่
เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน คิดเป็ นร้อยละ 53.33 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูในระดับมากทุกข้อ
เมื่อทดสอบแล้ว พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
                                                                       ั
จานวน 2 ข้อ คือ ข้อ 1 ( X =4.20, S=0.61) และข้อ 2 ( X =4.17, S=0.65) และนักเรี ยนมีความพึง
พอใจต่ากว่าเกณฑ์ จานวน 1 ข้อ คือ ข้อ 3 ( X =3.63, S=0.67)
                        (4.2) ด้านกิจกรรมการเรี ยนการสอนนักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์
    ่                                                         ่
อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 93.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 6.67 โดยนักเรี ยนมี
                    ่
ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.16, S=0.43) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจ
สู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่านักเรี ยนมี
                          ั
ความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 4 กิจกรรมการเรี ยนการสอน ได้แก่ การศึกษา
เว็บช่วยสอน การทาแบบฝึ กหัด การปฏิบติงานกลุ่ม เหมาะสมกับเวลาเรี ยนที่กาหนดในแต่ละครั้ง
                                               ั
คิดเป็ นร้อยละ 73.33 ข้อ 5 นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการปฏิบติกิจกรรมกลุ่มได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กบเพื่อน
                                                                ั                             ั
และครู ผสอน คิดเป็ นร้อยละ 76.67 ข้อ 6 นักเรี ยนได้ปฏิบติ การสื บค้นด้วย Google นามาสร้างงานใหม่
            ู้                                                    ั
และใช้อีเมลรับ-ส่ งข้อมูลด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 96.67 และข้อ 7 ครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ทบทวน
                                                                                      ั
บทเรี ยนจากเว็บช่วยสอน และฝึ กปฏิบติใบงานด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยนสม่าเสมอ
                                           ั
                                                          ่
คิดเป็ นร้อยละ 90.00 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูในระดับมากทุกข้อ ( X =3.77, S=0.50; X =3.97,
S=0.67; X =4.43, S=0.68; X =4.47, S=0.68) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่า
เกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกข้อเช่นเดียวกัน
               ั
                        (4.3) ด้านสื่ อการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์
      ่                                                     ่
อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 83.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 16.67 โดยนักเรี ยนมี
                  ่
ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.02, S=0.69) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจสู ง
กว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจ
                      ั
ฉ



ต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 8 สื่ อเว็บช่วยสอน แบบฝึ กหัด ใบงานกลุ่ม และใบงานเดี่ยว
ตอบสนองการเรี ยนรู้ในยุคปัจจุบนได้อย่างเหมาะสม คิดเป็ นร้อยละ 90.00 ข้อ 9 เว็บช่วยสอนออกแบบ
                                    ั
ได้เหมาะสม สวยงาม สร้างสรรค์ ทั้งในส่ วนของโฮมเพจ เว็บเพจเนื้ อหา เว็บเพจแบบฝึ กหัด เว็บเพจ
แหล่งอ้างอิง และเว็บเพจครู ผสอน คิดเป็ นร้อยละ 83.33 และข้อ 10 เว็บช่วยสอนมีข้ นตอนการเรี ยกใช้
                                 ู้                                                ั
หรื อการเข้าถึงง่ายและมีข้ นตอนการปฏิบติการเรี ยนรู้ชดเจนเป็ นลาดับ คิดเป็ นร้อยละ 73.33 โดยนักเรี ยน
                           ั            ั              ั
มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกข้อ ( X =4.13, S=0.57; X =3.97, S=0.56; X =3.97, S=0.89)
เมื่อทดสอบแล้ว พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05
                                                                     ั
ทุกข้อเช่นเดียวกัน
                       (4.4) ด้านการวัดผลประเมินผล นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์
     ่                                                   ่
อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 83.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 16.67 โดยนักเรี ยนมี
                   ่
ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.25, S=0.50) เมื่อทดสอบแล้วพบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่า
เกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจ
                 ั
ต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 11 ครู ใช้วธีการวัดผลประเมินผลที่หลากหลาย ได้แก่ การตรวจ
                                                   ิ
ผลงานกลุ่ม ผลงานเดี่ยว การสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการทดสอบ คิดเป็ นร้อยละ 86.67
และข้อ 12 ครู กาหนดเกณฑ์การวัดและประเมิ นผลที่ชดเจน ประกอบด้วยเกณฑ์การให้คะแนน
                                                           ั
เกณฑ์การแปลผล และเกณฑ์การตัดสิ น โดยแจ้งให้นกเรี ยนทราบ คิดเป็ นร้อยละ 90.00 โดยนักเรี ยน
                                                     ั
                     ่
มีความพึงพอใจอยูในระดับมากทุกข้อ ( X =4.23, S=0.68; X =4.27, S=0.67) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า
นักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ทุกข้อเช่นเดียวกัน
                                               ั
                       (4.5) ด้านประโยชน์ที่ได้จากการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยน
               ่                                                  ่
ผ่านเกณฑ์อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 93.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 6.67 โดย
                             ่
นักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.12, S=0.61) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีความพึง
พอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยน
                               ั
มีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 13 นักเรี ยนเกิดทักษะและความชานาญในด้าน
การสื บค้นด้วย Google นามาสร้างงานนาเสนอใหม่ตามวัตถุประสงค์ของงาน และการสื่ อสารผ่าน
อีเมล (E-mail) มากขึ้น คิดเป็ นร้อยละ 86.67 ข้อ 14 นักเรี ยนเกิดการปรับเปลี่ยนลักษณะนิสัยมีวนย     ิ ั
ในการเรี ยนรู้ มีคุณธรรมจริ ยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตและ เห็นคุณค่าของอินเทอร์ เน็ต คิดเป็ นร้อยละ
93.33 และข้อ 15 นักเรี ยนสามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากการเรี ยนหน่วยอินเทอร์ เน็ตนี้ไปสู่ การเรี ยนรู ้
ในวิชาอื่นๆ และประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวันได้ คิดเป็ นร้อยละ 86.67 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจ
                                      ิ
อยู่ใ นระดับมากทุ กข้อ ( X =4.17, S=0.75; X =4.13, S=0.51; X =4.07, S=0.58) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า
นักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ทุกข้อเช่นเดียวกัน
                                                 ั
ช



             2) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนนาดีวทยา
                                                                                               ิ
อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” ในด้านผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยน ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน พบว่า นักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู ้ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
                                                                        ้
หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีคะแนนพัฒนาการอย่างเห็นได้ชด
                                    ั                                                            ั
( D = 4.10, S D =3.698)

More Related Content

Viewers also liked

Back to school
Back to schoolBack to school
Back to schoolskline422
 
facebook for_education_krujeera srithai2
facebook for_education_krujeera srithai2facebook for_education_krujeera srithai2
facebook for_education_krujeera srithai2JeeraJaree Srithai
 
Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013
Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013
Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013Juan Pablo Marchant
 
Change through persuasion
Change through persuasionChange through persuasion
Change through persuasionLan Le
 

Viewers also liked (8)

Back to school
Back to schoolBack to school
Back to school
 
facebook for_education_krujeera srithai2
facebook for_education_krujeera srithai2facebook for_education_krujeera srithai2
facebook for_education_krujeera srithai2
 
Sarah robertson
Sarah robertsonSarah robertson
Sarah robertson
 
Trabajo de estefania informatica
Trabajo de estefania   informaticaTrabajo de estefania   informatica
Trabajo de estefania informatica
 
Cambiar color de fuente
Cambiar color de fuenteCambiar color de fuente
Cambiar color de fuente
 
Informatica lo ultimo power
Informatica lo ultimo powerInformatica lo ultimo power
Informatica lo ultimo power
 
Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013
Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013
Acta sesion ordinaria nº 9 cosoc del 23.12.2013
 
Change through persuasion
Change through persuasionChange through persuasion
Change through persuasion
 

Similar to 2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน

บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...JeeraJaree Srithai
 
บทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลีบทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลี12251600
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstractskruwaeo
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติJeeraJaree Srithai
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 

Similar to 2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน (20)

บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
 
บทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลีบทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลี
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
B1
B1B1
B1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 

2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน

  • 1. การศึกษาผลการเรียนรู้หน่ วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนนาดีวทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ ิ โดยใช้ เว็บช่ วยสอนในรูปแบบการเรียนรู้ “ฉลาดรู้ ” จีรา ศรีไทย รหัส 52054110103 การวิจัยนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสู ตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา วิชา 1046409 ระเบียบวิธีวจัยในการเรียนการสอน ิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุ รินทร์
  • 2. พ.ศ. 2553 ชื่องานวิจย ั การศึกษาผลการเรี ยนรู้หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี ชั้น มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนนาดีวิทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่ วยสอนในรู ปแบบ การเรี ยนรู้ “ฉลาดรู้” ผูวจย ้ิั นางจีรา ศรี ไทย ปี ที่ศึกษา 2553 บทคัดย่อ การวิ จ ัย ในครั้ งนี้ มี ว ต ถุ ป ระสงค์ 1) เพื่ อศึ ก ษาผลการเรี ยนรู้ ห น่ ว ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ั วิชาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่ มสาระการเรี ย นรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนนาดีวทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบ ิ การเรี ยนรู้ “ฉลาดรู้” ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ทักษะการทางานกลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และความพึงพอใจ 2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยน นาดีวทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู้ “ฉลาดรู้” ในด้าน ิ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย น กลุ่ มตัวอย่าง คื อ นัก เรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 4/1 โรงเรี ย นนาดี วิทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 จานวน 30 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยประกอบด้วย 3 ชนิด ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรี ยนรู้ หน่ วยอินเทอร์ เน็ต ั วิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” จานวน 4 แผน แผนละ 2 ชัวโมง รวม 8 ชัวโมง มีคุณภาพในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความสอดคล้อง และความ ่ ่ เป็ นไปได้ในระดับมากที่สุด 2) เว็บช่วยสอนหน่ วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 4 เรื่ อง มีคุณภาพในระดับดีมาก 3) เครื่ องมือวัดและประเมินผล ประกอบด้วย (1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหน่ วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เป็ นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ มีคุณภาพด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก ด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหาอยู่ ่
  • 3. ค ในระดับมาก ด้านความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้เท่ากับ 1 ทุกข้อ มีความ ่ เหมาะสมในด้านความชัดเจนในการใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การ ่ ่ ให้คะแนนอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การแปลผลอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของ เกณฑ์การตัดสิ นอยูในระดับมาก (2) แบบวัดทักษะการทางานกลุ่มหน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยี ่ สารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เป็ นแบบบันทึกผลการปฏิบติงานตามที่มอบหมาย จานวน 8 ฉบับ มีคุณภาพในด้านความเที่ยงตรง ั ่ เชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสมของรายการประเมินในด้านมีความชัดเจนใช้ภาษา ่ ่ เข้าใจง่ายอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การให้คะแนนอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์ ่ การแปลผลอยูในระดับมาก และความเหมาะสมของเกณฑ์การตัดสิ นอยูในระดับมาก 3) แบบวัด่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เป็ นแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรม ่ การเรี ยน จานวน 4 ฉบับ มีคุณภาพในด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสม ่ ของรายการประเมินในด้านมีความชัดเจนใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของ ่ ่ เกณฑ์การให้คะแนนอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การแปลผลอยูในระดับมาก และความเหมาะสม ของเกณฑ์การตัดสิ นอยูในระดับมาก 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน ่ หน่ วยอินเทอร์ เน็ต วิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” เป็ นแบบ มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 1 ฉบับ ข้อคาถามจานวน 15 ข้อ มีคุณภาพ ่ ในด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสมของข้อคาถามในด้านความชัดเจน ่ ใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบน ้ มาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานด้วย t-test กรณี กลุ่มตัวอย่างเดียวเทียบกับเกณฑ์ (One Sample t-test) และกรณี กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวไม่เป็ นอิสระต่อกัน (Dependent Samples t-test) ผลการวิจยพบดังนี้ ั 1) ผลการเรี ย นรู้ ห น่ วยอิ น เทอร์ เน็ ต วิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนนาดีวิทยา อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ทักษะการทางานกลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และความพึงพอใจ สรุ ปได้ดงนี้ ั (1) ด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กรณี ก่อนเรี ยนนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้ อยละ 3.33 ไม่ผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้ อยละ 96.67 โดยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนอยูในระดับต่า ( X =17.13, S=3.96) และต่ากว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญ ่ ั
  • 4. ง ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ส่ วนกรณี หลังเรี ยนนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้อยละ 23.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 76.67 โดยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ่ ่ อยูในระดับต่า ( X =21.23, S=3.55) และต่ากว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ั (2) ด้านทักษะการทางานกลุ่ม โดยรวมนักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มผ่านเกณฑ์ ั ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้อยละ 100 โดยนักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มอยู่ในระดับดี ั ( X =547.80, S=21.96) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า นักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มสู งกว่าเกณฑ์อย่างมี ั นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน คือ ด้านการร่ วมคิดร่ วมวางแผน ด้านการ ปฏิบติงานกลุ่ม และด้านผลงานกลุ่ม พบว่า นักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ ั ั 100 โดยนักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่มอยูในระดับดี ( X =547.80, S=21.96 ; X =113.33, S=6.6; ั ่ X =321.37, S=12.25 ; X =547.80, S=21.79) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีทกษะการทางานกลุ่ม ั สู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกด้าน ั (3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยรวมนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผาน ่ เกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม คิดเป็ นร้อยละ 100 โดยนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ ในระดับดี ( X =126.93, S=7.27) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า นักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่า เกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน คือ ด้านความมีวินยในการเรี ยน ั ั ด้านมีคุณธรรมและจริ ยธรรมในการใช้งานอินเทอร์ เน็ต และด้านเห็นคุณค่าของอินเทอร์ เน็ต พบว่า นักเรี ยน ่ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ100 โดยนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยูใน ่ ระดับดี ( X =38.93, S=2.59; X =48.00, S=0.00; X =40.00, S=6.30 ) และเมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 ทุกด้าน และเมื่อพิจารณา ั เป็ นรายแผนการจัดการเรี ยนรู้ พบว่า แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 1 อินเทอร์ เน็ตและเวิร์ดไวท์เว็บ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 2 การค้นหาผ่านเว็บ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 3 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรื ออีเมล (E-mail) และแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 4 ภัยอินเทอร์เน็ต นักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ่ ผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 100 โดยนักเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยูในระดับดี ( X =31.23, S=1.85 ; X =31.53, S=2.22; X =32.30, S=2.10; X =31.87, S=2.34 ) และเมื่ อทดสอบแล้วพบว่า ทุกแผนการจัดการเรี ยนรู ้นกเรี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ ั ั ระดับ 0.5 เช่นเดียวกัน (4) ด้านความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน โดยรวมนักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 96.67 ไม่ผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้ อยละ 3.33 โดยนักเรี ยนมี ่ ่ ความพึงพอใจต่อการเรี ยนอยูในระดับมาก ( X =4.10, S=0.67) เมื่อทดสอบแล้วพบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจ สู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า ั
  • 5. ่ (4.1) ด้านเนื้ อหา นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 93.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 6.67 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจอยู่ ่ ในระดับมาก ( X =4.00,S=0.37 ) เมื่ อทดสอบแล้วพบว่านักเรี ย นมี ค วามพึงพอใจสู งกว่า เกณฑ์ อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อ ั การเรี ยนผ่านเกณฑ์ จานวน 2 ข้อ คือ ข้อ 1 เว็บช่วยสอนมีเนื้ อหาเกี่ยวกับอินเทอร์ เน็ตที่ทนสมัย ั ่ อยูในความสนใจของนักเรี ยน คิดเป็ นร้อยละ 90.00 และข้อ 2 การลาดับเนื้ อหาในเว็บช่วยสอนมี ความสัมพันธ์ต่อเนื่ อง ได้แก่ 1) อินเทอร์ เน็ตและเวิร์ดไวท์เว็บ 2) การสื บค้นผ่านเว็บ 3) จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์หรื ออีเมล (E-mail) และ 4) ภัยจากอินเทอร์ เน็ต คิดเป็ นร้อยละ 86.67 นักเรี ยนมีความ ่ พึงพอใจต่อการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์ จานวน 1 ข้อ คือ ข้อ 3 เนื้ อหาในเว็บช่วยสอนมีความยากง่าย ่ เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน คิดเป็ นร้อยละ 53.33 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูในระดับมากทุกข้อ เมื่อทดสอบแล้ว พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ั จานวน 2 ข้อ คือ ข้อ 1 ( X =4.20, S=0.61) และข้อ 2 ( X =4.17, S=0.65) และนักเรี ยนมีความพึง พอใจต่ากว่าเกณฑ์ จานวน 1 ข้อ คือ ข้อ 3 ( X =3.63, S=0.67) (4.2) ด้านกิจกรรมการเรี ยนการสอนนักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ ่ ่ อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 93.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 6.67 โดยนักเรี ยนมี ่ ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.16, S=0.43) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจ สู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่านักเรี ยนมี ั ความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 4 กิจกรรมการเรี ยนการสอน ได้แก่ การศึกษา เว็บช่วยสอน การทาแบบฝึ กหัด การปฏิบติงานกลุ่ม เหมาะสมกับเวลาเรี ยนที่กาหนดในแต่ละครั้ง ั คิดเป็ นร้อยละ 73.33 ข้อ 5 นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการปฏิบติกิจกรรมกลุ่มได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กบเพื่อน ั ั และครู ผสอน คิดเป็ นร้อยละ 76.67 ข้อ 6 นักเรี ยนได้ปฏิบติ การสื บค้นด้วย Google นามาสร้างงานใหม่ ู้ ั และใช้อีเมลรับ-ส่ งข้อมูลด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 96.67 และข้อ 7 ครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ทบทวน ั บทเรี ยนจากเว็บช่วยสอน และฝึ กปฏิบติใบงานด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยนสม่าเสมอ ั ่ คิดเป็ นร้อยละ 90.00 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูในระดับมากทุกข้อ ( X =3.77, S=0.50; X =3.97, S=0.67; X =4.43, S=0.68; X =4.47, S=0.68) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่า เกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกข้อเช่นเดียวกัน ั (4.3) ด้านสื่ อการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ ่ ่ อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 83.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 16.67 โดยนักเรี ยนมี ่ ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.02, S=0.69) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจสู ง กว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจ ั
  • 6. ฉ ต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 8 สื่ อเว็บช่วยสอน แบบฝึ กหัด ใบงานกลุ่ม และใบงานเดี่ยว ตอบสนองการเรี ยนรู้ในยุคปัจจุบนได้อย่างเหมาะสม คิดเป็ นร้อยละ 90.00 ข้อ 9 เว็บช่วยสอนออกแบบ ั ได้เหมาะสม สวยงาม สร้างสรรค์ ทั้งในส่ วนของโฮมเพจ เว็บเพจเนื้ อหา เว็บเพจแบบฝึ กหัด เว็บเพจ แหล่งอ้างอิง และเว็บเพจครู ผสอน คิดเป็ นร้อยละ 83.33 และข้อ 10 เว็บช่วยสอนมีข้ นตอนการเรี ยกใช้ ู้ ั หรื อการเข้าถึงง่ายและมีข้ นตอนการปฏิบติการเรี ยนรู้ชดเจนเป็ นลาดับ คิดเป็ นร้อยละ 73.33 โดยนักเรี ยน ั ั ั มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกข้อ ( X =4.13, S=0.57; X =3.97, S=0.56; X =3.97, S=0.89) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ั ทุกข้อเช่นเดียวกัน (4.4) ด้านการวัดผลประเมินผล นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ ่ ่ อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 83.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 16.67 โดยนักเรี ยนมี ่ ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.25, S=0.50) เมื่อทดสอบแล้วพบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่า เกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจ ั ต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 11 ครู ใช้วธีการวัดผลประเมินผลที่หลากหลาย ได้แก่ การตรวจ ิ ผลงานกลุ่ม ผลงานเดี่ยว การสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการทดสอบ คิดเป็ นร้อยละ 86.67 และข้อ 12 ครู กาหนดเกณฑ์การวัดและประเมิ นผลที่ชดเจน ประกอบด้วยเกณฑ์การให้คะแนน ั เกณฑ์การแปลผล และเกณฑ์การตัดสิ น โดยแจ้งให้นกเรี ยนทราบ คิดเป็ นร้อยละ 90.00 โดยนักเรี ยน ั ่ มีความพึงพอใจอยูในระดับมากทุกข้อ ( X =4.23, S=0.68; X =4.27, S=0.67) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ทุกข้อเช่นเดียวกัน ั (4.5) ด้านประโยชน์ที่ได้จากการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยน ่ ่ ผ่านเกณฑ์อยูในระดับมาก ( X =3.51) คิดเป็ นร้อยละ 93.33 ไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 6.67 โดย ่ นักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X =4.12, S=0.61) เมื่อทดสอบแล้วพบว่า นักเรี ยนมีความพึง พอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า นักเรี ยน ั มีความพึงพอใจต่อการเรี ยนผ่านเกณฑ์ทุกข้อ คือ ข้อ 13 นักเรี ยนเกิดทักษะและความชานาญในด้าน การสื บค้นด้วย Google นามาสร้างงานนาเสนอใหม่ตามวัตถุประสงค์ของงาน และการสื่ อสารผ่าน อีเมล (E-mail) มากขึ้น คิดเป็ นร้อยละ 86.67 ข้อ 14 นักเรี ยนเกิดการปรับเปลี่ยนลักษณะนิสัยมีวนย ิ ั ในการเรี ยนรู้ มีคุณธรรมจริ ยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตและ เห็นคุณค่าของอินเทอร์ เน็ต คิดเป็ นร้อยละ 93.33 และข้อ 15 นักเรี ยนสามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากการเรี ยนหน่วยอินเทอร์ เน็ตนี้ไปสู่ การเรี ยนรู ้ ในวิชาอื่นๆ และประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวันได้ คิดเป็ นร้อยละ 86.67 โดยนักเรี ยนมีความพึงพอใจ ิ อยู่ใ นระดับมากทุ กข้อ ( X =4.17, S=0.75; X =4.13, S=0.51; X =4.07, S=0.58) เมื่อทดสอบแล้ว พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจสู งกว่าเกณฑ์อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ทุกข้อเช่นเดียวกัน ั
  • 7. 2) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้หน่วยอินเทอร์ เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสาร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนนาดีวทยา ิ อาเภอเมือง จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้เว็บช่วยสอนในรู ปแบบการเรี ยนรู ้ “ฉลาดรู้” ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน พบว่า นักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู ้ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ้ หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีคะแนนพัฒนาการอย่างเห็นได้ชด ั ั ( D = 4.10, S D =3.698)