SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 1
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเป็นมรดก ทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษไทยได้สร้างสมไว้อย่างสืบเนื่องต่อกันมา ช้านาน
เครื่องดนตรีแต่ละประเภทมีประวัติที่มา ลักษณะ รูปแบบการบรรเลง การประสมวงและการเรียกชื่อที่แตกต่างกันไป
ดังจะได้กล่าวตามลาดับดังนี้
การบัญญัติชื่อเครื่องดนตรีไทย
1. เรียกชื่อตามเสียงที่ได้ยิน เช่น ฉิ่ง ฉาบ โกร่ง กรับ โหม่ง ระนาดทุ้ม เป็นต้น
2. เรียกชื่อตามรูปร่างลักษณะ เช่น ซอสามสาย จะเข้สองหน้า กลองยาว ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก เป็นต้น
3. เรียกชื่อตามแบบแผนที่ใช้ประกอบการเล่น เช่น กลองชาตรี ฆ้องระเบง ปี่กาหลอ เป็นต้น
4. เรียกชื่อตามตานาน (ส่วนใหญ่รับมาจากชาติอื่น) เช่น กลองมลายูกลองแขก กลองจีน ปี่ชวา ปีมอญ
เครื่องดนตรีประเภทดีด
กระจับปี่
กระจับปี่ คือ พิณชนิดหนึ่งมี4 สาย กะโหลกเป็นรูปรีแบน ทั้งด้านหน้า และด้านหลังทวนยาวเรียวโค้งมีนม
รับนิ้วสาหรับกดสาย 11 นม ไม้ดีดทาด้วยเขาหรือกระดูกสัตว์กระจับปี่เป็นเครื่องดนตรีโบราณ
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 2
พิณ
พิณมี 2 ชนิดคือ พิณน้าเต้า และพิณเพี๊ยะ
ลักษณะคล้ายกันคือกะโหลกทาด้วยน้าเต้ามีลูกบิดสายสาหรับเร่ง และตั้งเสียงพิณน้าเต้ามีสายเดียว
ส่วนพิณเพี๊ยะมี4 สาย ใช้ดีดประสาน และคลอกับเสียงร้องของผู้เล่นเอง
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 3
ซึง
ซึงมี 4 สายเหมือนกระจับปี่ มีรูปร่างคล้าย พิณวงเดือนของจีน(จีนเรียก เยอะฉิน) ของไทยทางภาคเหนือ
เรียก ซึง ส่วนภาคอีสาน เรียกพิณอีสานเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือใช้ประสมวงกับปี่ซอ
จะเข้
เป็นเครื่องดีดที่มีเสียงกังวานไพเราะ สันนิษฐานว่า ปรับปรุงมาจากพิณ เพื่อให้นั่งดีดได้สะดวก ตัวจะเข้
ทาด้วยไม้ขนุนท่อนเดียวมีเท้ารองตอนหัว4 อัน ตอนปลายหาง อีก 1 อัน มี 3 สาย ไม้ดีดกลม ปลายแหลม ใช้ดีด
ไปบนสายที่พาดบนนม นม มี11 อัน ประสมอยู่ในวง เครื่องสาย วงมโหรี
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 4
เครื่องดนตรีประเภท สี
ซอสามสาย
เป็นเครื่องดนตรีเก่าแก่ของไทย ในสมัยสุโขทัยเรียกซอพุงตอ กะโหลกซอทาด้วยกะลามะพร้าวชนิดพิเศษ
คือมีกะลานูนเป็นกระพุ้งออกมา3 ปุ่ม ขึงหนังแพะหรือหนังลูกวัวปิดปากกะลาส่วนประกอบที่สาคัญนอกจากหย่อง
ซึ่งเป็นไม้สาหรับหนุนสายตรงหนังซอให้สายตุงออกมายังมีถ่วงหน้าตรงด้าน ซ้ายตอนบนซึ่งช่วยให้ซอมีความ
ไพเราะ กังวาน ทั้งยังเป็นที่ประดับประดาอัญมณีเพื่อให้เกิดความสวยงาม ใช้บรรเลงประสมอยู่ในวงขับไม้วงมโหรี
และวงดนตรีประกอบชุดโบราณคดี
ซอด้วง
มี 2 สาย กะโหลกซอเดิมทาด้วยกระบอกไม้ไผ่ในปัจจุบันนิยมใช้ไม้เนื้อแข็งเจาะกลึง ขึ้นหน้ากะโหลก
ซอด้วยหนังงูเหลือม คันทวนตอนบนปาดปลาย ลักษณะคล้ายโขนเรือ มีลูกบิด2 อันสอดคันชักระหว่างสายซอ
ทั้ง 2 เส้น เนื่องจากรูปร่างลักษณะของซอคล้ายด้วงดักสัตว์จึงเรียกว่า“ซอด้วง ใช้ประสม ในวงเครื่องสาย และมโหรี
ทาหน้าที่เป็นเครื่องนาวงในวงเครื่องสาย
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 5
สะล้อ
เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองของภาคเหนือ มี 2-3สาย ลักษณะคล้ายซออู้กับซอสามสายผสมกัน มีคันชัก
อยู่ด้านนอก ใช้บรรเลงเดี่ยวบ้าง บรรเลงประสมกับซึงบ้าง หรือกับปี่ซอบ้าง เป็นต้น
เครื่องดนตรีประเภท ตี
ระนาดเอก
เป็นเครื่องดนตรีที่มีวิวัฒนาการมาจากกรับโดยการนากรับหลายอันที่มีขนาดแตกต่างกันมาร้อยเรียงและ
แขวนบนรางระนาดผืนระนาดทาจากไม้ไผ่บงไม้ชิงชัน ไม้มะหาด ไม้พยุง เป็นต้น มีลูกระนาด21-22 ลูก
เทียบเสียงด้วยการติดตะกั่วผสมขี้ผึ้งมีไม้ตี 2 ชนิด ไม้แข็ง และไม้นวม โดยปกติจะตีพร้อมกันทั้ง 2 มือ เป็นคู่แปด
ดาเนินทานองเก็บถี่ โดยแปรจากทานองหลัก(ฆ้อง) เป็นทานองเต็มทาหน้าที่เป็นผู้นาวง
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 6
ระนาดทุ้ม
เป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่3 โดย ประดิษฐ์เลียนแบบระนาดเอก แต่ใหญ่ กว้าง และเสียงทุ้ม
กว่า มีลูกระนาด17-18ลูก ทาหน้าที่ แปรทานองหลักจากฆ้อง เป็นทาง และลีลาตลกคะนอง มีการขัด ล้อ ล้วงล้า
เหลื่อม เป็นต้น ตีสอดแทรก ยั่วเย้า หยอกล้อ ไปกับเครื่องดาเนินทานองให้สนุกสนาน
ระนาดเอกเหล็ก
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ระนาดทอง เป็นเครื่องดนตรีที่ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4โดยประดิษฐ์จากเหล็ก
หรือทองเหลือง เมื่อบรรเลง จึงมีเสียงดังกว่าระนาดไม้ทาหน้าที่ในการบรรเลง โดยแปรลูกฆ้องออกเป็นทานองเต็ม
เหมือนระนาดเอก เพียงแต่ไม่ทาหน้าที่ผู้นาวงเท่านั้น
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 7
ระนาดทุ้มเหล็ก
ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดาริให้สร้างขึ้น
โดยทรงได้แนวคิดมาจากหีบเพลงฝรั่ง ระนาดทุ้มเหล็กมี 16 ลูก ทาหน้าที่โดยแปรลูกฆ้องออก เป็นทานอง เต็ม
มีเสียงกังวาน และหึ่งจึงคล้าย (Bass) ของวง ดนตรีตะวันตก
ฆ้องวงใหญ่
วิวัฒนาการมาจากฆ้องเดี่ยวฆ้องคู่ ฆ้องราว และฆ้องราง จนกระทั่งเป็นฆ้องวง โดยมีลูกฆ้องร้อยเรียงบนราง
รอบร้านฆ้อง จานวน 16 ลูก เรียงจากลูกใหญ่ด้านซ้ายมือ มาหาลูกเล็กด้านขวามือดาเนินทานองหลักอันเป็นแม่บท
ของเพลง จัดเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสาคัญที่สุด นักดนตรีในวงปี่พาทย์ทุกคน ต้องเริ่มหัดเรียนฆ้องวงใหญ่ก่อน
จึงจะเปลี่ยนเป็นไปเรียนเครื่องดนตรีชนิดอื่นสันนิษฐานว่าฆ้องวงใหญ่มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 8
ฆ้องวงเล็ก
ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เพื่อให้เข้ากับฆ้องวงใหญ่ มีขนาดเล็กกว่าแต่มีจานวนลูกฆ้อง มากกว่าโดยมี
18 ลูก ทาหน้าที่ ดาเนินทานองโดยแปรลูกฆ้อง ออกเป็นทานองเต็ม ทาหน้าที่สอดแทรกทานองในทางเสียงสูง
ฆ้องมอญวงใหญ่
เป็นเครื่องดนตรีของชาวรามัญนักดนตรีไทยนาเครื่องดนตรีชนิดนี้มาบรรเลงทั่วไปเพื่อประกอบ ละคร
พันทางบ้างประโคมในงานศพบ้างลักษณะของฆ้องมอญจะมีรูปทรงโค้งขึ้นไปทั้งสองข้างมีลวดลาย ตกแต่ง
สวยงาม มีลูกฆ้อง 15 ลูก ดาเนินทานองเพลง และทาหน้าที่เหมือนฆ้องวงใหญ่ของไทย
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 9
ฆ้องมอญวงเล็ก
ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอย่างฆ้องวงเล็กแต่ให้มีรูปทรงเหมือนฆ้องมอญ มีลูกฆ้อง 18 ลูก ดาเนินทานองเพลง และ
ทาหน้าที่แปรลูกฆ้องเหมือนฆ้องวงเล็กของไทย
ตะโพน
เป็นกลองสองหน้า หน้าหนึ่งใหญ่ และ อีกหน้าหนึ่งเล็ก หน้าใหญ่เรียกว่า หน้าเท่ง หน้าเล็กเรียกว่าหน้ามัดใช้ตี
กากับจังหวะหน้าทับต่างๆ ของเพลงไทยในวงปี่พาทย์ตะโพนสามารถตีได้ถึง 12 เสียง
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 10
สองหน้า
มีรูปร่าง เหมือนเปิงมาง กลองชนิดนี้ สร้างขึ้นเลียนแบบเปิงมาง แต่มีขนาดใหญ่กว่าใช้ตีกากับจังหวะในวง
ปี่พาทย์แทนตะโพน เพื่อใช้ประกอบการขับเสภา เริ่มใช้มาตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 2
กลองทัด
เป็นกลองที่ชาวไทยทาขึ้นใช้แต่เดิมมีขนาดใหญ่ที่สุดในวงปี่พาทย์กลองชนิดนี้เป็น กลองสองหน้าขึงด้วยหนัง
ตัวกลองทาด้วยไม้เนื้อแข็ง ข้างกลองมีห่วงสาหรับแขวนหรือตั้งขาหยั่ง1 ห่วง เวลาตีใช้ตีเพียงหน้าเดียว ไม้สาหรับ
ใช้ตีเป็นไม้รวก 2 ท่อน
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 11
กลองตะโพน
กลองตะโพนนี้ได้ปรับปรุงใช้สาหรับวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ดัดแปลงโดย การนาตะโพนมาตีอย่างกลองทัด
โดย ใช้ไม้นวมเป็นไม้ตี ไม่ได้ใช้ฝ่ามือตี อย่างตะโพน
โทน
เป็นกลองที่ขึงด้วยหนังหน้าเดียว ใช้ตีกากับจังหวะในวงดนตรีไทยมีด้วยกัน2 ชนิดโทนชาตรี ตัวกลองทา
ด้วยไม้ใช้กับ วงปี่พาทย์ชาตรี ตีประกอบการแสดงโนห์ราชาตรีและหนังตะลุง นอกจากนั้นยังใช้ตีกากับจังหวะใน
วงปี่พาย์วงเครื่องสาย และวงมโหรี เมื่อเล่นเพลงเขมร และตะลุง โทนมโหรี ตัวกลองทาด้วยดินเผาด้วยเหตุที่กลอง
ชนิดนี้ใช้ตีเฉพาะในวงเครื่องสาย และวงมโหรี จึงเรียกว่า โทนมโหรี เวลาตีใช้ตีคู่กับ รามะนา
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 12
รามะนา
เป็นกลองหน้าเดียว มี 2 ชนิด รามะนามโหรี ขนาดเล็กใช้ตีกากับจังหวะในวงเครื่องสาย และวงมโหรี โดยใช้
ตีคู่กับ โทน รามะนาลาตัด ขนาดใหญ่ไทยได้แบบอย่างมาจากชวา ในสมัย รัชกาลที่5 ใช้ประกอบ การแสดงลาตัด
กลองชนะ
รูปร่างเหมือนกลองมลายูแต่สั้นกว่าแต่เดิมใช้ตีเป็นจังหวะในการฝึกเพลงอาวุธ จึงเรียกกลองชนิดนี้ว่ากลอง
ชนะ เพื่อเป็นมงคล ในสมัยต่อมาใช้ตีเป็นเครื่อง ประโคมในขบวนเสด็จพยุหยาตรา
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 13
กลองแขก
รูปร่างเป็นทรงกระบอก ชุดหนึ่งมี 2 ลูก ลูกหนึ่งเสียงต่า เรียก “ตัวเมีย”อีกลูกหนึ่ง เสียงสูง เรียก “ตัวผู้” ใช้ตี
ด้วยฝ่ามือใช้ตีกากับในวงปี่พาทย์และใช้แทนโทน-รามะนา ในวงเครื่องสายได้อีกด้วย
กลองมลายู
รูปร่างเหมือนกลองแขก แต่ สั้นกว่า ไทยนามาใช้ในขบวนแห่ ต่อมาใช้ตีประโคมศพโดยจัดเป็นชุด ชุดหนึ่งมี
4 ลูก ภายหลังได้ลดลงเหลือเพียง 2 ลูก เพื่อใช้บรรเลงคู่กันเหมือน กลองแขกในวงปี่พาทย์
กลองยาว
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 14
เป็นกลอง หน้าเดียว มีสายสาหรับสะพาย คล้องคอ ใช้มือตี เพื่อความสนุกสนาน ผู้เล่นอาจใช้กาปั้น ศอก เข่า
ศรีษะ ฯลฯ เราได้แบบอย่างการตีกลองยาวมาจากพม่าสมัยที่พม่าเข้ามาตั้งแต่ค่ายเพื่อทาสงครามกับไทย
มโหระทึก
เป็นกลองชนิดหนึ่งแต่เป็นกลองหน้าเดียว หล่อด้วยโลหะผสมทองแดง ตะกั่ว ดีบุกกว้าง65 เซนติเมตร สูง 53
เซนติเมตร ก้นกว้าง70.5 เซนติเมตร เอว 50 เซนติเมตร คอดเป็นมโหระทึก ใช้ในพระราชพิธีและกระทากิจของสงฆ์
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 15
เปิงมางคอก
ใช้เปิงมาง จานวน 7 ลูก มีขนาดลดหลั่นกันผูกเรียงลาดับตามขนาดจากใหญ่ไปเล็กโดยทาเป็นวงลักษณะเป็น
คอก จึงเรียกว่า“เปิงมางคอก” ใช้ตีประสานคู่กับตะโพนมอญ
ฉิ่ง
เป็นเครื่องตีกากับจังหวะ ทาด้วยโลหะรูปร่างกลม เว้ากลาง ปากผาย คล้ายฝาขนมครกไม่มีจุกสารับหนึ่งมี
สองฝาเจาะรูตรงกลางที่เว้า สาหรับร้อยเชือกโยงฝาทั้งสอง เพื่อสะดวกในการถือตี ฉิ่งมีสองขนาด ขนาดใหญ่ใช้
ประกอบวงปีพาทย์ขนาดเล็กใช้กับวงเครื่องสายและมโหรี
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 16
ฉาบ
เป็นเครื่องตีกากับจังหวะ ทาด้วยโลหะ รูปร่างคล้าย ฉิ่ง แต่ มีขนาดใหญ่กว่าและหล่อบางกว่า มีสองขนาด
ขนาดใหญ่กว่าเรียกว่า ฉาบใหญ่ ขนาดเล็กกว่า เรียกว่า ฉาบเล็กการตีจะตีแบบประกบ และตีแบบเปิดให้เสียงต่างกัน
กรับพวง
ทาด้วยไม้หรือโลหะ ลักษณะเป็นแผ่นบางหลายแผ่นร้อยเข้าด้วยกัน ใช้ไม้หนาสองชิ้นประกบไว้ลักษณะ
คล้ายพัดกรับเสภา ทาด้วยไม้เนื้อแข็งลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม มีสันมน
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 17
ฆ้องโหม่ง
รูปร่างเหมือนกับฆ้องชัย แต่ขนาดเล็กและบางกว่า เส้นศูนย์กลางประมาณ๒๐ - ๒๕ ซม.ฆ้องเหม่ง รูปร่าง
เหมือนกับฆ้องโหม่งแต่มี ขนาดใหญ่กว่าและหนากว่า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑๗ ซม.
เครื่องดนตรีประเภทเป่ า
ปี่ เป็นเครื่องดนตรีที่มีมาแต่โบราณมีลักษณะ และวิธีการเป่าที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งยังเลียนเสียงคาพูดของคน
ได้ชัดเจน และใกล้เคียงที่สุด ปี่ที่กล่าวมานี้ มี 3 ชนิด คือ ปี่ใน ปี่กลาง และปี่นอก มีรูปร่างเหมือนกันต่างกันที่ขนาด
ปี่ใน มีขนาดใหญ่ ใช้บรรเลง ในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง และประกอบการแสดงโขน ละคร
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 18
ปี่กลาง มีขนาดกลาง ใช้บรรเลง ในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง และประกอบการแสดงโขน หนังใหญ่ ซึ่งแสดง
กลางแจ้ง
ปี่นอก มีขนาดเล็ก่ใช้บรรเลง ใน วงปี่พาทย์ไม้แข็ง (ปัจจุบันไม่นิยมนามาประสมวง) และวงปี่พาทย์ชาตรี
ประกอบละครชาตรี โนรา หนังตะลุง
ปี่ชวา เดิมเป็นของชวา ตัวปี่มี 2 ท่อน ท่อนบนเรียกเลาปี่ ท่อนล่างเรียกลาโพง ทาด้วยไม้หรืองาช้าง ปี่ชวา
มีเสียงแหลมดัง ใช้เป่าคู่กับกลองแขกเรียกวงปี่กลองแขกใช้ประกอบการแสดงกระบี่กระบองและการชกมวยไทย
ประสมกับกลองมลายูเรียกว่าวงปี่กลองมลายูและวงบัวลอยนอกจากนี้ยังประสม ในวงปี่พาทย์นางหงส์และวง
เครื่องสายปี่ชวา
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 19
ปี่มอญ เป็นปี่ของชาวรามัญ ประกอบด้วยเลาปี่ และลาโพงปี่ทาด้วยทองเหลืองทั้ง 2 ส่วนนี้ สอดสวมกัน
หลวมๆ มีเชือกผูกโยงมิให้หลุดจากกัน ปี่มอญมีเสียงโหยหวน ฟังแล้วชวนให้เกิดอารมณ์เศร้า ใช้ประสม ในวงปี่
พาทย์มอญ และ บรรเลงประกอบใน การฟ้อนของภาคเหนือ
ปี่ซอ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าปี่จุม เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือทาด้วยไม้รวกมีหลายขนาดแตกต่างกัน
ไปประสมในวงปี่ซอ และบรรเลงร่วมกับวงดนตรีพื้นเมืองอื่นๆของภาคเหนือปี่ซอเมื่อบรรเลงรวมเป็นวงปี่ซอจะมี
4 เล่ม คือปี่แม่ ปี่กลาง ปี่ก้อย และปี่เล็ก
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 20
ขลุ่ย เป็นเครื่องเป่าดั้งเดิมของไทย เหตุที่เรียกว่า“ขลุ่ย” สันนิษฐานว่าเรียกตามเสียงที่ได้ยินปกติ ขลุ่ยจะทา
ด้วยไม้รวกปล้องยาวๆไว้ข้อทางส่วนปลาย วัสดุอื่นที่นามาแทนมีงาช้าง ไม้จริง ท่อเอสลอน ขลุ่ยเลาหนึ่งมีรูสาหรับ
นิ้วปิดเปิดเพื่อเปลี่ยนเสียง 7 รู มีดากปิดส่วนบนสาหรับเป่าลมตอนล่างมีรูปากนกแก้วและนิ้วค้า
ขลุ่ยอู้เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ที่สุดใช้ประสมวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์เป็นต้น
เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 21
ขลุ่ยเพียงออ เป็นขลุ่ยขนาดกลางใช้ประสมในวงปี่พาทย์ไม้นวม วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์วงเครื่องสายปี่ชวา
วงเครื่องสาย วงมโหรี เป็นต้น
ขลุ่ยหลิบ เป็นขลุ่ยขนาดเล็ก แต่ใหญ่กว่าขลุ่ยกรวดใช้ประสมในวงเครื่องสาย วงมโหรีและวงเครื่องสาย ปี่ชวา
เป็นต้น
ที่มา
http://www2.udru.ac.th/~musicnote/dontreethai_2.html
http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=banrakthai&date=22-08-
2008&group=12&gblog=1

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกPikaya
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 

What's hot (20)

การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
องค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรีองค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรี
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากลรายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

Viewers also liked

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์leemeanxun
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
Kyle Meeks BYU Advertising Portfolio
Kyle Meeks BYU Advertising PortfolioKyle Meeks BYU Advertising Portfolio
Kyle Meeks BYU Advertising Portfoliomeekskyle
 
осенние праздники
осенние праздникиосенние праздники
осенние праздникиmsikanov
 
Cloudstat Startup Weekend Singapore 2012 Demo
Cloudstat Startup Weekend Singapore 2012 DemoCloudstat Startup Weekend Singapore 2012 Demo
Cloudstat Startup Weekend Singapore 2012 DemoKai Chew
 
агит бригада
агит бригадаагит бригада
агит бригадаmsikanov
 
мероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалковамероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалковаmsikanov
 
Beyoncé
BeyoncéBeyoncé
Beyoncédori5
 
Senior project 2012
Senior project 2012Senior project 2012
Senior project 2012NickLogston
 
веселые старты
веселые стартывеселые старты
веселые стартыmsikanov
 
слон тишка
слон тишкаслон тишка
слон тишкаmsikanov
 

Viewers also liked (20)

การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
Lekoteka
LekotekaLekoteka
Lekoteka
 
Kyle Meeks BYU Advertising Portfolio
Kyle Meeks BYU Advertising PortfolioKyle Meeks BYU Advertising Portfolio
Kyle Meeks BYU Advertising Portfolio
 
осенние праздники
осенние праздникиосенние праздники
осенние праздники
 
Cloudstat Startup Weekend Singapore 2012 Demo
Cloudstat Startup Weekend Singapore 2012 DemoCloudstat Startup Weekend Singapore 2012 Demo
Cloudstat Startup Weekend Singapore 2012 Demo
 
агит бригада
агит бригадаагит бригада
агит бригада
 
Psychologie
PsychologiePsychologie
Psychologie
 
009.safetymanagement v3
009.safetymanagement v3009.safetymanagement v3
009.safetymanagement v3
 
мероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалковамероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалкова
 
Beyoncé
BeyoncéBeyoncé
Beyoncé
 
Senior project 2012
Senior project 2012Senior project 2012
Senior project 2012
 
веселые старты
веселые стартывеселые старты
веселые старты
 
слон тишка
слон тишкаслон тишка
слон тишка
 
SUSANA MOLINA
SUSANA MOLINASUSANA MOLINA
SUSANA MOLINA
 
Cv 15
Cv 15Cv 15
Cv 15
 

Similar to เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56

แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนpeter dontoom
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยlove5710
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445CUPress
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxleemeanshun minzstar
 

Similar to เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56 (20)

Music
MusicMusic
Music
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
Ppt เตย สังคม
Ppt เตย สังคมPpt เตย สังคม
Ppt เตย สังคม
 
หลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะหลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะ
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 

More from อำนาจ ศรีทิม

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 

More from อำนาจ ศรีทิม (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 

เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56

  • 1. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 1 เครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีไทยเป็นมรดก ทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษไทยได้สร้างสมไว้อย่างสืบเนื่องต่อกันมา ช้านาน เครื่องดนตรีแต่ละประเภทมีประวัติที่มา ลักษณะ รูปแบบการบรรเลง การประสมวงและการเรียกชื่อที่แตกต่างกันไป ดังจะได้กล่าวตามลาดับดังนี้ การบัญญัติชื่อเครื่องดนตรีไทย 1. เรียกชื่อตามเสียงที่ได้ยิน เช่น ฉิ่ง ฉาบ โกร่ง กรับ โหม่ง ระนาดทุ้ม เป็นต้น 2. เรียกชื่อตามรูปร่างลักษณะ เช่น ซอสามสาย จะเข้สองหน้า กลองยาว ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก เป็นต้น 3. เรียกชื่อตามแบบแผนที่ใช้ประกอบการเล่น เช่น กลองชาตรี ฆ้องระเบง ปี่กาหลอ เป็นต้น 4. เรียกชื่อตามตานาน (ส่วนใหญ่รับมาจากชาติอื่น) เช่น กลองมลายูกลองแขก กลองจีน ปี่ชวา ปีมอญ เครื่องดนตรีประเภทดีด กระจับปี่ กระจับปี่ คือ พิณชนิดหนึ่งมี4 สาย กะโหลกเป็นรูปรีแบน ทั้งด้านหน้า และด้านหลังทวนยาวเรียวโค้งมีนม รับนิ้วสาหรับกดสาย 11 นม ไม้ดีดทาด้วยเขาหรือกระดูกสัตว์กระจับปี่เป็นเครื่องดนตรีโบราณ
  • 2. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 2 พิณ พิณมี 2 ชนิดคือ พิณน้าเต้า และพิณเพี๊ยะ ลักษณะคล้ายกันคือกะโหลกทาด้วยน้าเต้ามีลูกบิดสายสาหรับเร่ง และตั้งเสียงพิณน้าเต้ามีสายเดียว ส่วนพิณเพี๊ยะมี4 สาย ใช้ดีดประสาน และคลอกับเสียงร้องของผู้เล่นเอง
  • 3. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 3 ซึง ซึงมี 4 สายเหมือนกระจับปี่ มีรูปร่างคล้าย พิณวงเดือนของจีน(จีนเรียก เยอะฉิน) ของไทยทางภาคเหนือ เรียก ซึง ส่วนภาคอีสาน เรียกพิณอีสานเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือใช้ประสมวงกับปี่ซอ จะเข้ เป็นเครื่องดีดที่มีเสียงกังวานไพเราะ สันนิษฐานว่า ปรับปรุงมาจากพิณ เพื่อให้นั่งดีดได้สะดวก ตัวจะเข้ ทาด้วยไม้ขนุนท่อนเดียวมีเท้ารองตอนหัว4 อัน ตอนปลายหาง อีก 1 อัน มี 3 สาย ไม้ดีดกลม ปลายแหลม ใช้ดีด ไปบนสายที่พาดบนนม นม มี11 อัน ประสมอยู่ในวง เครื่องสาย วงมโหรี
  • 4. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 4 เครื่องดนตรีประเภท สี ซอสามสาย เป็นเครื่องดนตรีเก่าแก่ของไทย ในสมัยสุโขทัยเรียกซอพุงตอ กะโหลกซอทาด้วยกะลามะพร้าวชนิดพิเศษ คือมีกะลานูนเป็นกระพุ้งออกมา3 ปุ่ม ขึงหนังแพะหรือหนังลูกวัวปิดปากกะลาส่วนประกอบที่สาคัญนอกจากหย่อง ซึ่งเป็นไม้สาหรับหนุนสายตรงหนังซอให้สายตุงออกมายังมีถ่วงหน้าตรงด้าน ซ้ายตอนบนซึ่งช่วยให้ซอมีความ ไพเราะ กังวาน ทั้งยังเป็นที่ประดับประดาอัญมณีเพื่อให้เกิดความสวยงาม ใช้บรรเลงประสมอยู่ในวงขับไม้วงมโหรี และวงดนตรีประกอบชุดโบราณคดี ซอด้วง มี 2 สาย กะโหลกซอเดิมทาด้วยกระบอกไม้ไผ่ในปัจจุบันนิยมใช้ไม้เนื้อแข็งเจาะกลึง ขึ้นหน้ากะโหลก ซอด้วยหนังงูเหลือม คันทวนตอนบนปาดปลาย ลักษณะคล้ายโขนเรือ มีลูกบิด2 อันสอดคันชักระหว่างสายซอ ทั้ง 2 เส้น เนื่องจากรูปร่างลักษณะของซอคล้ายด้วงดักสัตว์จึงเรียกว่า“ซอด้วง ใช้ประสม ในวงเครื่องสาย และมโหรี ทาหน้าที่เป็นเครื่องนาวงในวงเครื่องสาย
  • 5. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 5 สะล้อ เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองของภาคเหนือ มี 2-3สาย ลักษณะคล้ายซออู้กับซอสามสายผสมกัน มีคันชัก อยู่ด้านนอก ใช้บรรเลงเดี่ยวบ้าง บรรเลงประสมกับซึงบ้าง หรือกับปี่ซอบ้าง เป็นต้น เครื่องดนตรีประเภท ตี ระนาดเอก เป็นเครื่องดนตรีที่มีวิวัฒนาการมาจากกรับโดยการนากรับหลายอันที่มีขนาดแตกต่างกันมาร้อยเรียงและ แขวนบนรางระนาดผืนระนาดทาจากไม้ไผ่บงไม้ชิงชัน ไม้มะหาด ไม้พยุง เป็นต้น มีลูกระนาด21-22 ลูก เทียบเสียงด้วยการติดตะกั่วผสมขี้ผึ้งมีไม้ตี 2 ชนิด ไม้แข็ง และไม้นวม โดยปกติจะตีพร้อมกันทั้ง 2 มือ เป็นคู่แปด ดาเนินทานองเก็บถี่ โดยแปรจากทานองหลัก(ฆ้อง) เป็นทานองเต็มทาหน้าที่เป็นผู้นาวง
  • 6. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 6 ระนาดทุ้ม เป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่3 โดย ประดิษฐ์เลียนแบบระนาดเอก แต่ใหญ่ กว้าง และเสียงทุ้ม กว่า มีลูกระนาด17-18ลูก ทาหน้าที่ แปรทานองหลักจากฆ้อง เป็นทาง และลีลาตลกคะนอง มีการขัด ล้อ ล้วงล้า เหลื่อม เป็นต้น ตีสอดแทรก ยั่วเย้า หยอกล้อ ไปกับเครื่องดาเนินทานองให้สนุกสนาน ระนาดเอกเหล็ก เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ระนาดทอง เป็นเครื่องดนตรีที่ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4โดยประดิษฐ์จากเหล็ก หรือทองเหลือง เมื่อบรรเลง จึงมีเสียงดังกว่าระนาดไม้ทาหน้าที่ในการบรรเลง โดยแปรลูกฆ้องออกเป็นทานองเต็ม เหมือนระนาดเอก เพียงแต่ไม่ทาหน้าที่ผู้นาวงเท่านั้น
  • 7. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 7 ระนาดทุ้มเหล็ก ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดาริให้สร้างขึ้น โดยทรงได้แนวคิดมาจากหีบเพลงฝรั่ง ระนาดทุ้มเหล็กมี 16 ลูก ทาหน้าที่โดยแปรลูกฆ้องออก เป็นทานอง เต็ม มีเสียงกังวาน และหึ่งจึงคล้าย (Bass) ของวง ดนตรีตะวันตก ฆ้องวงใหญ่ วิวัฒนาการมาจากฆ้องเดี่ยวฆ้องคู่ ฆ้องราว และฆ้องราง จนกระทั่งเป็นฆ้องวง โดยมีลูกฆ้องร้อยเรียงบนราง รอบร้านฆ้อง จานวน 16 ลูก เรียงจากลูกใหญ่ด้านซ้ายมือ มาหาลูกเล็กด้านขวามือดาเนินทานองหลักอันเป็นแม่บท ของเพลง จัดเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสาคัญที่สุด นักดนตรีในวงปี่พาทย์ทุกคน ต้องเริ่มหัดเรียนฆ้องวงใหญ่ก่อน จึงจะเปลี่ยนเป็นไปเรียนเครื่องดนตรีชนิดอื่นสันนิษฐานว่าฆ้องวงใหญ่มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
  • 8. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 8 ฆ้องวงเล็ก ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เพื่อให้เข้ากับฆ้องวงใหญ่ มีขนาดเล็กกว่าแต่มีจานวนลูกฆ้อง มากกว่าโดยมี 18 ลูก ทาหน้าที่ ดาเนินทานองโดยแปรลูกฆ้อง ออกเป็นทานองเต็ม ทาหน้าที่สอดแทรกทานองในทางเสียงสูง ฆ้องมอญวงใหญ่ เป็นเครื่องดนตรีของชาวรามัญนักดนตรีไทยนาเครื่องดนตรีชนิดนี้มาบรรเลงทั่วไปเพื่อประกอบ ละคร พันทางบ้างประโคมในงานศพบ้างลักษณะของฆ้องมอญจะมีรูปทรงโค้งขึ้นไปทั้งสองข้างมีลวดลาย ตกแต่ง สวยงาม มีลูกฆ้อง 15 ลูก ดาเนินทานองเพลง และทาหน้าที่เหมือนฆ้องวงใหญ่ของไทย
  • 9. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 9 ฆ้องมอญวงเล็ก ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอย่างฆ้องวงเล็กแต่ให้มีรูปทรงเหมือนฆ้องมอญ มีลูกฆ้อง 18 ลูก ดาเนินทานองเพลง และ ทาหน้าที่แปรลูกฆ้องเหมือนฆ้องวงเล็กของไทย ตะโพน เป็นกลองสองหน้า หน้าหนึ่งใหญ่ และ อีกหน้าหนึ่งเล็ก หน้าใหญ่เรียกว่า หน้าเท่ง หน้าเล็กเรียกว่าหน้ามัดใช้ตี กากับจังหวะหน้าทับต่างๆ ของเพลงไทยในวงปี่พาทย์ตะโพนสามารถตีได้ถึง 12 เสียง
  • 10. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 10 สองหน้า มีรูปร่าง เหมือนเปิงมาง กลองชนิดนี้ สร้างขึ้นเลียนแบบเปิงมาง แต่มีขนาดใหญ่กว่าใช้ตีกากับจังหวะในวง ปี่พาทย์แทนตะโพน เพื่อใช้ประกอบการขับเสภา เริ่มใช้มาตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 2 กลองทัด เป็นกลองที่ชาวไทยทาขึ้นใช้แต่เดิมมีขนาดใหญ่ที่สุดในวงปี่พาทย์กลองชนิดนี้เป็น กลองสองหน้าขึงด้วยหนัง ตัวกลองทาด้วยไม้เนื้อแข็ง ข้างกลองมีห่วงสาหรับแขวนหรือตั้งขาหยั่ง1 ห่วง เวลาตีใช้ตีเพียงหน้าเดียว ไม้สาหรับ ใช้ตีเป็นไม้รวก 2 ท่อน
  • 11. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 11 กลองตะโพน กลองตะโพนนี้ได้ปรับปรุงใช้สาหรับวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ดัดแปลงโดย การนาตะโพนมาตีอย่างกลองทัด โดย ใช้ไม้นวมเป็นไม้ตี ไม่ได้ใช้ฝ่ามือตี อย่างตะโพน โทน เป็นกลองที่ขึงด้วยหนังหน้าเดียว ใช้ตีกากับจังหวะในวงดนตรีไทยมีด้วยกัน2 ชนิดโทนชาตรี ตัวกลองทา ด้วยไม้ใช้กับ วงปี่พาทย์ชาตรี ตีประกอบการแสดงโนห์ราชาตรีและหนังตะลุง นอกจากนั้นยังใช้ตีกากับจังหวะใน วงปี่พาย์วงเครื่องสาย และวงมโหรี เมื่อเล่นเพลงเขมร และตะลุง โทนมโหรี ตัวกลองทาด้วยดินเผาด้วยเหตุที่กลอง ชนิดนี้ใช้ตีเฉพาะในวงเครื่องสาย และวงมโหรี จึงเรียกว่า โทนมโหรี เวลาตีใช้ตีคู่กับ รามะนา
  • 12. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 12 รามะนา เป็นกลองหน้าเดียว มี 2 ชนิด รามะนามโหรี ขนาดเล็กใช้ตีกากับจังหวะในวงเครื่องสาย และวงมโหรี โดยใช้ ตีคู่กับ โทน รามะนาลาตัด ขนาดใหญ่ไทยได้แบบอย่างมาจากชวา ในสมัย รัชกาลที่5 ใช้ประกอบ การแสดงลาตัด กลองชนะ รูปร่างเหมือนกลองมลายูแต่สั้นกว่าแต่เดิมใช้ตีเป็นจังหวะในการฝึกเพลงอาวุธ จึงเรียกกลองชนิดนี้ว่ากลอง ชนะ เพื่อเป็นมงคล ในสมัยต่อมาใช้ตีเป็นเครื่อง ประโคมในขบวนเสด็จพยุหยาตรา
  • 13. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 13 กลองแขก รูปร่างเป็นทรงกระบอก ชุดหนึ่งมี 2 ลูก ลูกหนึ่งเสียงต่า เรียก “ตัวเมีย”อีกลูกหนึ่ง เสียงสูง เรียก “ตัวผู้” ใช้ตี ด้วยฝ่ามือใช้ตีกากับในวงปี่พาทย์และใช้แทนโทน-รามะนา ในวงเครื่องสายได้อีกด้วย กลองมลายู รูปร่างเหมือนกลองแขก แต่ สั้นกว่า ไทยนามาใช้ในขบวนแห่ ต่อมาใช้ตีประโคมศพโดยจัดเป็นชุด ชุดหนึ่งมี 4 ลูก ภายหลังได้ลดลงเหลือเพียง 2 ลูก เพื่อใช้บรรเลงคู่กันเหมือน กลองแขกในวงปี่พาทย์ กลองยาว
  • 14. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 14 เป็นกลอง หน้าเดียว มีสายสาหรับสะพาย คล้องคอ ใช้มือตี เพื่อความสนุกสนาน ผู้เล่นอาจใช้กาปั้น ศอก เข่า ศรีษะ ฯลฯ เราได้แบบอย่างการตีกลองยาวมาจากพม่าสมัยที่พม่าเข้ามาตั้งแต่ค่ายเพื่อทาสงครามกับไทย มโหระทึก เป็นกลองชนิดหนึ่งแต่เป็นกลองหน้าเดียว หล่อด้วยโลหะผสมทองแดง ตะกั่ว ดีบุกกว้าง65 เซนติเมตร สูง 53 เซนติเมตร ก้นกว้าง70.5 เซนติเมตร เอว 50 เซนติเมตร คอดเป็นมโหระทึก ใช้ในพระราชพิธีและกระทากิจของสงฆ์
  • 15. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 15 เปิงมางคอก ใช้เปิงมาง จานวน 7 ลูก มีขนาดลดหลั่นกันผูกเรียงลาดับตามขนาดจากใหญ่ไปเล็กโดยทาเป็นวงลักษณะเป็น คอก จึงเรียกว่า“เปิงมางคอก” ใช้ตีประสานคู่กับตะโพนมอญ ฉิ่ง เป็นเครื่องตีกากับจังหวะ ทาด้วยโลหะรูปร่างกลม เว้ากลาง ปากผาย คล้ายฝาขนมครกไม่มีจุกสารับหนึ่งมี สองฝาเจาะรูตรงกลางที่เว้า สาหรับร้อยเชือกโยงฝาทั้งสอง เพื่อสะดวกในการถือตี ฉิ่งมีสองขนาด ขนาดใหญ่ใช้ ประกอบวงปีพาทย์ขนาดเล็กใช้กับวงเครื่องสายและมโหรี
  • 16. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 16 ฉาบ เป็นเครื่องตีกากับจังหวะ ทาด้วยโลหะ รูปร่างคล้าย ฉิ่ง แต่ มีขนาดใหญ่กว่าและหล่อบางกว่า มีสองขนาด ขนาดใหญ่กว่าเรียกว่า ฉาบใหญ่ ขนาดเล็กกว่า เรียกว่า ฉาบเล็กการตีจะตีแบบประกบ และตีแบบเปิดให้เสียงต่างกัน กรับพวง ทาด้วยไม้หรือโลหะ ลักษณะเป็นแผ่นบางหลายแผ่นร้อยเข้าด้วยกัน ใช้ไม้หนาสองชิ้นประกบไว้ลักษณะ คล้ายพัดกรับเสภา ทาด้วยไม้เนื้อแข็งลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม มีสันมน
  • 17. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 17 ฆ้องโหม่ง รูปร่างเหมือนกับฆ้องชัย แต่ขนาดเล็กและบางกว่า เส้นศูนย์กลางประมาณ๒๐ - ๒๕ ซม.ฆ้องเหม่ง รูปร่าง เหมือนกับฆ้องโหม่งแต่มี ขนาดใหญ่กว่าและหนากว่า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑๗ ซม. เครื่องดนตรีประเภทเป่ า ปี่ เป็นเครื่องดนตรีที่มีมาแต่โบราณมีลักษณะ และวิธีการเป่าที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งยังเลียนเสียงคาพูดของคน ได้ชัดเจน และใกล้เคียงที่สุด ปี่ที่กล่าวมานี้ มี 3 ชนิด คือ ปี่ใน ปี่กลาง และปี่นอก มีรูปร่างเหมือนกันต่างกันที่ขนาด ปี่ใน มีขนาดใหญ่ ใช้บรรเลง ในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง และประกอบการแสดงโขน ละคร
  • 18. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 18 ปี่กลาง มีขนาดกลาง ใช้บรรเลง ในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง และประกอบการแสดงโขน หนังใหญ่ ซึ่งแสดง กลางแจ้ง ปี่นอก มีขนาดเล็ก่ใช้บรรเลง ใน วงปี่พาทย์ไม้แข็ง (ปัจจุบันไม่นิยมนามาประสมวง) และวงปี่พาทย์ชาตรี ประกอบละครชาตรี โนรา หนังตะลุง ปี่ชวา เดิมเป็นของชวา ตัวปี่มี 2 ท่อน ท่อนบนเรียกเลาปี่ ท่อนล่างเรียกลาโพง ทาด้วยไม้หรืองาช้าง ปี่ชวา มีเสียงแหลมดัง ใช้เป่าคู่กับกลองแขกเรียกวงปี่กลองแขกใช้ประกอบการแสดงกระบี่กระบองและการชกมวยไทย ประสมกับกลองมลายูเรียกว่าวงปี่กลองมลายูและวงบัวลอยนอกจากนี้ยังประสม ในวงปี่พาทย์นางหงส์และวง เครื่องสายปี่ชวา
  • 19. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 19 ปี่มอญ เป็นปี่ของชาวรามัญ ประกอบด้วยเลาปี่ และลาโพงปี่ทาด้วยทองเหลืองทั้ง 2 ส่วนนี้ สอดสวมกัน หลวมๆ มีเชือกผูกโยงมิให้หลุดจากกัน ปี่มอญมีเสียงโหยหวน ฟังแล้วชวนให้เกิดอารมณ์เศร้า ใช้ประสม ในวงปี่ พาทย์มอญ และ บรรเลงประกอบใน การฟ้อนของภาคเหนือ ปี่ซอ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าปี่จุม เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือทาด้วยไม้รวกมีหลายขนาดแตกต่างกัน ไปประสมในวงปี่ซอ และบรรเลงร่วมกับวงดนตรีพื้นเมืองอื่นๆของภาคเหนือปี่ซอเมื่อบรรเลงรวมเป็นวงปี่ซอจะมี 4 เล่ม คือปี่แม่ ปี่กลาง ปี่ก้อย และปี่เล็ก
  • 20. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 20 ขลุ่ย เป็นเครื่องเป่าดั้งเดิมของไทย เหตุที่เรียกว่า“ขลุ่ย” สันนิษฐานว่าเรียกตามเสียงที่ได้ยินปกติ ขลุ่ยจะทา ด้วยไม้รวกปล้องยาวๆไว้ข้อทางส่วนปลาย วัสดุอื่นที่นามาแทนมีงาช้าง ไม้จริง ท่อเอสลอน ขลุ่ยเลาหนึ่งมีรูสาหรับ นิ้วปิดเปิดเพื่อเปลี่ยนเสียง 7 รู มีดากปิดส่วนบนสาหรับเป่าลมตอนล่างมีรูปากนกแก้วและนิ้วค้า ขลุ่ยอู้เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ที่สุดใช้ประสมวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์เป็นต้น
  • 21. เครื่องดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 21 ขลุ่ยเพียงออ เป็นขลุ่ยขนาดกลางใช้ประสมในวงปี่พาทย์ไม้นวม วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์วงเครื่องสายปี่ชวา วงเครื่องสาย วงมโหรี เป็นต้น ขลุ่ยหลิบ เป็นขลุ่ยขนาดเล็ก แต่ใหญ่กว่าขลุ่ยกรวดใช้ประสมในวงเครื่องสาย วงมโหรีและวงเครื่องสาย ปี่ชวา เป็นต้น ที่มา http://www2.udru.ac.th/~musicnote/dontreethai_2.html http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=banrakthai&date=22-08- 2008&group=12&gblog=1