SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
1


                                            พื้นที่ผิวและปริมาตร

วัตถุประสงค
          1.   นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตได
          2.   นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของรูปทรงเรขาคณิตชนิดตาง ๆ ได
          3.   นักเรียนสามารถคํานวณหาปริมาตรของทรงเรขาคณิตได
          4.   นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ผิวของทรงเรขาคณิตได
ความพรอม
         นักเรียนจะเรียนรูเรื่องพื้นที่ผิว ปริมาตร พืนที่ผิวโคง ควรมีความรู ความเขาใจพืนฐานตอไปนี้
                                                      ้                                    ้
         1. การหาพื้นที่ คิดเพียง 2 มิติ มีหนวยการวัดเปนตารางหนวย
         2. การหาปริมาตร คิด 3 มิติ มีหนวยการวัดเปนลูกบาศกหนวย
         3. สมบัติ เกี่ยวกับมุม ดาน และเสนทแยงมุม ของรูปสี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยม
         4. สูตรการหาพืนที่รูปเหลี่ยมตาง ๆ
                          ้
             4.1 สามเหลี่ยมใด ๆ                = 1 × ฐาน × สูง
                                                   2
                                                  = s(s − a )(s − b )( s − c) เมื่อ a,b,c เปนความยาวของดานทั้งสาม
                                                  และ S = a + b + c
                                                              2
               4.2 สามเหลี่ยมมุมฉาก               =       1
                                                          2
                                                            ×    ผลคูณของดานประกอบมุมฉาก
               4.3 สามเหลี่ยมดานเทา             =        4
                                                            3
                                                              ×       (ดาน)2
                                                                   2
               4.4 สามเหลี่ยมฐานโคง              =        D
                                                          360
                                                              × πr          (เมื่อ D คือมุมยอด)
               4.5    สี่เหลี่ยมจัตุรัส           = (ดาน) 2 หรือ (เสนทแยงมุม) 2
               4.6    สี่เหลี่ยมผืนผา            = กวาง × ยาว 2
               4.7    สี่เหลี่ยมดานขนาน          = ฐาน × สูง
               4.8    สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน       = 1 × ผลคูณของเสนทแยงมุม หรือ ฐาน × สูง
                                                     2
               4.9 สี่เหลี่ยมคางหมู               =       1
                                                          2
                                                            ×    สูง × ผลบวกดานคูขนาน หรือ
               4.10 สี่เหลี่ยมดานไมเทา         =       1
                                                          2
                                                            ×    เสนทแยงมุม × ผลบวกของเสนกิ่ง
               4.11 สี่เหลี่ยมรูปวาว             =       1
                                                          2
                                                            ×    ผลคูณของเสนทแยงมุม
               4.12   เสนรอบวงของวงกลม           = 2 πr หรือ πD (เมื่อ D คือเสนผานศูนยกลาง)
               4.13   พื้นที่วงกลม                = πr 2
               4.14   พื้นที่ผิวทรงกลม            = 4 πr 2
               4.15   พื้นที่ผวกรวยกลม
                               ิ                  = πrl (l = สูงเอียง)
                                              C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                   ั
2


   4.16 ปริมาตรของทรงกลม                 =       4 3
                                                 3
                                                   πr

   4.17   ปริมาตรทรง มุมฉาก              = พื้นที่ฐาน × สูง หรือ กวาง × ยาว × สูง
   4.18   ปริมาตรทรงกระบอก               = พื้นที่ฐาน × สูงตรง
   4.19   พื้นที่ผิวขางทรงกระบอก        = 2 πrh หรือ เสนรอบวงที่ฐาน × สูง
   4.20   ปริมาตรของพีระมิด              = 1 × พื้นที่ฐาน × สูงตรง
                                           3
   4.21 ปริมาตรของกรวยกลม                =       1
                                                 3
                                                   ×    พื้นที่ฐาน × สูง

5. ความรูเกี่ยวกับทฤษฎีทั่ว ๆ ไป ∆
   5.1 การเทากันทุกประการของ
       1.1 ด.ด.ด.
       1.2 ด.ม.ด.
       1.3 ด.ฉ.ด.
       1.4 ม.ด.ม.



   5.2 ทฤษฎีปทาโกรัส
       a และ b เปนดานประกอบมุมฉาก และ c เปนดานตรงขามมุมฉาก จะได c2 = a2 + b2

   5.3 การเทากันของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
       ทฤษฎีบท : สามเหลี่ยมสองรูปถามีฐานยาวเทากันหรือยูบนฐานเดียวกันและมีสวนสูง
                                                                             
       เทากัน สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะมีพื้นที่เทากัน
                                                                        A




                                                                         B                                                                     C
                                                                                                       D

                                                                                           จากรูป
                                                                                           พื้นที่รูป ∆ ABD เทากับ
                                                                                           พื้นที่รูป ∆ADC




                              C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                   ั
3


              ปริซม (Prism) คือทรงสามมิติที่มีหนาตัดหัวทายเปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ เหมือนกันทั้งหัวและทาย
                     ึ
โดยมีพื้นทีเ่ ทากัน รูปแบบเดียวกันและขนานกัน ดานขางของปริซึมขนานกันและเปนความยาวของปริซึม
โดยพื้นทีดานขางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทุกรูป
         ่
              ปริซมมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับหนาตัดของรูปนั้น ๆ เชน หนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม เรียกปริซึม
                   ึ                    
สามเหลี่ยม หนาตัดเปนรูปหาเหลี่ยม เรียกปริซึมหาเหลียม เปนตน
                                                        ่




 ปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก     ปริซึมหนาตัดสามเหลี่ยม                                     ปริซึมหนาตัดหาเหลี่ยม




           พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม     =          พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่หนาตัดหัวทาย
           พื้นที่ผิวขางของปริซึม        =          ความยาวเสนรอบฐาน × ความสูง
           ปริมาตรของปริซม   ึ            =          พื้นที่ฐาน × สูง



             พีระมิด (Pyramid) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปเหลียมใด ๆ มียอดแหลมซึ่งไมอยูบนระนาบ
                                                               ่                         
เดียวกับฐาน และหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดรวมกันทียอดแหลมนัน
                                                                 ่         ้
             นิยมเรียกชื่อของพีระมิดตามลักษณะของฐาน เชน พีระมิดฐานสามเหลี่ยม พีระมิดฐาน
สี่เหลี่ยมผืนผา พีระมิดฐานหกเหลี่ยมดานเทา เปนตน

                                  ยอด                                                                                       ยอด
                                 สัน                                          สัน
            สัน
                                                                                                                                   สวนสูง
                                      สูงเอียง
                                                                       สัน
     สวนสูง                                                                                                                              สัน
                                สัน                                   ฐาน
          ฐาน         พีระมิดฐานรูปสามเหลี่ยม                                            พีระมิดฐานรูปหกเหลี่ยม

                                              C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                   ั
4


            พีระมิดแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ พีระมิดตรงและพีระมิดเอียง
            พีระมิดตรง หมายถึงพีระมิดที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทามุมเทา มีสันยาวเทากันทุกเสน
จะมีสงเอียงทุกเสนยาวเทากัน และสวนสูงตั้งฉากกับฐานที่จุดซึ่งอยูหางจากจุดยอดมุมของรูปเหลี่ยม
       ู                                                          
ที่เปนฐานเปนระยะเทากันมีหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจัว สวนกรณีที่สนทุกสันยาวไมเทากัน
                                                              ่              ั
สูงเอียงทุกเสนยาวไมเทากัน เรียกวา พีระมิดเอียง
                                 ยอด
                                                                                                                                               ยอด
        สัน
                                                                              สัน
                                     สวนสูง
 หนา                                                                   หนา
                                         สูงเอียง                                                                                             สวนสูง
  ฐาน                                                                                                                                    สูงเอียง
                                                                         ฐาน
                 พีระมิดตรง                                                                          พีระมิดเอียง

          พื้นที่ผวของพีระมิด (Surface area of pyramid)
                  ิ
          พื้นที่ของหนาทุกหนาของพีระมิดรวมกันเรียกวา พื้นที่ผวขางของพีระมิด และพืนทีผิวขาง
                                                                ิ                    ้ ่
ของพีระมิดรวมกับพื้นที่ฐานของพีระมิดเรียกวา พื้นที่ผวของพีระมิด
                                                     ิ



                 สูตรการหาพืนที่ผิวของพีระมิด
                                ้
                 พื้นที่ผิวขาง 1 ดาน   =                 1
                                                           2
                                                                × ฐาน × สูงเอียง
                 พื้นที่ผิวทั้งหมด             =          พื้นที่ฐาน + พืนที่ผวขางทุกดาน
                                                                         ้ ิ

              ในกรณีที่เปนพีระมิดตรงและมีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทาทุกเทา

                 พื้นที่ผิวขางทุกดาน         =           1
                                                           2
                                                                × ความยาวเสนรอบฐาน × สูงเอียง

                 ปริมาตรของพีระมิด             =           1
                                                           3
                                                                × พื้นที่ฐาน × สูง




                                                   C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                        ั
5


          ทรงกระบอก
          ทรงกระบอก (Cylinder) คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันทุกประการ และอยูใน
ระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดทรงสามมิติน้ดวยระนาบทีขนานกับฐานแลว จะไดรอยตัดเปนวงกลมที่เทากัน
                                    ี          ่
ทุกประการกับฐานเสมอ

                                           หนาตัดหรือฐาน
                                               แกน
                                               สวนสูง
                                           หนาตัดหรือฐาน
                                                  รัศมี

        พื้นที่ผิวของทรงกระบอก (Surface area of cylinder)
        พื้นที่ผิวของทรงกระบอก ประกอบดวยพืนที่ผิวขางของทรงกระบอก และพื้นทีฐานทั้งสองของ
                                            ้                               ่
ทรงกระบอก
                               พื้นที่ฐาน     πr 2            2 πr 2

                 h                                                                                                                       h
                                           คลี่ออก                                        พื้นที่ผิวขาง

                                 พื้นที่ฐาน                πr 2


          พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก + พื้นที่ฐานของทรงกระบอก
          ถาทรงกระบอกมีสวนสูงยาว h หนวย
          ฐานมีรัศมียาว r หนวย จะได
          พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh
          พื้นที่ฐานทั้งสองของทรงกระบอก = 2 πr 2

          ดังนั้น พื้นที่ผิวของทรงกระบอก =                2πrh + 2πr 2                ตารางหนวย
                                      หรือ =              2πr (h + r )                ตารางหนวย

             r แทนรัศมีของฐานของทรงกระบอก
             h แทนความสูงของทรงกระบอก


                                       C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                            ั
6



          ปริมาตรทรงกระบอก
             ปริมาตรทรงกระบอก         =          พื้นที่ฐาน × สูง
             ปริมาตรทรงกระบอก         =           πr 2 h




           กรวย (Cone)
           กรวย (Cone) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไมอยูบนระนาบเดียวกับฐาน
และเสนที่ตอระหวางจุดยอดและจุดใด ๆ บนขอบของฐานเปนสวนของเสนตรงที่ยาวเทากัน เรียก สูงเอียง
และกรวยที่มสูงเอียงยาวเทากันเรียกวา กรวยตรง
             ี


                                                ยอด
                                              สูงเอียง
                                              สวนสูง
                                               แกน
                                                ฐาน
                                               รัศมี
                กรวยตรง                                                                     กรวยเอียง


          พื้นที่ผิวของกรวย (Surface area of cone)
          พื้นที่ผิวของกรวย เปนพื้นทีของรูปสามเหลี่ยมฐานโคง ประกอบดวยพื้นที่ผิวขางกับพื้นที่ฐาน
                                      ่
ของกรวย
              พื้นที่ผิวของกรวย     = พื้นที่ผิวขางของกรวย + พืนที่ฐานของกรวย
                                                                ้
          ถากรวยมีสวนสูงเอียง l หนวย และรัศมีท่ฐานของกรวยยาว r หนวย
                                                  ี
จะได         พื้นที่ผิวขางของกรวย =     πrl       ตารางหนวย
              พื้นที่ฐานของกรวย     = πr 2          ตารางหนวย

          ดังนั้น พื้นที่ผิวของกรวย = πrl + πr 2 ตารางหนวย
          เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ l แทนความสูงเอียงของกรวย




                                          C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                               ั
7


          ปริมาตรของกรวย (Volume of cone)
          ปริมาตรของกรวย = 1 ของปริมาตรของทรงกระบอกซึ่งมีพื้นที่ฐานและความสูงเทากับกรวย
                           3


              ปริมาตรของกรวย             =           1 2
                                                     3
                                                       πr h                 ลูกบาศกหนวย
          เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ h แทนความสูงของกรวย



          ทรงกลม (Sphere)
          ทรงกลม (Sphere) คือทรงสามมิติที่มีผิวเรียบโคงและจุดทุกจุดบนผิวโคงอยูหางจากจุดคงที่จุดหนึง
                                                                                                      ่
เปนระยะเทากัน จุดคงที่นนเรียกวา จุดศูนยกลางของทรงกลม และระยะที่เทากันนั้นเรียกวา รัศมีของทรงกลม
                         ั้



                                                                                               วงกลมใหญ
                                ผิวโคงเรียบ
                                                                                             เสนผานศูนยกลางวงกลมใหญ


                                                                                                   จุดศูนยกลาง
                                                                                     รัศมี



          พื้นที่ผิวของทรงกลม (Surface area sphere)
          พื้นที่ผิวของทรงกลม เปนสี่เทาของพื้นที่รูปวงกลม ซึ่งมีรัศมีเทากับรัศมีของทรงกลมนั้น



              ดังนั้น พืนที่ผิวของทรงกลม =
                        ้                                       4πr 2        ตารางหนวย
              เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม




                                             C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                  ั
8


           ปริมาตรของทรงกลม (Volume of sphere)

             ปริมาตรของทรงกลม          =            4 3
                                                    3
                                                      πr         ลูกบาศกหนวย
             เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม



วิธีการนําเสนอ

ตัวอยาง     ถังน้ําสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 3 เมตร ยาว 7 เมตร มีน้ําบรรจุอยู 105 ลูกบาศกเมตร
             ระดับน้ําจะสูงกี่เมตร
             แนวคิด            ปริมาตร         = กวาง × ยาว × สูง
                                                      ปริมาตร
                               สูง             =
                                                    กวาง × ยาว
                                                               105
                            ระดับน้ําสูง          =            3×7
                                        =                    5 เมตร
                               ตอบ 5 เมตร




                                           C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                ั
9


ตัวอยาง   จากรูป จงหาความยาวของเสนรอบรูปที่กําหนดให

                                             35 นิ้ว

                             35 นิ้ว                          35 นิ้ว


                                           35 นิ้ว


           แนวคิด        เสนรอบวงกลม =                  2 πr
                         เสนโคงแตละรูป =               1
                                                          2
                                                            × 2πr

                                              =           1
                                                          2
                                                                22 35
                                                            ×2 × ×
                                                                 7  2
                                                                                                   นิ้ว
                                        =                55                                       นิ้ว
           ดังนั้น ความยาวรอบรูปทั้งหมด =                55 × 4                                   นิ้ว
                                        =                220                                      นิ้ว
                           ตอบ 220 นิ้ว

ตัวอยาง   สี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งยาวดานละ 16 เซนติเมตร ตัดมุมทังสี่ออกเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
                                                                   ้
           ทําใหเหลือพื้นที่ 224 ตารางเซนติเมตร จงหาวาสามเหลี่ยมที่ตัดออกไปมีดานประกอบมุมฉาก
           ยาวดานละกี่เซนติเมตร
           แนวคิด
                                            พื้นที่ จ กอนตัด = 16 × 16 = 256 ตารางเซนติเมตร
                                            มุมที่ตัดออกมีพื้นที่ = 256 - 224 = 32 ตารางเซนติเมตร
               224            16
                                            แตละมุมมีพื้นที่     = 32 4
                                                                                 = 8 ตารางเซนติเมตร
                                              พื้นที่รูปสามเหลี่ยม =                              1
                                                                                                  2
                                                                                                      ×     ฐาน × สูง
                                                                                                  1
             16                                                                           =               ( ฐาน ) 2
                                                                                                  2
                                         (เพราะฐานเทากับสูง เนื่องจาก ∆ ที่ตัดออกเปน ∆ หนาจั่ว)
                                              ( ฐาน ) 2       = 2 × 8 = 16 เซนติเมตร
                                              ฐาน             = 16            = 4 เซนติเมตร
                         รูปที่ตัดออกไปมีดานประกอบมุมฉากยาวดานละ 4 เซนติเมตร
                                                 ตอบ        4 เซนติเมตร
                                       C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                            ั
10


ตัวอยางที่ 4 ถังรูปทรงกระบอกสูง 14 ฟุต เสนผานศูนยกลางของฐานยาว 12 ฟุต มีน้ําเต็มถัง เมือนํา     ่
              แทงเหล็กสี่เหลี่ยมที่มีความสูงเทากับถังมีพื้นที่หนาตัด 4 ตารางฟุต ใสลงไปในถัง เมื่อนํา
              เหล็กออกจะเหลือน้ําในถังกี่ลูกบาศกฟุต
              แนวคิด         ปริมาตรของถังรูปทรงกระบอก                   = πr 2 h
                                                                         = 22 × 6 × 6 ×14
                                                                             7
                                                                  = 1,584              ลูกบาศกฟุต
                                ปริมาตรของแทงเหล็กสี่เหลียม
                                                          ่       = พื้นที่หนาตัด × ความสูง
                                                                  = 4 × 14 = 56 ลูกบาศกฟุต
           ดังนั้นเมื่อนําแทงเหล็กออกจะเหลือน้ําในถัง 1,584 – 56 = 1,528              ลูกบาศกฟุต
                                              ตอบ 1,528 ลูกบาศกฟต   ุ




ตัวอยาง       ภาชนะเก็บน้ําทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก วัดภายนอกไดความกวาง 36 เซนติเมตร ความยาว
               64 เซนติเมตร ความสูง 28 เซนติเมตร ภาชนะเก็บน้ํามีความหนา 5 เซนติเมตร
               จงหาพื้นที่ผวทั้งหมดและปริมาตรปูนที่ใชสรางภาชนะเก็บน้ํา
                           ิ



     แนวคิด ใชวิธวาดรูปประกอบ
                  ี                                                                                                                5 ซม.


                                                                28 ซ.ม.                                   64 ซม..


                                                      36 ซม..




                                           C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                ั
11


เมื่อวัดภายในจะได
              ความกวาง           = 36 - (2 × 5) = 36 – 10 = 26 เซนติเมตร
              ความยาว             = 64- (2 × 5)         = 54               เซนติเมตร
              ความสูง             = 28 - 5              = 23               เซนติเมตร
พื้นที่ผิวดานลางภายนอก          = 36 × 64             = 2,304            เซนติเมตร
พื้นที่ผิวดานลางภายใน           = 26 × 54             = 1,404            เซนติเมตร
พื้นที่ดานบนภาชนะเก็บน้ําโดยรอบ  = 2304 - 1404 = 900                      เซนติเมตร
พื้นที่ผิวทั้งดานขางภายนอกสี่ดาน
                                  = เสนรอบฐาน × สวนสูง
                                  = [2 × (36 + 64 )] × 28                  ตารางเซนติเมตร
                                  = 5,600                                  ตารางเซนติเมตร
พื้นที่ผิวขางดานใน              = [2 × (26 + 54 )]× 23                   ตารางเซนติเมตร
                                  = 3,680                                  ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พืนที่ผิวทั้งหมด
           ้                      = 2,304 + 1,404 + 900 + 5,600 + 3,680     ตารางเซนติเมตร
                                  = 13,880                                  ตารางเซนติเมตร
ปริมาตรทั้งหมด                    = 36 × 64 × 28 = 64,512                   ลูกบาศกเซนติเมตร
ปริมาตรภายใน                      = 26 × 54 × 23 = 32,292                   ลูกบาศกเซนติเมตร
ดังนั้นปริมาตรปูนที่ใช           = 64,512 – 32,292 = 32,220                ลูกบาศกเซนติเมตร
ดังนั้น จะใชปูนทั้งหมดในการสรางภาชนะ                  = 32,220            ลูกบาศกเซนติเมตร
                            ตอบ 32,220                   ลูกบาศกเซนติเมตร




                                      C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                           ั
12


                                                 แบบฝกทักษะ

1.   ที่ดินรูปสี่เหลียมผืนผาแปลงหนึ่งกวาง 15 เมตร ยาว 21 เมตร ตองการถมดินใหสงขึนกวาเดิม
                     ่                                                          ู ้
     30 เซนติเมตร จะตองซื้อดินมาถมทั้งหมดกี่คันรถ ถารถบรรทุกจุดินไดคันละ 18.9 ลูกบาศกเมตร

2.   สี่เหลี่ยม ABCD มีจุดยอดมุม อยูที่ A (3, 6), B (9, 6), C (6, 3) และ D(0, 3)
     จะมีพนที่เทาไร
             ื้

3.   แท็งกน้ํารูปลูกบาศกมีพนทีผิวทั้งหมด 24x 2 ตารางนิ้ว แท็งกน้ํามีปริมาตรเทาไร
                             ื้ ่

4.   กําหนดใหสามเหลี่ยมฐานโคง (Sector) AOB มีรัศมีความโคง 5 หนวย และ                                            ˆ
                                                                                                                   AOB         =     72 0

     จงหาพื้นที่สามเหลี่ยมฐานโคง AOB

5.   ลวดทองแดงเสนหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 2 มิลลิเมตร พันรอบแทงทรงกระบอกซึ่งยาว 12 เซนติเมตร
     เสนผานศูนยกลางของแทงทรงกระบอกยาว 10 เซนติเมตร พันลวดจนเต็มพื้นที่ผิวโคง จะใชลวดยาว
     กี่เมตร (กําหนดให π เทากับ 3.14 )




6.                      A

                D               B       จากรูปสวนทีแรเงามีพื้นที่เทาไร
                                                    ่

                        C
                     14 ซ.ม.

7.   พีระมิดเหล็กฐานสี่เหลี่ยมจัตรัสยาวดานละ 2 ฟุต สูง 1 2 ฟุต นํามาหลอมทําเปนพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม
                                 ุ                        3
     จัตุรัส ซึ่งมีดานฐานเทากับสวนสูงไดทั้งหมด 180 อัน พีระมิดที่สรางขึ้นมีฐานยาวดานละกี่นว
                                                                                                ิ้



                                           C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                ั
13


8.    โลหะทรงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 42 เซนติเมตร มีปริมาตร 3.5 เทาของปริมาตรกรวยกลม
      ซึ่งสูง 24 เซนติเมตร กรวยมีพื้นที่ผิวทั้งหมดเทาไร

9.    ทรงกลมลูกหนึ่งบรรจุลงในทรงกระบอกพอดีและกระบอกนี้วางลงในกลองทรงลูกบาศกซึ่งยาวดานละ
      14 เซนติเมตร ดังรูป จงหา
      1) กลองทรงลูกบาศกมปริมาตรมากกวาทรงกระบอกกี่ลูกบาศกเซนติเมตร
                           ี
      2) ทรงกระบอกมีปริมาตรมากกวาทรงกลมกี่ลูกบาศกเซนติเมตร                          14 ซม.

                                                                                                                                               14 ซม.
                                                                                                                 14 ซม.

10. ทรงกลมตันรัศมียาว 10.5 เซนติเมตร หยอนลงในภาชนะทรงกระบอกที่มีน้ําอยู ทําใหน้ําเต็มภาชนะพอดี
    ถาพื้นที่กนภาชนะเทากับ 808.5 ตารางเซนติเมตร จงหาวาเมื่อหยอนทรงกลมตันลงไปในภาชนะแลว
               
    น้ําสูงขึ้นอีกกี่เซนติเมตร

11. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 6 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร จงหาความสูงเอียง ความยาว
    สันพีระมิด และปริมาตรของพีระมิด

12. ในการสรางกระโจมขนาดใหญหลังหนึ่ง ตัวกระโจมเปนรูปทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 42 ฟุต
    สูง 14 ฟุต หลังคากระโจมเปนรูปกรวยกลม มีเสนผานศูนยกลางเทากับตัวกระโจม ถาหลังคากระโจม
    สูง 10 ฟุต จงหาพื้นที่ผิวภายนอกทั้งหมดของกระโจม

13.           D                                A

                                                                       E
                                               .O
                              F

                                               B                                                               C

      จากรูป AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O AD และ BC เปนเสนสัมผัสวงกลมที่ A และ B
      ถา AD = AB = BC = 14 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ที่แรเงา


                                       C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                            ั
14


14. จงหาพื้นที่ผวทั้งหมดและปริมาตรของประมิดฐานสี่เหลียมจัตุรัสยาวดานละ 12 เซนติเมตร
                ิ                                     ่
    และสูง 8 เซนติเมตร

15. ทรงกลมตันรัศมียาว 6 เซนติเมตร นํามาหลอมทําเปนทรงกระบอกกลวงใหมีรัศมีภายนอก
    10 เซนติเมตร ถาทรงกระบอกนี้สง 8 เซนติเมตร จะมีความหนากี่เซนติเมตร (หาคําตอบในเทอม
                                  ู
    ของ π )

16. จงหาพื้นที่ผวและปริมาตรของพีระมิด ฐานสามเหลี่ยมดานเทาซึ่งมีดานยาวดานละ 6 ซม.
                ิ
    และมีสันยาว 5 ซม.

17.                            P                        PQR เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทามีพื้นที่ 80 ตารางหนวย
                                     B
                                                        A เปนจุดกึ่งกลาง PQ , B เปนจุดกึ่งกลาง PA
                                                        และ AC// BD // PR จงหาพื้นที่สวนทีแรเงา
                                                                                             ่
                                         A




          R                                     Q

                       D       C


18. ถังสี่เหลี่ยมใบหนึ่งยาว 31 เซนติเมตร กวาง 14 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร มีน้ําอยูในถังสูง
    10 เซนติเมตร ถาเอาทอนเหล็กทรงกระบอกตันรัศมี 7 เซนติเมตร วางตั้งลงไปในถังน้ํา จงหาวา
    ระดับน้ําในถังสูงขึ้นอีกเทาไร

19.                C

                       c             b                         จงหาพื้นทีแรเงา จากรูปที่กําหนดให
                                                                         ่
         14 นิ้ว
                           a         C
              A                                      B
                           14 นิ้ว


                                             C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                  ั
15


20.



                     7           7                      จงหาพื้นทีแรเงา จากรูปที่กาหนดให
                                                                  ่               ํ

                7                     7
                        7        7
21. พีระมิดรูปหนึง มีฐานเปนรูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทา ซึ่งมีดานละ 6 เซนติเมตร และมีสันยาว
                 ่
    10 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผวและปริมาตร
                             ิ

22. จากรูป PQR มี PQ = 12 เซนติเมตร PR = 9 เซนติเมตร เมื่อ PR, RQ และ PQ เปนเสน
    ผานศูนยกลางของวงกลม จงหาพื้นที่สวนที่แรเงา (ใหตอบในเทอมของ π )
                                                                          C
                                      P

                             d                                12 a
                                     e9
                                          b

                                 R                                                                         Q

23. แทงปูนทรงเรขาคณิต ปลายหัวทั้งสองขางเปนรูปทรงกรวยกลมขนาดเทากันทั้งสองปลาย ความยาว
    ของแทงปูนกับกรวยทั้งสองเปน 20 นิ้ว ความยาวเฉพาะแทงปูนเปนทรงกระบอกยาว14 นิว     ้
    ถังรูปทรงนี้มีปริมาตรทั้งหมด 616 ลูกบาศกนิ้ว จงหาวาเสนผานศูนยกลางของแทงปูนทรงกระบอก
    ยาวกี่นว (กําหนดให π เทากับ 22 )
           ิ้                        7



                    3
24.
                                          โคมไฟลักษณะดังรูป มีรัศมีวงใหญยาว 5 นิ้ว
                         6                รัศมีวงเล็ก 3 นิ้ว สูง 6 นิ้ว
                                          จงหาปริมาตรของยอดกรวยที่ถูกตัดออกไป
               5


                                          C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                               ั
16


25. กระปองนมรูปทรงกระบอก 2 ใบ ใบหนึ่งสูงเปน 2 เทาของอีกใบหนึ่ง แตเสนผานศูนยกลางของ
    ปากกระปองนมใบสูงยาวเพียงครึ่งหนึ่งของเสนผานศูนยกลางของกระปองนมใบเตีย ถาผูขายคิดราคา
                                                                             ้
    นมกระปองใบสูงไว 8 บาท นมกระปองใบเตี้ย 15 บาท จะซื้อนมกระปองใด จึงจะถูกกวา

26. กระปองใบหนึ่งมีความสูงเปน 2 เทาของรัศมีกระปอง ซึ่งมีปริมาตร 92 π ลูกบาศกเซนติเมตร
    ลงในกระปองใบนี้ และหยอนลูกแกวซึ่งมีพื้นที่ผิว 36 π ตารางเซนติเมตรลงในกระปอง
    จงหาขนาดของพื้นที่ผิวดานขางนอยที่สุด ซึ่งจะทําใหน้ําไมไหลลนออกมาภายหลังการหยอนลูกแกวลงไป
    (ใหตอบในเทอมของ π )

27.     จ     ABCD และ จ DCEG มีพื้นที่เทากันคือ 64 ตร.หนวย EFQ เปนรูปครึ่งวงกลม
      ซึ่งมี F เปนจุดกึ่งกลางของสวนโคง EG จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงา (ให π เทากับ 3.14)




28. จากรูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปเล็ก แตละรูปมีรูปรางเหมือนกันและมีพนที่รูปละ 8 ตารางหนวยเทากันทังหมด
                                                                   ื้                             ้
    จุด A, B, F, G, D เปนจุดที่อยูตรงมุมของรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ พอดี จุด C และ E เปนจุดที่อยูบนดาน
    FG ถากําหนดให CE = 2 FG จงหาพื้นทีสวนที่แรเงา
                                 3
                                                  ่
                     A                 J                                        F
                                     I                                            C


                                           B
                                   H                                                                                            E

                                       D                                                                                     G




                                               C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                    ั
17


29.
                                            P                                                               X

                                                      4 ซม.                                 4 ซม.                        4 ซม.

      Q       270                                  360 R                                     0
                                                                                        Y 63                                     Z



            จากรูป PQR เปนรูปสามเหลี่ยมใด ๆ มี PR ยาวเทากับ 4 นิ้ว XYZ เปนสามเหลี่ยมหนาจัว
                                                                                             ่
      มีดานประกอบมุมยอดยาวดานละ 4 นิ้ว ถาสามเหลี่ยม XYZ มีพื้นที่ 7.24 ตารางนิ้ว สามเหลียม PQR
                                                                                           ่
      มีพื้นที่เทาไร เมื่อกําหนดให QR ยาว 8 นิ้
                                            A             5 นิ้ว             B
30.
                                                                          3 นิ้ว
                                                     4 นิ้ว
                                                                      H

                                                                                                                                               C
                                  F                      E                                                      D

       ABCD และ ABEF เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน AD และ BE ตัดกันและตังฉากกันที่ H AB = 5 นิ้ว,
                                                                      ้
AH = 4 นิ้ว และ BH = 3 นิ้ว ถาพื้นทีสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD = 36 ตารางนิ้ว จงหา
                                     ่
       1. พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ABCF, พื้นที่สามเหลี่ยม EHD
       2. เสนรอบรูปสี่เหลี่ยม ABCF



31.                                                                                         M
                                 O
                                                                           S                                    S
                                      N
                    P                             N
                                      8 ซม.
                           10 ซม.
                              6 ซม.T     R
                                   10 ซม. 8 ซม.
                                 Q 6 ซม. T                               R

                                          C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                               ั
18


         กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแผนหนึ่งมีความยาว 25 ซม. เมื่อพับกระดาษที่ QR ดังรูป จงหา
         1. ความกวางของกระดาษแผนนี้
         2. หาพื้นทีแรเงา
                    ่

32. ABC เปนสามเหลี่ยมใด ๆ รูปหนึ่ง ถาตอดาน AB ไปถึงจุด D ตอดาน BC ไปถึงจุด E
    และตอดาน CA ไปถึงจุด F โดยให AD = 2AB, BE = 3BC และ CF = 4CA
    และถาสามเหลี่ยม ABC มีพื้นที่ 3.2 ตารางเซนติเมตร สามเหลี่ยม DEF มีพื้นที่เทาไร
                                             F




                                                       A
                                    B
                                                      C
                            D
                                                                                            E


33. PQRS เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน มี PR และ QS เปนเสนทแยงมุมตัดกันที่ O จาก P ลาก PM
    ตัดเสนทแยงมุม QS ที่ N ไปพบ QR ที่ M ทําให PN : NM เทากับ 3 : 2 จงหาวาอัตราสวน
    ของพื้นที่สามเหลี่ยม PNO กับพื้นที่สี่เหลี่ยม MNOR เทากับเทาใด

                                P                                                                 S

                                                   O
                                    N


                      Q                      M                                R




                                        C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                             ั
19


                                            เฉลยแบบฝกทักษะ

1.   ที่ดินรูปสี่เหลียมผืนผาแปลงหนึ่งกวาง 15 เมตร ยาว 21 เมตร ตองการถมดินใหสงขึนกวาเดิม
                     ่                                                          ู ้
     30 เซนติเมตร จะตองซื้อดินมาถมทั้งหมดกี่คันรถ ถารถบรรทุกจุดินไดคันละ 18.9 ลูกบาศกเมตร
                แนวคิด            ปริมาตร       = กวาง × ยาว × สูง
                     ดังนั้นดินที่ใชทั้งหมด    = 15 × 21 × 0.3 = 94.5 ลูกบาศกเมตร
            ดังนั้น จะตองซื้อดินมาทั้งหมด = 94.5 ÷ 18.9 = 5 คัน
                                         ตอบ 5 คัน

2.   สี่เหลี่ยม ABCD มีจุดยอดมุม อยูที่ A (3, 6), B (9, 6), C (6, 3) และ D(0, 3)
     จะมีพนที่เทาไร
             ื้
                แนวคิด
          Y
                                                               พื้นที่              ข    = ฐาน × สูง
                 A(3 , 6)                  B(9 , 6)                                      = 6 × 3 = 18 ตารางหนวย
                                                                                      ตอบ 18 ตารางหนวย
D(0 , 3)                        C(6 , 3)


                                                  X
       0

3.   แท็งกนํารูปลูกบาศกมพนทีผิวทั้งหมด 24x 2 ตารางนิ้ว แท็งกน้ํามีปริมาตรเทาไร
             ้            ี ้ื ่
                                                                                            24 x 2
              แนวคิด          แตละดานของแท็งกน้ํามีพื้นที่                       =         6
                                                                                                                           =     4x     2
                                                                                                                                             ตารางนิ้ว
                              แตละดานยาว                                          = 4x 2          = 2 x ตารางนิ้ว
                              ปริมาตรของแท็งกนํา
                                                ้                                   = 2x × 2x × 2x = 8 x 3 ตารางนิ้ว
                                                                                        ตอบ 8 x 3 ตารางนิ้ว




                                            C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                 ั
20


4.   กําหนดใหสามเหลี่ยมฐานโคง (Sector) AOB มีรัศมีความโคง 5 หนวย และ                                      ˆ
                                                                                                             AOB        =     72 0

     จงหาพื้นที่สามเหลี่ยมฐานโคง AOB

           แนวคิด

                    O                        หาพื้นที่ ∆ ฐานโคง
                                             = 360 πr 2 เมื่อ D เปนมุมของยอดของ ∆ ฐานโคง
                                                    D


                                             =            72
                                                         360
                                                             π×5 ×5                       ตารางหนวย
                                             =           5π                               ตารางหนวย
       A                       B
                                             ตอบ         5π                               ตารางหนวย




5.   ลวดทองแดงเสนหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 2 มิลลิเมตร พันรอบแทงทรงกระบอกซึ่งยาว 12 เซนติเมตร
     เสนผานศูนยกลางของแทงทรงกระบอกยาว 10 เซนติเมตร พันลวดจนเต็มพื้นที่ผิวโคง จะใชลวดยาว
     กี่เมตร (กําหนดให π = 3.14 )
               แนวคิด       เสนผานศูนยกลางของลวด           = 2                    มิลลิเมตร
                            ทรงกระบอกยาว                      = 12 เซนติเมตร = 120 มิลลิเมตร
                            พันลวดเต็มพืนที่ตองพัน
                                         ้                    = 120 = 60 รอบ
                                                                   2
                           เสนผานศูนยกลางของแทงทรงกระบอก= 10 เซนติเมตร = 100 มิลลิเมตร
                                           ∴ รัศมี          = 50                   มิลลิเมตร
                           ความยาวลวดที่พัน 1 รอบ ยาว       = 2 πr
                                                            = 2 πr ×50
                                                            = 100 π               มิลลิเมตร
                           ตองใชลวดทั้งหมด 60 รอบ         = 100π × 60 มิลลิเมตร
                                                            = 6000 × 3.14 มิลลิเมตร
                                                            = 18,840 มิลลิเมตร
                           ดังนั้น จะใชลวดยาว              = 18840
                                                               1000
                                                                                         = 18.84 เมตร
                                                                     ตอบ                 18.84 เมตร

                                      C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                           ั
21


6.                       A
                                                  จากรูปสวนทีแรเงามีพื้นที่เทาไร
                                                              ่
                 D                B

                        C
                      14 ซ.ม.

แนวคิด         จากรูปพิจารณาวาพื้นทีไมแรเงา 2 สวน (A และ C) = พืนที่ จัตุรัสลบดวยพืนที่
                                       ่                                ้              ้
               ครึ่งวงกลม 2 สวน (พืนที่วงกลม)
                                         ้
ดังนั้น        พื้นที่ไมแรเงา 2 สวน (A และ C) = พื้นที่ จัตุรัส – ดวยพืนที่วงกลม
                                                                           ้
                                               = (14×14)− ⎛ 22 × 7× 7 ⎞ ตารางเซนติเมตร
                                                          ⎜           ⎟
                                                            7             ⎝                  ⎠
                                              = 196 −154 = 42 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น        พื้นที่ไมแรเงา 4 สวน         = 42 ×2 = 84      ตารางเซนติเมตร
               พื้นที่แรเงา                   = พื้นที่ จัตุรัส - พื้นทีสีขาว 4 รูป ( A , B , C , D )
                                                                        ่
               ดังนั้น สวนทีแรเงาจะมีพื้นที่ = 196 − 84 = 112 ตารางเซนติเมตร
                              ่
                                ตอบ 112 ตารางเซนติเมตร

7.    พีระมิดเหล็กฐานสี่เหลี่ยมจัตรสยาวดานละ 2 ฟุต สูง 1 2 ฟุต นํามาหลอมทําเปนพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม
                                  ุั                      3
      จัตุรัส ซึ่งมีดานฐานเทากับสวนสูงไดทั้งหมด 180 อัน ประมิดที่สรางขึ้นมีฐานยาวดานละกี่นว
                                                                                                 ิ้




                                                                                                                   สูง ก
                                           20 นิ้ว
                                                                                                                      หลอมเปนพีระมิดเล็ก ๆ
                                24 นิ้ว
               24 นิ้ว                                                                                                ได 180 อัน
             24 นิ้ว

               ปริมาตรของพีระมิดเหล็กฐานสี่เหลี่ยมจัตุรส
                                                       ั                                  =      1
                                                                                                 3
                                                                                                   ×     พื้นที่ฐาน สูง
                                                                                                                  ×

                                                                                          =      1
                                                                                                 3
                                                                                                   × 24 × 24 × 20              ลูกบาศกนิ้ว
                                                                                          =      3,840   ลูกบาศกนิ้ว
                                                                          ตอบ          3 ,840        ลูกบาศกนิ้ว
                                           C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                                ั
22


สมมุติ    ใหดานของสี่เหลี่ยมจัตุรัสสวนที่เปนฐานและความสูงของพีระมิด = ก นิ้ว เขียนสมการไดดังนี้
          ปริมาตร ประมิดเหล็กฐานรูปสี่เหลี่ยมจัตุรส = 180 × ปริมาตรของพีระมิดเล็ก 1 อัน
                                                    ั
                                              3,840     = 180 × 1 × ¡ × ¡ × ¡
                                                                 3
                                            60    ก3                 =          3 ,840

                                            ก3                       =           3840
                                                                                  60
                                                                                      = 64

                                         ก          =                            4

          ∴ พีระมิดทีสรางขึ้นมีฐานยาวดานละ 4 นิ้ว
                     ่
                                           ตอบ 4 นิ้ว

8.   โลหะทรงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 42 เซนติเมตร มีปริมาตร 3.5 เทาของปริมาตรกรวยกลม ซึ่งสูง
     24 เซนติเมตร กรวยมีพื้นที่ผวทั้งหมดเทาไร
                                ิ
     แนวคิด
                                         ปริมาตรทรงกลม      = 4 π (21) ลูกบาศกเซนติเมตร                     3
                                                                                              3
                                                                                       = 12,348 π ลูกบาศกเซนติเมตร
                           l                   ปริมาตรกรวย                             = 12,348π ลูกบาศกเซนติเมตร
                      24                                                                           3.5
                                                                                       = 3,528 π ลูกบาศกเซนติเมตร
                  r                            แตปริมาตรกรวย                          = 1 π r × 24 ลูกบาศกเซนติเมตร
                                                                                                         2

                                                                                              3
                                            ∴        1 2
                                                     3
                                                       πr × 24                         = 3,528 π
                                                           r2                          = 441
                                                           r                           = 21
                                               จาก l 2                                 = 24 2 + 21 2 = 1,017
                                                           l                           = 1,017
                 พื้นที่ผิวทั้งหมด                                                     = πr 2 + πrl
                                                                                       = ⎛ 22 × (21 )2 ⎞ + 22 ×21 × 1017 ตร.ซม.
                                                                                         ⎜             ⎟
                                                                                            7 ⎝             7      ⎠
                                                                                       = 1,386+2,104.77 ตร.ซม.
                                                                                       = 3,490.77 ตร.ซม.
                                                                       ตอบ             3,490.77 ตร.ซม.




                                        C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                             ั
23


9.     ทรงกลมลูกหนึ่งบรรจุลงในทรงกระบอกพอดีและกระบอกนี้วางลงในกลองทรงลูกบาศกซึ่งยาวดานละ
       14 เซนติเมตร ดังรูป จงหา
       1) กลองทรงลูกบาศกมีปริมาตรมากกวาทรงกระบอกกี่ลูกบาศกเซนติเมตร
       2) ทรงกระบอกมีปริมาตรมากกวาทรงกลมกี่ลูกบาศกเซนติเมตร

แนวคิด                       ปริมาตรกลอง                             = กวาง × ยาว × สูง
                                                                      = 14 × 14 × 14 ลบ.ซม.
                                                                      = 2744 ลบ.ซม.
                             ปริมาตรทรงกระบอก                         = πr 2h
                                                                      =     22
                                                                               × 7 × 7 ×14
                        14 ซม.                                              7
                                                                      =    2 ,156                                     ลบ.ซม.
                             ปริมาตรทรงกลม                            =    4 3
                                                                           3
                                                                             πr
                    14 ซม.
     14 ซม.                                                           =    4 22
                                                                             × ×7 ×7 ×7
                                                                           3 7
                                                                      =    1437
                                                                                1
                                                                                3
                                                                                      ลบ.ซม.
              1. กลองมีปริมาตรมากกวาทรงกระบอก
                                                                      = 2744 - 2156 = 588 ลบ.ซม.
              2. ทรงกระบอกมีปริมาตรมากกวาทรงกลม
                                                                      = 2156 - 1437 1 = 718 2 ลบ.ซม.
                                                                                    3       3
                                              ตอบ 718 2 ลบ.ซม.
                                                      3


10. ทรงกลมตันรัศมียาว 10.5 เซนติเมตร หยอนลงในภาชนะทรงกระบอกที่มีน้ําอยู ทําใหน้ําเต็มภาชนะพอดี
    ถาพื้นที่กนภาชนะเทากับ 808.5 ตารางเซนติเมตร จงหาวาเมื่อหยอนทรงกลมตันลงไปในภาชนะแลว
    น้ําสูงขึ้นอีกกี่เซนติเมตร




                                                                       ระดับน้ํา




                                       C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                            ั
24


แนวคิด        ระดับน้ําที่เพิ่มขึ้นคือปริมาตรของทรงกลม
              ปริมาตรทรงกลม                  =      4 3
                                                    3
                                                      πr

                                             =      4 22
                                                      × ×10.5 ×10.5 ×10.5
                                                    3 7
                                             =     4,851 ลบ.ซม.
                                             =     ปริมาตรของทรงกระบอกของระดับน้ําที่เพิ่ม
                  ∴          πr 2 h          =     4,851
                              808.5 × h      =     4,851
                              h              =     6 ซม.
              ระดับน้ําสูงขึนอีก 6 ซม.
                            ้
                              ตอบ 6 ซม.



11. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 6 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร จงหาความสูงเอียง ความยาว
    สันพีระมิด และปริมาตรของพีระมิด
    แนวคิด
                                           หาสูงเอียง            AC
                                                                    2
                                                                        =      AB2 + BC2

                   A                                                    =      4 2 + 32
                          4 ซ.ม.
                                                                        =     16 +19

                                                         AC             =     5
                               D
                                             ความยาวสูงเอียง            =     5 ซม.
                  B        C                 หาความยาวสัน AD 2          =     52 + 32

                                                                        =     25 + 9
         6 ซ.ม.                              ความยาวสันพีระมิด          =     34 ซม.
                                             ความยาวสัน AD              =     5.83 ซม.
                                              ปริมาตรพีระมิด            =      1
                                                                               3
                                                                                 × พื้นที่ฐาน × สูง

                                                                                                        =                1
                                                                                                                         3
                                                                                                                           ×6 ×6 × 4

                                                                                            =      48 ลบ.ซม.
                                                                                        ตอบ 48 ลบ.ซม.




                                         C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                              ั
25


12. ในการสรางกระโจมขนาดใหญหลังหนึ่ง ตัวกระโจมเปนรูปทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 42 ฟุต
    สูง 14 ฟุต หลังคากระโจมเปนรูปกรวยกลม มีเสนผานศูนยกลางเทากับตัวกระโจม ถาหลังคากระโจม
    สูง 10 ฟุต จงหาพื้นที่ผิวภายนอกทั้งหมดของกระโจม
แนวคิด พื้นที่ผิวภายนอกตัวกระโจม                            = 2 πr h
                                                            = 2 × 22 ×21 ×14
                                                                   7

                  A                                                                      = 1848 ตารางฟุต

            10 ฟุต
                                        จากรูป      AC2                                   = AB2 + BC2
              B       21 ฟุต   C                                                          = 10 2 + 21 2
                                        AC2                                               = 541
                               14 ฟุต
                                        กระโจมมีสูงเอียง (AC)                             = 541
                                                                                          = 23.25          ฟุต
                  42 ฟุต
                                        พื้นที่ผิวหลังคากระโจม                            = πrl
                                                                                          = 22 × 21× 23.25
                                                                                             7
                                                                                    =          1534.5 ตารางฟุต
                                        พื้นที่ผิวทั้งหมด                           =          1848 + 1534.5
                                                                                    =          3382.5 ตารางฟุต
                                                         ตอบ                   3382.5          ตารางฟุต


13.          D                                    A

                                                                          E
                                                  .O
                               F

                                                  B                                                               C

จากรูป AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O AD และ BC เปนเสนสัมผัสวงกลมที่ A และ B
ถา AD = AB = BC = 14 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ที่แรเงา




                                          C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
                                                                                                               ั
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว

More Related Content

What's hot

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 

What's hot (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
ปริมาตรของปริซึม
ปริมาตรของปริซึมปริมาตรของปริซึม
ปริมาตรของปริซึม
 
work1
work1work1
work1
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 

Similar to ปริมาตรและพื้นที่ผิว

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรamnesiacbend
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมทับทิม เจริญตา
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
Original sv [compatibility mode]
Original sv  [compatibility mode]Original sv  [compatibility mode]
Original sv [compatibility mode]Laongphan Phan
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
ใบงาน พื้นที่ผิว ปริมาตร
ใบงาน พื้นที่ผิว  ปริมาตรใบงาน พื้นที่ผิว  ปริมาตร
ใบงาน พื้นที่ผิว ปริมาตรSarawoot Suriyaphom
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
volume and surface
volume and surfacevolume and surface
volume and surfaceamnesiacbend
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรguest48c0b10
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 

Similar to ปริมาตรและพื้นที่ผิว (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูปสรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
 
Matha15
Matha15Matha15
Matha15
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Original sv [compatibility mode]
Original sv  [compatibility mode]Original sv  [compatibility mode]
Original sv [compatibility mode]
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
New open document text
New open document textNew open document text
New open document text
 
New open document text
New open document textNew open document text
New open document text
 
ใบงาน พื้นที่ผิว ปริมาตร
ใบงาน พื้นที่ผิว  ปริมาตรใบงาน พื้นที่ผิว  ปริมาตร
ใบงาน พื้นที่ผิว ปริมาตร
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
 
volume and surface
volume and surfacevolume and surface
volume and surface
 
try
trytry
try
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 

ปริมาตรและพื้นที่ผิว

  • 1. 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร วัตถุประสงค 1. นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตได 2. นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของรูปทรงเรขาคณิตชนิดตาง ๆ ได 3. นักเรียนสามารถคํานวณหาปริมาตรของทรงเรขาคณิตได 4. นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ผิวของทรงเรขาคณิตได ความพรอม นักเรียนจะเรียนรูเรื่องพื้นที่ผิว ปริมาตร พืนที่ผิวโคง ควรมีความรู ความเขาใจพืนฐานตอไปนี้ ้ ้ 1. การหาพื้นที่ คิดเพียง 2 มิติ มีหนวยการวัดเปนตารางหนวย 2. การหาปริมาตร คิด 3 มิติ มีหนวยการวัดเปนลูกบาศกหนวย 3. สมบัติ เกี่ยวกับมุม ดาน และเสนทแยงมุม ของรูปสี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยม 4. สูตรการหาพืนที่รูปเหลี่ยมตาง ๆ ้ 4.1 สามเหลี่ยมใด ๆ = 1 × ฐาน × สูง 2 = s(s − a )(s − b )( s − c) เมื่อ a,b,c เปนความยาวของดานทั้งสาม และ S = a + b + c 2 4.2 สามเหลี่ยมมุมฉาก = 1 2 × ผลคูณของดานประกอบมุมฉาก 4.3 สามเหลี่ยมดานเทา = 4 3 × (ดาน)2 2 4.4 สามเหลี่ยมฐานโคง = D 360 × πr (เมื่อ D คือมุมยอด) 4.5 สี่เหลี่ยมจัตุรัส = (ดาน) 2 หรือ (เสนทแยงมุม) 2 4.6 สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว 2 4.7 สี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน × สูง 4.8 สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน = 1 × ผลคูณของเสนทแยงมุม หรือ ฐาน × สูง 2 4.9 สี่เหลี่ยมคางหมู = 1 2 × สูง × ผลบวกดานคูขนาน หรือ 4.10 สี่เหลี่ยมดานไมเทา = 1 2 × เสนทแยงมุม × ผลบวกของเสนกิ่ง 4.11 สี่เหลี่ยมรูปวาว = 1 2 × ผลคูณของเสนทแยงมุม 4.12 เสนรอบวงของวงกลม = 2 πr หรือ πD (เมื่อ D คือเสนผานศูนยกลาง) 4.13 พื้นที่วงกลม = πr 2 4.14 พื้นที่ผิวทรงกลม = 4 πr 2 4.15 พื้นที่ผวกรวยกลม ิ = πrl (l = สูงเอียง) C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 2. 2 4.16 ปริมาตรของทรงกลม = 4 3 3 πr 4.17 ปริมาตรทรง มุมฉาก = พื้นที่ฐาน × สูง หรือ กวาง × ยาว × สูง 4.18 ปริมาตรทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูงตรง 4.19 พื้นที่ผิวขางทรงกระบอก = 2 πrh หรือ เสนรอบวงที่ฐาน × สูง 4.20 ปริมาตรของพีระมิด = 1 × พื้นที่ฐาน × สูงตรง 3 4.21 ปริมาตรของกรวยกลม = 1 3 × พื้นที่ฐาน × สูง 5. ความรูเกี่ยวกับทฤษฎีทั่ว ๆ ไป ∆ 5.1 การเทากันทุกประการของ 1.1 ด.ด.ด. 1.2 ด.ม.ด. 1.3 ด.ฉ.ด. 1.4 ม.ด.ม. 5.2 ทฤษฎีปทาโกรัส a และ b เปนดานประกอบมุมฉาก และ c เปนดานตรงขามมุมฉาก จะได c2 = a2 + b2 5.3 การเทากันของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ทฤษฎีบท : สามเหลี่ยมสองรูปถามีฐานยาวเทากันหรือยูบนฐานเดียวกันและมีสวนสูง  เทากัน สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะมีพื้นที่เทากัน A B C D จากรูป พื้นที่รูป ∆ ABD เทากับ พื้นที่รูป ∆ADC C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 3. 3 ปริซม (Prism) คือทรงสามมิติที่มีหนาตัดหัวทายเปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ เหมือนกันทั้งหัวและทาย ึ โดยมีพื้นทีเ่ ทากัน รูปแบบเดียวกันและขนานกัน ดานขางของปริซึมขนานกันและเปนความยาวของปริซึม โดยพื้นทีดานขางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทุกรูป ่ ปริซมมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับหนาตัดของรูปนั้น ๆ เชน หนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม เรียกปริซึม ึ  สามเหลี่ยม หนาตัดเปนรูปหาเหลี่ยม เรียกปริซึมหาเหลียม เปนตน ่ ปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึมหนาตัดสามเหลี่ยม ปริซึมหนาตัดหาเหลี่ยม พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่หนาตัดหัวทาย พื้นที่ผิวขางของปริซึม = ความยาวเสนรอบฐาน × ความสูง ปริมาตรของปริซม ึ = พื้นที่ฐาน × สูง พีระมิด (Pyramid) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปเหลียมใด ๆ มียอดแหลมซึ่งไมอยูบนระนาบ ่  เดียวกับฐาน และหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดรวมกันทียอดแหลมนัน ่ ้ นิยมเรียกชื่อของพีระมิดตามลักษณะของฐาน เชน พีระมิดฐานสามเหลี่ยม พีระมิดฐาน สี่เหลี่ยมผืนผา พีระมิดฐานหกเหลี่ยมดานเทา เปนตน ยอด ยอด สัน สัน สัน สวนสูง สูงเอียง สัน สวนสูง สัน สัน ฐาน ฐาน พีระมิดฐานรูปสามเหลี่ยม พีระมิดฐานรูปหกเหลี่ยม C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 4. 4 พีระมิดแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ พีระมิดตรงและพีระมิดเอียง พีระมิดตรง หมายถึงพีระมิดที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทามุมเทา มีสันยาวเทากันทุกเสน จะมีสงเอียงทุกเสนยาวเทากัน และสวนสูงตั้งฉากกับฐานที่จุดซึ่งอยูหางจากจุดยอดมุมของรูปเหลี่ยม ู   ที่เปนฐานเปนระยะเทากันมีหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจัว สวนกรณีที่สนทุกสันยาวไมเทากัน ่ ั สูงเอียงทุกเสนยาวไมเทากัน เรียกวา พีระมิดเอียง ยอด ยอด สัน สัน สวนสูง หนา หนา สูงเอียง สวนสูง ฐาน สูงเอียง ฐาน พีระมิดตรง พีระมิดเอียง พื้นที่ผวของพีระมิด (Surface area of pyramid) ิ พื้นที่ของหนาทุกหนาของพีระมิดรวมกันเรียกวา พื้นที่ผวขางของพีระมิด และพืนทีผิวขาง ิ ้ ่ ของพีระมิดรวมกับพื้นที่ฐานของพีระมิดเรียกวา พื้นที่ผวของพีระมิด ิ สูตรการหาพืนที่ผิวของพีระมิด ้ พื้นที่ผิวขาง 1 ดาน = 1 2 × ฐาน × สูงเอียง พื้นที่ผิวทั้งหมด = พื้นที่ฐาน + พืนที่ผวขางทุกดาน ้ ิ ในกรณีที่เปนพีระมิดตรงและมีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทาทุกเทา พื้นที่ผิวขางทุกดาน = 1 2 × ความยาวเสนรอบฐาน × สูงเอียง ปริมาตรของพีระมิด = 1 3 × พื้นที่ฐาน × สูง C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 5. 5 ทรงกระบอก ทรงกระบอก (Cylinder) คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันทุกประการ และอยูใน ระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดทรงสามมิติน้ดวยระนาบทีขนานกับฐานแลว จะไดรอยตัดเปนวงกลมที่เทากัน ี ่ ทุกประการกับฐานเสมอ หนาตัดหรือฐาน แกน สวนสูง หนาตัดหรือฐาน รัศมี พื้นที่ผิวของทรงกระบอก (Surface area of cylinder) พื้นที่ผิวของทรงกระบอก ประกอบดวยพืนที่ผิวขางของทรงกระบอก และพื้นทีฐานทั้งสองของ ้ ่ ทรงกระบอก พื้นที่ฐาน πr 2 2 πr 2 h h คลี่ออก พื้นที่ผิวขาง พื้นที่ฐาน πr 2 พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก + พื้นที่ฐานของทรงกระบอก ถาทรงกระบอกมีสวนสูงยาว h หนวย ฐานมีรัศมียาว r หนวย จะได พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh พื้นที่ฐานทั้งสองของทรงกระบอก = 2 πr 2 ดังนั้น พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = 2πrh + 2πr 2 ตารางหนวย หรือ = 2πr (h + r ) ตารางหนวย r แทนรัศมีของฐานของทรงกระบอก h แทนความสูงของทรงกระบอก C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 6. 6 ปริมาตรทรงกระบอก ปริมาตรทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูง ปริมาตรทรงกระบอก = πr 2 h กรวย (Cone) กรวย (Cone) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไมอยูบนระนาบเดียวกับฐาน และเสนที่ตอระหวางจุดยอดและจุดใด ๆ บนขอบของฐานเปนสวนของเสนตรงที่ยาวเทากัน เรียก สูงเอียง และกรวยที่มสูงเอียงยาวเทากันเรียกวา กรวยตรง ี ยอด สูงเอียง สวนสูง แกน ฐาน รัศมี กรวยตรง กรวยเอียง พื้นที่ผิวของกรวย (Surface area of cone) พื้นที่ผิวของกรวย เปนพื้นทีของรูปสามเหลี่ยมฐานโคง ประกอบดวยพื้นที่ผิวขางกับพื้นที่ฐาน ่ ของกรวย พื้นที่ผิวของกรวย = พื้นที่ผิวขางของกรวย + พืนที่ฐานของกรวย ้ ถากรวยมีสวนสูงเอียง l หนวย และรัศมีท่ฐานของกรวยยาว r หนวย ี จะได พื้นที่ผิวขางของกรวย = πrl ตารางหนวย พื้นที่ฐานของกรวย = πr 2 ตารางหนวย ดังนั้น พื้นที่ผิวของกรวย = πrl + πr 2 ตารางหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ l แทนความสูงเอียงของกรวย C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 7. 7 ปริมาตรของกรวย (Volume of cone) ปริมาตรของกรวย = 1 ของปริมาตรของทรงกระบอกซึ่งมีพื้นที่ฐานและความสูงเทากับกรวย 3 ปริมาตรของกรวย = 1 2 3 πr h ลูกบาศกหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ h แทนความสูงของกรวย ทรงกลม (Sphere) ทรงกลม (Sphere) คือทรงสามมิติที่มีผิวเรียบโคงและจุดทุกจุดบนผิวโคงอยูหางจากจุดคงที่จุดหนึง ่ เปนระยะเทากัน จุดคงที่นนเรียกวา จุดศูนยกลางของทรงกลม และระยะที่เทากันนั้นเรียกวา รัศมีของทรงกลม ั้ วงกลมใหญ ผิวโคงเรียบ เสนผานศูนยกลางวงกลมใหญ จุดศูนยกลาง รัศมี พื้นที่ผิวของทรงกลม (Surface area sphere) พื้นที่ผิวของทรงกลม เปนสี่เทาของพื้นที่รูปวงกลม ซึ่งมีรัศมีเทากับรัศมีของทรงกลมนั้น ดังนั้น พืนที่ผิวของทรงกลม = ้ 4πr 2 ตารางหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 8. 8 ปริมาตรของทรงกลม (Volume of sphere) ปริมาตรของทรงกลม = 4 3 3 πr ลูกบาศกหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม วิธีการนําเสนอ ตัวอยาง ถังน้ําสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 3 เมตร ยาว 7 เมตร มีน้ําบรรจุอยู 105 ลูกบาศกเมตร ระดับน้ําจะสูงกี่เมตร แนวคิด ปริมาตร = กวาง × ยาว × สูง ปริมาตร สูง = กวาง × ยาว 105 ระดับน้ําสูง = 3×7 = 5 เมตร ตอบ 5 เมตร C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 9. 9 ตัวอยาง จากรูป จงหาความยาวของเสนรอบรูปที่กําหนดให 35 นิ้ว 35 นิ้ว 35 นิ้ว 35 นิ้ว แนวคิด เสนรอบวงกลม = 2 πr เสนโคงแตละรูป = 1 2 × 2πr = 1 2 22 35 ×2 × × 7 2 นิ้ว = 55 นิ้ว ดังนั้น ความยาวรอบรูปทั้งหมด = 55 × 4 นิ้ว = 220 นิ้ว ตอบ 220 นิ้ว ตัวอยาง สี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งยาวดานละ 16 เซนติเมตร ตัดมุมทังสี่ออกเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว ้ ทําใหเหลือพื้นที่ 224 ตารางเซนติเมตร จงหาวาสามเหลี่ยมที่ตัดออกไปมีดานประกอบมุมฉาก ยาวดานละกี่เซนติเมตร แนวคิด พื้นที่ จ กอนตัด = 16 × 16 = 256 ตารางเซนติเมตร มุมที่ตัดออกมีพื้นที่ = 256 - 224 = 32 ตารางเซนติเมตร 224 16 แตละมุมมีพื้นที่ = 32 4 = 8 ตารางเซนติเมตร พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = 1 2 × ฐาน × สูง 1 16 = ( ฐาน ) 2 2 (เพราะฐานเทากับสูง เนื่องจาก ∆ ที่ตัดออกเปน ∆ หนาจั่ว) ( ฐาน ) 2 = 2 × 8 = 16 เซนติเมตร ฐาน = 16 = 4 เซนติเมตร รูปที่ตัดออกไปมีดานประกอบมุมฉากยาวดานละ 4 เซนติเมตร ตอบ 4 เซนติเมตร C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 10. 10 ตัวอยางที่ 4 ถังรูปทรงกระบอกสูง 14 ฟุต เสนผานศูนยกลางของฐานยาว 12 ฟุต มีน้ําเต็มถัง เมือนํา ่ แทงเหล็กสี่เหลี่ยมที่มีความสูงเทากับถังมีพื้นที่หนาตัด 4 ตารางฟุต ใสลงไปในถัง เมื่อนํา เหล็กออกจะเหลือน้ําในถังกี่ลูกบาศกฟุต แนวคิด ปริมาตรของถังรูปทรงกระบอก = πr 2 h = 22 × 6 × 6 ×14 7 = 1,584 ลูกบาศกฟุต ปริมาตรของแทงเหล็กสี่เหลียม ่ = พื้นที่หนาตัด × ความสูง = 4 × 14 = 56 ลูกบาศกฟุต ดังนั้นเมื่อนําแทงเหล็กออกจะเหลือน้ําในถัง 1,584 – 56 = 1,528 ลูกบาศกฟุต ตอบ 1,528 ลูกบาศกฟต ุ ตัวอยาง ภาชนะเก็บน้ําทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก วัดภายนอกไดความกวาง 36 เซนติเมตร ความยาว 64 เซนติเมตร ความสูง 28 เซนติเมตร ภาชนะเก็บน้ํามีความหนา 5 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผวทั้งหมดและปริมาตรปูนที่ใชสรางภาชนะเก็บน้ํา ิ แนวคิด ใชวิธวาดรูปประกอบ ี 5 ซม. 28 ซ.ม. 64 ซม.. 36 ซม.. C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 11. 11 เมื่อวัดภายในจะได ความกวาง = 36 - (2 × 5) = 36 – 10 = 26 เซนติเมตร ความยาว = 64- (2 × 5) = 54 เซนติเมตร ความสูง = 28 - 5 = 23 เซนติเมตร พื้นที่ผิวดานลางภายนอก = 36 × 64 = 2,304 เซนติเมตร พื้นที่ผิวดานลางภายใน = 26 × 54 = 1,404 เซนติเมตร พื้นที่ดานบนภาชนะเก็บน้ําโดยรอบ = 2304 - 1404 = 900 เซนติเมตร พื้นที่ผิวทั้งดานขางภายนอกสี่ดาน = เสนรอบฐาน × สวนสูง = [2 × (36 + 64 )] × 28 ตารางเซนติเมตร = 5,600 ตารางเซนติเมตร พื้นที่ผิวขางดานใน = [2 × (26 + 54 )]× 23 ตารางเซนติเมตร = 3,680 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พืนที่ผิวทั้งหมด ้ = 2,304 + 1,404 + 900 + 5,600 + 3,680 ตารางเซนติเมตร = 13,880 ตารางเซนติเมตร ปริมาตรทั้งหมด = 36 × 64 × 28 = 64,512 ลูกบาศกเซนติเมตร ปริมาตรภายใน = 26 × 54 × 23 = 32,292 ลูกบาศกเซนติเมตร ดังนั้นปริมาตรปูนที่ใช = 64,512 – 32,292 = 32,220 ลูกบาศกเซนติเมตร ดังนั้น จะใชปูนทั้งหมดในการสรางภาชนะ = 32,220 ลูกบาศกเซนติเมตร ตอบ 32,220 ลูกบาศกเซนติเมตร C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 12. 12 แบบฝกทักษะ 1. ที่ดินรูปสี่เหลียมผืนผาแปลงหนึ่งกวาง 15 เมตร ยาว 21 เมตร ตองการถมดินใหสงขึนกวาเดิม ่ ู ้ 30 เซนติเมตร จะตองซื้อดินมาถมทั้งหมดกี่คันรถ ถารถบรรทุกจุดินไดคันละ 18.9 ลูกบาศกเมตร 2. สี่เหลี่ยม ABCD มีจุดยอดมุม อยูที่ A (3, 6), B (9, 6), C (6, 3) และ D(0, 3) จะมีพนที่เทาไร ื้ 3. แท็งกน้ํารูปลูกบาศกมีพนทีผิวทั้งหมด 24x 2 ตารางนิ้ว แท็งกน้ํามีปริมาตรเทาไร ื้ ่ 4. กําหนดใหสามเหลี่ยมฐานโคง (Sector) AOB มีรัศมีความโคง 5 หนวย และ ˆ AOB = 72 0 จงหาพื้นที่สามเหลี่ยมฐานโคง AOB 5. ลวดทองแดงเสนหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 2 มิลลิเมตร พันรอบแทงทรงกระบอกซึ่งยาว 12 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลางของแทงทรงกระบอกยาว 10 เซนติเมตร พันลวดจนเต็มพื้นที่ผิวโคง จะใชลวดยาว กี่เมตร (กําหนดให π เทากับ 3.14 ) 6. A D B จากรูปสวนทีแรเงามีพื้นที่เทาไร ่ C 14 ซ.ม. 7. พีระมิดเหล็กฐานสี่เหลี่ยมจัตรัสยาวดานละ 2 ฟุต สูง 1 2 ฟุต นํามาหลอมทําเปนพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม ุ 3 จัตุรัส ซึ่งมีดานฐานเทากับสวนสูงไดทั้งหมด 180 อัน พีระมิดที่สรางขึ้นมีฐานยาวดานละกี่นว ิ้ C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 13. 13 8. โลหะทรงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 42 เซนติเมตร มีปริมาตร 3.5 เทาของปริมาตรกรวยกลม ซึ่งสูง 24 เซนติเมตร กรวยมีพื้นที่ผิวทั้งหมดเทาไร 9. ทรงกลมลูกหนึ่งบรรจุลงในทรงกระบอกพอดีและกระบอกนี้วางลงในกลองทรงลูกบาศกซึ่งยาวดานละ 14 เซนติเมตร ดังรูป จงหา 1) กลองทรงลูกบาศกมปริมาตรมากกวาทรงกระบอกกี่ลูกบาศกเซนติเมตร ี 2) ทรงกระบอกมีปริมาตรมากกวาทรงกลมกี่ลูกบาศกเซนติเมตร 14 ซม. 14 ซม. 14 ซม. 10. ทรงกลมตันรัศมียาว 10.5 เซนติเมตร หยอนลงในภาชนะทรงกระบอกที่มีน้ําอยู ทําใหน้ําเต็มภาชนะพอดี ถาพื้นที่กนภาชนะเทากับ 808.5 ตารางเซนติเมตร จงหาวาเมื่อหยอนทรงกลมตันลงไปในภาชนะแลว  น้ําสูงขึ้นอีกกี่เซนติเมตร 11. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 6 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร จงหาความสูงเอียง ความยาว สันพีระมิด และปริมาตรของพีระมิด 12. ในการสรางกระโจมขนาดใหญหลังหนึ่ง ตัวกระโจมเปนรูปทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 42 ฟุต สูง 14 ฟุต หลังคากระโจมเปนรูปกรวยกลม มีเสนผานศูนยกลางเทากับตัวกระโจม ถาหลังคากระโจม สูง 10 ฟุต จงหาพื้นที่ผิวภายนอกทั้งหมดของกระโจม 13. D A E .O F B C จากรูป AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O AD และ BC เปนเสนสัมผัสวงกลมที่ A และ B ถา AD = AB = BC = 14 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ที่แรเงา C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 14. 14 14. จงหาพื้นที่ผวทั้งหมดและปริมาตรของประมิดฐานสี่เหลียมจัตุรัสยาวดานละ 12 เซนติเมตร ิ ่ และสูง 8 เซนติเมตร 15. ทรงกลมตันรัศมียาว 6 เซนติเมตร นํามาหลอมทําเปนทรงกระบอกกลวงใหมีรัศมีภายนอก 10 เซนติเมตร ถาทรงกระบอกนี้สง 8 เซนติเมตร จะมีความหนากี่เซนติเมตร (หาคําตอบในเทอม ู ของ π ) 16. จงหาพื้นที่ผวและปริมาตรของพีระมิด ฐานสามเหลี่ยมดานเทาซึ่งมีดานยาวดานละ 6 ซม. ิ และมีสันยาว 5 ซม. 17. P PQR เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทามีพื้นที่ 80 ตารางหนวย B A เปนจุดกึ่งกลาง PQ , B เปนจุดกึ่งกลาง PA และ AC// BD // PR จงหาพื้นที่สวนทีแรเงา ่ A R Q D C 18. ถังสี่เหลี่ยมใบหนึ่งยาว 31 เซนติเมตร กวาง 14 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร มีน้ําอยูในถังสูง 10 เซนติเมตร ถาเอาทอนเหล็กทรงกระบอกตันรัศมี 7 เซนติเมตร วางตั้งลงไปในถังน้ํา จงหาวา ระดับน้ําในถังสูงขึ้นอีกเทาไร 19. C c b จงหาพื้นทีแรเงา จากรูปที่กําหนดให ่ 14 นิ้ว a C A B 14 นิ้ว C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 15. 15 20. 7 7 จงหาพื้นทีแรเงา จากรูปที่กาหนดให ่ ํ 7 7 7 7 21. พีระมิดรูปหนึง มีฐานเปนรูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทา ซึ่งมีดานละ 6 เซนติเมตร และมีสันยาว ่ 10 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผวและปริมาตร ิ 22. จากรูป PQR มี PQ = 12 เซนติเมตร PR = 9 เซนติเมตร เมื่อ PR, RQ และ PQ เปนเสน ผานศูนยกลางของวงกลม จงหาพื้นที่สวนที่แรเงา (ใหตอบในเทอมของ π ) C P d 12 a e9 b R Q 23. แทงปูนทรงเรขาคณิต ปลายหัวทั้งสองขางเปนรูปทรงกรวยกลมขนาดเทากันทั้งสองปลาย ความยาว ของแทงปูนกับกรวยทั้งสองเปน 20 นิ้ว ความยาวเฉพาะแทงปูนเปนทรงกระบอกยาว14 นิว ้ ถังรูปทรงนี้มีปริมาตรทั้งหมด 616 ลูกบาศกนิ้ว จงหาวาเสนผานศูนยกลางของแทงปูนทรงกระบอก ยาวกี่นว (กําหนดให π เทากับ 22 ) ิ้ 7 3 24. โคมไฟลักษณะดังรูป มีรัศมีวงใหญยาว 5 นิ้ว 6 รัศมีวงเล็ก 3 นิ้ว สูง 6 นิ้ว จงหาปริมาตรของยอดกรวยที่ถูกตัดออกไป 5 C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 16. 16 25. กระปองนมรูปทรงกระบอก 2 ใบ ใบหนึ่งสูงเปน 2 เทาของอีกใบหนึ่ง แตเสนผานศูนยกลางของ ปากกระปองนมใบสูงยาวเพียงครึ่งหนึ่งของเสนผานศูนยกลางของกระปองนมใบเตีย ถาผูขายคิดราคา ้ นมกระปองใบสูงไว 8 บาท นมกระปองใบเตี้ย 15 บาท จะซื้อนมกระปองใด จึงจะถูกกวา 26. กระปองใบหนึ่งมีความสูงเปน 2 เทาของรัศมีกระปอง ซึ่งมีปริมาตร 92 π ลูกบาศกเซนติเมตร ลงในกระปองใบนี้ และหยอนลูกแกวซึ่งมีพื้นที่ผิว 36 π ตารางเซนติเมตรลงในกระปอง จงหาขนาดของพื้นที่ผิวดานขางนอยที่สุด ซึ่งจะทําใหน้ําไมไหลลนออกมาภายหลังการหยอนลูกแกวลงไป (ใหตอบในเทอมของ π ) 27. จ ABCD และ จ DCEG มีพื้นที่เทากันคือ 64 ตร.หนวย EFQ เปนรูปครึ่งวงกลม ซึ่งมี F เปนจุดกึ่งกลางของสวนโคง EG จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงา (ให π เทากับ 3.14) 28. จากรูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปเล็ก แตละรูปมีรูปรางเหมือนกันและมีพนที่รูปละ 8 ตารางหนวยเทากันทังหมด ื้ ้ จุด A, B, F, G, D เปนจุดที่อยูตรงมุมของรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ พอดี จุด C และ E เปนจุดที่อยูบนดาน FG ถากําหนดให CE = 2 FG จงหาพื้นทีสวนที่แรเงา 3 ่ A J F I C B H E D G C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 17. 17 29. P X 4 ซม. 4 ซม. 4 ซม. Q 270 360 R 0 Y 63 Z จากรูป PQR เปนรูปสามเหลี่ยมใด ๆ มี PR ยาวเทากับ 4 นิ้ว XYZ เปนสามเหลี่ยมหนาจัว ่ มีดานประกอบมุมยอดยาวดานละ 4 นิ้ว ถาสามเหลี่ยม XYZ มีพื้นที่ 7.24 ตารางนิ้ว สามเหลียม PQR ่ มีพื้นที่เทาไร เมื่อกําหนดให QR ยาว 8 นิ้ A 5 นิ้ว B 30. 3 นิ้ว 4 นิ้ว H C F E D ABCD และ ABEF เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน AD และ BE ตัดกันและตังฉากกันที่ H AB = 5 นิ้ว, ้ AH = 4 นิ้ว และ BH = 3 นิ้ว ถาพื้นทีสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD = 36 ตารางนิ้ว จงหา ่ 1. พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ABCF, พื้นที่สามเหลี่ยม EHD 2. เสนรอบรูปสี่เหลี่ยม ABCF 31. M O S S N P N 8 ซม. 10 ซม. 6 ซม.T R 10 ซม. 8 ซม. Q 6 ซม. T R C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 18. 18 กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแผนหนึ่งมีความยาว 25 ซม. เมื่อพับกระดาษที่ QR ดังรูป จงหา 1. ความกวางของกระดาษแผนนี้ 2. หาพื้นทีแรเงา ่ 32. ABC เปนสามเหลี่ยมใด ๆ รูปหนึ่ง ถาตอดาน AB ไปถึงจุด D ตอดาน BC ไปถึงจุด E และตอดาน CA ไปถึงจุด F โดยให AD = 2AB, BE = 3BC และ CF = 4CA และถาสามเหลี่ยม ABC มีพื้นที่ 3.2 ตารางเซนติเมตร สามเหลี่ยม DEF มีพื้นที่เทาไร F A B C D E 33. PQRS เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน มี PR และ QS เปนเสนทแยงมุมตัดกันที่ O จาก P ลาก PM ตัดเสนทแยงมุม QS ที่ N ไปพบ QR ที่ M ทําให PN : NM เทากับ 3 : 2 จงหาวาอัตราสวน ของพื้นที่สามเหลี่ยม PNO กับพื้นที่สี่เหลี่ยม MNOR เทากับเทาใด P S O N Q M R C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 19. 19 เฉลยแบบฝกทักษะ 1. ที่ดินรูปสี่เหลียมผืนผาแปลงหนึ่งกวาง 15 เมตร ยาว 21 เมตร ตองการถมดินใหสงขึนกวาเดิม ่ ู ้ 30 เซนติเมตร จะตองซื้อดินมาถมทั้งหมดกี่คันรถ ถารถบรรทุกจุดินไดคันละ 18.9 ลูกบาศกเมตร แนวคิด ปริมาตร = กวาง × ยาว × สูง ดังนั้นดินที่ใชทั้งหมด = 15 × 21 × 0.3 = 94.5 ลูกบาศกเมตร ดังนั้น จะตองซื้อดินมาทั้งหมด = 94.5 ÷ 18.9 = 5 คัน ตอบ 5 คัน 2. สี่เหลี่ยม ABCD มีจุดยอดมุม อยูที่ A (3, 6), B (9, 6), C (6, 3) และ D(0, 3) จะมีพนที่เทาไร ื้ แนวคิด Y พื้นที่ ข = ฐาน × สูง A(3 , 6) B(9 , 6) = 6 × 3 = 18 ตารางหนวย ตอบ 18 ตารางหนวย D(0 , 3) C(6 , 3) X 0 3. แท็งกนํารูปลูกบาศกมพนทีผิวทั้งหมด 24x 2 ตารางนิ้ว แท็งกน้ํามีปริมาตรเทาไร ้ ี ้ื ่ 24 x 2 แนวคิด แตละดานของแท็งกน้ํามีพื้นที่ = 6 = 4x 2 ตารางนิ้ว แตละดานยาว = 4x 2 = 2 x ตารางนิ้ว ปริมาตรของแท็งกนํา ้ = 2x × 2x × 2x = 8 x 3 ตารางนิ้ว ตอบ 8 x 3 ตารางนิ้ว C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 20. 20 4. กําหนดใหสามเหลี่ยมฐานโคง (Sector) AOB มีรัศมีความโคง 5 หนวย และ ˆ AOB = 72 0 จงหาพื้นที่สามเหลี่ยมฐานโคง AOB แนวคิด O หาพื้นที่ ∆ ฐานโคง = 360 πr 2 เมื่อ D เปนมุมของยอดของ ∆ ฐานโคง D = 72 360 π×5 ×5 ตารางหนวย = 5π ตารางหนวย A B ตอบ 5π ตารางหนวย 5. ลวดทองแดงเสนหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 2 มิลลิเมตร พันรอบแทงทรงกระบอกซึ่งยาว 12 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลางของแทงทรงกระบอกยาว 10 เซนติเมตร พันลวดจนเต็มพื้นที่ผิวโคง จะใชลวดยาว กี่เมตร (กําหนดให π = 3.14 ) แนวคิด เสนผานศูนยกลางของลวด = 2 มิลลิเมตร ทรงกระบอกยาว = 12 เซนติเมตร = 120 มิลลิเมตร พันลวดเต็มพืนที่ตองพัน ้ = 120 = 60 รอบ 2 เสนผานศูนยกลางของแทงทรงกระบอก= 10 เซนติเมตร = 100 มิลลิเมตร ∴ รัศมี = 50 มิลลิเมตร ความยาวลวดที่พัน 1 รอบ ยาว = 2 πr = 2 πr ×50 = 100 π มิลลิเมตร ตองใชลวดทั้งหมด 60 รอบ = 100π × 60 มิลลิเมตร = 6000 × 3.14 มิลลิเมตร = 18,840 มิลลิเมตร ดังนั้น จะใชลวดยาว = 18840 1000 = 18.84 เมตร ตอบ 18.84 เมตร C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 21. 21 6. A จากรูปสวนทีแรเงามีพื้นที่เทาไร ่ D B C 14 ซ.ม. แนวคิด จากรูปพิจารณาวาพื้นทีไมแรเงา 2 สวน (A และ C) = พืนที่ จัตุรัสลบดวยพืนที่ ่ ้ ้ ครึ่งวงกลม 2 สวน (พืนที่วงกลม) ้ ดังนั้น พื้นที่ไมแรเงา 2 สวน (A และ C) = พื้นที่ จัตุรัส – ดวยพืนที่วงกลม ้ = (14×14)− ⎛ 22 × 7× 7 ⎞ ตารางเซนติเมตร ⎜ ⎟ 7 ⎝ ⎠ = 196 −154 = 42 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่ไมแรเงา 4 สวน = 42 ×2 = 84 ตารางเซนติเมตร พื้นที่แรเงา = พื้นที่ จัตุรัส - พื้นทีสีขาว 4 รูป ( A , B , C , D ) ่ ดังนั้น สวนทีแรเงาจะมีพื้นที่ = 196 − 84 = 112 ตารางเซนติเมตร ่ ตอบ 112 ตารางเซนติเมตร 7. พีระมิดเหล็กฐานสี่เหลี่ยมจัตรสยาวดานละ 2 ฟุต สูง 1 2 ฟุต นํามาหลอมทําเปนพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม ุั 3 จัตุรัส ซึ่งมีดานฐานเทากับสวนสูงไดทั้งหมด 180 อัน ประมิดที่สรางขึ้นมีฐานยาวดานละกี่นว ิ้ สูง ก 20 นิ้ว หลอมเปนพีระมิดเล็ก ๆ 24 นิ้ว 24 นิ้ว ได 180 อัน 24 นิ้ว ปริมาตรของพีระมิดเหล็กฐานสี่เหลี่ยมจัตุรส ั = 1 3 × พื้นที่ฐาน สูง × = 1 3 × 24 × 24 × 20 ลูกบาศกนิ้ว = 3,840 ลูกบาศกนิ้ว ตอบ 3 ,840 ลูกบาศกนิ้ว C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 22. 22 สมมุติ ใหดานของสี่เหลี่ยมจัตุรัสสวนที่เปนฐานและความสูงของพีระมิด = ก นิ้ว เขียนสมการไดดังนี้ ปริมาตร ประมิดเหล็กฐานรูปสี่เหลี่ยมจัตุรส = 180 × ปริมาตรของพีระมิดเล็ก 1 อัน ั 3,840 = 180 × 1 × ¡ × ¡ × ¡ 3 60 ก3 = 3 ,840 ก3 = 3840 60 = 64 ก = 4 ∴ พีระมิดทีสรางขึ้นมีฐานยาวดานละ 4 นิ้ว ่ ตอบ 4 นิ้ว 8. โลหะทรงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 42 เซนติเมตร มีปริมาตร 3.5 เทาของปริมาตรกรวยกลม ซึ่งสูง 24 เซนติเมตร กรวยมีพื้นที่ผวทั้งหมดเทาไร ิ แนวคิด ปริมาตรทรงกลม = 4 π (21) ลูกบาศกเซนติเมตร 3 3 = 12,348 π ลูกบาศกเซนติเมตร l ปริมาตรกรวย = 12,348π ลูกบาศกเซนติเมตร 24 3.5 = 3,528 π ลูกบาศกเซนติเมตร r แตปริมาตรกรวย = 1 π r × 24 ลูกบาศกเซนติเมตร 2 3 ∴ 1 2 3 πr × 24 = 3,528 π r2 = 441 r = 21 จาก l 2 = 24 2 + 21 2 = 1,017 l = 1,017 พื้นที่ผิวทั้งหมด = πr 2 + πrl = ⎛ 22 × (21 )2 ⎞ + 22 ×21 × 1017 ตร.ซม. ⎜ ⎟ 7 ⎝ 7 ⎠ = 1,386+2,104.77 ตร.ซม. = 3,490.77 ตร.ซม. ตอบ 3,490.77 ตร.ซม. C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 23. 23 9. ทรงกลมลูกหนึ่งบรรจุลงในทรงกระบอกพอดีและกระบอกนี้วางลงในกลองทรงลูกบาศกซึ่งยาวดานละ 14 เซนติเมตร ดังรูป จงหา 1) กลองทรงลูกบาศกมีปริมาตรมากกวาทรงกระบอกกี่ลูกบาศกเซนติเมตร 2) ทรงกระบอกมีปริมาตรมากกวาทรงกลมกี่ลูกบาศกเซนติเมตร แนวคิด ปริมาตรกลอง = กวาง × ยาว × สูง = 14 × 14 × 14 ลบ.ซม. = 2744 ลบ.ซม. ปริมาตรทรงกระบอก = πr 2h = 22 × 7 × 7 ×14 14 ซม. 7 = 2 ,156 ลบ.ซม. ปริมาตรทรงกลม = 4 3 3 πr 14 ซม. 14 ซม. = 4 22 × ×7 ×7 ×7 3 7 = 1437 1 3 ลบ.ซม. 1. กลองมีปริมาตรมากกวาทรงกระบอก = 2744 - 2156 = 588 ลบ.ซม. 2. ทรงกระบอกมีปริมาตรมากกวาทรงกลม = 2156 - 1437 1 = 718 2 ลบ.ซม. 3 3 ตอบ 718 2 ลบ.ซม. 3 10. ทรงกลมตันรัศมียาว 10.5 เซนติเมตร หยอนลงในภาชนะทรงกระบอกที่มีน้ําอยู ทําใหน้ําเต็มภาชนะพอดี ถาพื้นที่กนภาชนะเทากับ 808.5 ตารางเซนติเมตร จงหาวาเมื่อหยอนทรงกลมตันลงไปในภาชนะแลว น้ําสูงขึ้นอีกกี่เซนติเมตร ระดับน้ํา C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 24. 24 แนวคิด ระดับน้ําที่เพิ่มขึ้นคือปริมาตรของทรงกลม ปริมาตรทรงกลม = 4 3 3 πr = 4 22 × ×10.5 ×10.5 ×10.5 3 7 = 4,851 ลบ.ซม. = ปริมาตรของทรงกระบอกของระดับน้ําที่เพิ่ม ∴ πr 2 h = 4,851 808.5 × h = 4,851 h = 6 ซม. ระดับน้ําสูงขึนอีก 6 ซม. ้ ตอบ 6 ซม. 11. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 6 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร จงหาความสูงเอียง ความยาว สันพีระมิด และปริมาตรของพีระมิด แนวคิด หาสูงเอียง AC 2 = AB2 + BC2 A = 4 2 + 32 4 ซ.ม. = 16 +19 AC = 5 D ความยาวสูงเอียง = 5 ซม. B C หาความยาวสัน AD 2 = 52 + 32 = 25 + 9 6 ซ.ม. ความยาวสันพีระมิด = 34 ซม. ความยาวสัน AD = 5.83 ซม. ปริมาตรพีระมิด = 1 3 × พื้นที่ฐาน × สูง = 1 3 ×6 ×6 × 4 = 48 ลบ.ซม. ตอบ 48 ลบ.ซม. C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั
  • 25. 25 12. ในการสรางกระโจมขนาดใหญหลังหนึ่ง ตัวกระโจมเปนรูปทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 42 ฟุต สูง 14 ฟุต หลังคากระโจมเปนรูปกรวยกลม มีเสนผานศูนยกลางเทากับตัวกระโจม ถาหลังคากระโจม สูง 10 ฟุต จงหาพื้นที่ผิวภายนอกทั้งหมดของกระโจม แนวคิด พื้นที่ผิวภายนอกตัวกระโจม = 2 πr h = 2 × 22 ×21 ×14 7 A = 1848 ตารางฟุต 10 ฟุต จากรูป AC2 = AB2 + BC2 B 21 ฟุต C = 10 2 + 21 2 AC2 = 541 14 ฟุต กระโจมมีสูงเอียง (AC) = 541 = 23.25 ฟุต 42 ฟุต พื้นที่ผิวหลังคากระโจม = πrl = 22 × 21× 23.25 7 = 1534.5 ตารางฟุต พื้นที่ผิวทั้งหมด = 1848 + 1534.5 = 3382.5 ตารางฟุต ตอบ 3382.5 ตารางฟุต 13. D A E .O F B C จากรูป AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O AD และ BC เปนเสนสัมผัสวงกลมที่ A และ B ถา AD = AB = BC = 14 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ที่แรเงา C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีร้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47 ั