SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ตัวอยางโครงงานกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง

                                            บทที่ 1
                                             บทนํา
                            แนวคิด ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
      จากการที่คณะผูจัดทําไดเห็นผูปกครองและชาวบานนําเอกหัวบุก ตนบุกมาประกอบอาหาร
ไมวาจะเปนอาหารคาวและอาหารหวาน แตหัวบุกก็ยังมีเหลืออยูอีกมาก และไมสามารถเก็บไวได
นาน ดังนั้นคณะผูจัดทําจึงมีความคิดและไดปรึกษากันวา ถาหากเรานําเอาหัวบุกที่มีอยูมาดัดแปลง
หรือแปรรูปเปน “หัวบุกผง” ดวยกรรมวิธีงายๆ เพราะสามารถเก็บไวไดนานอีกทั้งยังคงคุณคาของ
อาหารดานโภชนาการ เพือเปนการสะดวกที่จะนําไปใชไดหลายอยาง
                     ่
วัตถุประสงค
1. เพื่อแปรรูปหรือดัดแปลงหัวบุกที่มีอยูในทองถิ่นใหเกิดประโยชนสูงสุด
2. เพื่อสามารถเปนการประหยัดรายจายและเปนอาชีพเสริมของตนเองและครอบครัวได
ผลที่คาดวาจะไดรับ
1.ไดหัวบุกผงนําไปดัดแปลงเปนอาหารและของขบเคี่ยวตางๆ
2. เปนการประหยัดรายจายและเปนการประหยัดเวลา
3. เปนแนวทางในการทํากิจกรรมเสริมตามโครงการเสริมรายไดระหวางเรียน
4. สงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค
5. รูจักการนําวัสดุที่มีอยูในทองถิ่นมาใชใหเกิดประโยชนและรูจักการแปรรูปอาหาร
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรตน หัวบุก
2. ตัวแปรตาม หัวบุกผง
3. ตัวแปรควบคุม ความแกของหัวบุก อุณหภูมิ เวลา
สมมติฐานในการศึกษา
        นําหัวบุกที่อบสุกแลวไปตากใหแหง แลวนําไปปนใหละเอียดเปนผง สามารถนําไปเปน
สวนผสมของอาหารหวานและของขบเคี้ยวหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพได
คํานิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ
                  การอบ หมายถึง การทําใหสุกและสามารถนําไปรับประทานได
                  อุณหภูมิ หมายถึง การทําใหละเอียดเปนผงโดยใชเครื่องปน


                                             บทที่ 2
                                  ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวของ
       ในการจัดทําโครงงานกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี คณะผูจัดทําได
ศึกษาคุณสมบัติของหัวบุกประกอบการคิดคนทดลองดังตอไปนี้
ลักษณะของบุก
        บุกเปนพืชลมลุกชนิดหนึ่ง มีลําตนแตกตางกันออกไป บางตนสูงใหญ บางตนเล็ก ลําตนจะ
เปนสีขาวนวลและมีสีเขียวสลับกัน จะมีมากในฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายน-เดือนตุลาคมจากนั้น
ลําตนจะคอยๆ เหี่ยวและแหงแตใตดินจะมีหัวบุกอยู ซึ่งหัวบุกนี้จะมีอายุแกเต็มที่ประมาณเดือน
ธันวาคม-เดือนกุมภาพันธ ตนบุกแบงออกเปน 3 ชนิดดวยกันและแตละชนิดจะมีลักษณะที่แตกตาง
กันออกไป ดังนี้
1.บุกหนามหรือบุกปา ลักษณะของบุกชนิดนี้ลําตนจะมีหนามเล็กๆ ทั่วลําตนและมียางซึ่งยางของ
บุกเมื่อถูกหรือจับจะมีอาการคัน บุกชนิดนี้สวนมากจะนํามาเปนอาหารของสัตวคือ หมูและดอก
ของบุกชนิดนี้นํามาประกอบหรือเปนสวนผสมของน้ําพริกมะกอกได
2. บุกเกลี้ยง ลักษณะของบุกชนิดนี้ลําตนจะเหมือนกันกับบุกหนามแตจะผิดกันตรงลําตนไมมี
หนาม แตจะมียางลักษณะเดียวกันกับบุกหนาม เมื่อถูกหรือจับยางจะมีอาการคัน บุกชนิดนี้สามารถ
นํามาทําเปนอาหารไดทั้งคนและสัตว หรือที่นํามาแปรรูปสกัดเปนบุกคอนยัคกี้
3.บุกเบือ ลักษณะของบุกชนิดนี้ลําตนจะมีลักษณะเดนคือ ไมมีหนามและจะมีสีเขียวกับสีขาวนวลที่
เจือจางกวาบุกทั้งสองชนิดที่กลาวมา บุกชนิดนี้จะนิยมปลูกกันตามบานเพราะจะใชเปนอาหารได
ตั้งแตตนออนจนถึงตนที่แก สามารถนํามาแกงสมหรือแกงเหลือง และหัวบุกยังสามารถนํามา
ประกอบเปนอาหารหวาน อาหารคาว และของขบเคี้ยวไดอีกดวยบุกทั้งสามชนิดที่กลาวมานี้
สวนมากจะมีแถบภาคเหนือแตก็ไมมีทุกจังหวัด จะมีมากเปนบางจังหวัด และบุกทั้งสามชนิดจะมี
ลักษณะของลําตน ใบ หัว ที่คลายกันมากที่สุด หากไมสังเกตจะแยกไมออกวาบุกชนิดใดที่เปนบุก
ปา บุกชนิดใดที่เปนบุกเกลี้ยง และบุกเบือ
การถนอมอาหาร
        การถนอมอาหาร หมายถึง การทําใหอาหารอยูไดนานวัน รวมถึงการดัดแปลงหรือการแปร
รูปอาหารดวยกรรมวิธีตางๆ โดยอาหารนั้นจะไมสูญเสียคุณคาและอยูไดนาน
หลักเกณฑการถนอมอาหาร
1. ความสะอาดและการทําลายยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
2. เลือกวิธีการถนอมอาหารใหเหมาะสมกับชนิดของอาหาร
วิธีการถนอมอาหารมีหลายวิธี
1. การทําใหแหง โดยการตากแดด
2. การเชื่อม
3. การรมควัน
4. การกวน
5. การอบแหง
6. การแชอิ่ม และการบรรจุขวด
ประโยชนของการถนอมอาหาร
1. ชวยเก็บอาหารไวไดนานและมีอาหารไวรับประทานนอกฤดูกาล
2. ทําใหเกิดอาหารชนิดใหมขึ้น
3. ชวยเพิ่มรายไดใหแกตนเองและครอบครัว
บทที่ 3
                                วัสดุอุปกรณ และวิธีการดําเนินการ
วัสดุอุปกรณ
1. หัวบุกคอนขางแกจัด
2. เครื่องปน
3. กระปองหรือขาดโหลมีฝาปด
4. มีดปอก
5. ตะแกรงหรือเครื่องรอนแปง
6. ทัพพีหรือชอน
7. เขียง
8. เตาอบ
9. คีม
10. มีดหั่น
11. ถาดหรือกะละมัง
วิธีการดําเนินการ
1. เลือกหัวบุกที่มีลักษณะคอนขางแกจัดและหัวที่มีขนาดใหญพอสมควร
2. นําหัวบุกลางน้ําเพื่อใหดินที่ติดออกใหหมด
3. นําหัวบุกปอกเปลือก แลวนํามาหั่น หรือฝานใหมีขนาดความหนาเทาๆ กันเมื่อนําหัวบุกที่ผาน
ไปอบจะทําใหหัวบุกสุกและมีสีเสมอกัน
4. นําหัวบุกที่อบสุกแลวไปอบในเตาอบที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส และใชเวลาในการอบ
ประมาณ 10 นาที
5. นําหัวบุกที่อบสุกแลวไปตากแดดหรือปลอยทิ้งไวใหเย็นเพื่อใหหัวบุกกรอบ เมื่อนําไปปนจะทํา
ใหสะดวกและปนละเอียดเปนผงงายขึ้น
บทที่ 4
                                     ผลการศึกษาคนควา
           จากการทําโครงงานนี้ เมื่อนําหัวบุกมาแปรรูปเปนหัวบุกผง คณะผูจัดทําตองนําหัวบุกมา
ปอกเปลือก แลวนํามาหั่นหรือผานเปนชิ้นที่มีความหนาเทาๆ กัน หลังจากนั้นนําหัวบุกไปอบในเตา
ที่มีอุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส โดยใชเวลาในการอบ 10 นาที เมื่ออบสุกแลวนําหัวบุกไปตากแดด
อีกครั้งหนึ่ง

ตาราง แสดงผลการอบหัวบุก

 รายการ อุณหภูมิ(C •) เวลา (นาที)                   ผลของการอบ
 หัวบุก     100           10      หัวบุกจะมีสีขาวนวลหรือสีครีม เมื่อนําหัวบุกไปปน หัว
                                  บุกจะมีลักษณะเปนเม็ดเล็กๆ ไมละเอียดเทาที่ควร

                                         หัวบุกจะมีสีน้ําตาลออนๆ หรือสีออกเหลืองออนๆ เมื่อ
                150             10       นําหัวบุกไปปน หัวบุกจะมีลักษณะเปนผงละเอียดและ
                                         มีสีนารับประทาน

       จากตารางพบวา ในการอบหัวบุกเราตองใชอุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส โดยใชเวลา 10
นาทีจะไดหัวบุกที่มีสีน้ําตาลออนหรือสีเหลืองออน เมื่อนําไปปนแลวจะเปนผงละเอียดและมีสี
สวยงาม
บทที่ 5

                            สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

สรุปผล
         การนําหัวบุกดิบมาแปรรูปเปนผง โดยการใชเตาอบสามารถนําไปใชประโยชนไดหลาย
อยางเชน
1. สามารถเก็บหัวบุกไวไดเปนระยะเวลานาน
2. เปนการถนอมอาหารวิธีหนึ่ง เพราะในชวงฤดูฝนหัวบุกมีมากทําใหสูญเปลาประโยชน และอีก
ประการหนึ่งไมมีราคาและไมมีตลาดรับรอง
อภิปรายผล
         จากผลการคนควาและทดลอง จะเห็นไดวาหัวบุกสามารถนํามาแปรรูปเปนหัวบุกผง ซึ่งมี
รสชาติหอมอรอยเหมาะที่จะนําไปเปนสวนผสมของขนมหวาน เชน ขนมเปยกปูนขนมสอดไส
ขนมเทียนไสเค็ม ตะโก เม็ดขนุน หรือขนมบัวลอย และอาจนําไปเปนสวนผสมกับเครื่องดื่มเพื่อ
สุขภาพ
ประโยชนของโครงงาน
1. สามารถแปรรูปอาหาร และไดสูตรใหมซึ่งมีรสชาติอรอย
2. สามารถเก็บไวไดนาน และยังคงคุณคาของอาหารอยู
3. สามารถนําไปเปนสวนประกอบของขนมชนิดตางๆ ได
ขอเสนอแนะ
1. หัวบุกที่อบแหงไหมเกรียมไมควรนํามาทําเปนหัวบุกผง เพราะอาจจะทําใหมีรสขม
2. ในการอบหัวบุกควรปรับอุณหภูมิของเตาอบ หรืออาจจะลดเวลาที่ใชในการอบ (กรณีการหั่นบุก
อาจจะบางเกินไป
3. กรณีไมมีเตาอบอาจจะใชแสงแดดจากธรรมชาติในการทําใหแหง
4. การทําโครงงานครั้งตอไปอาจจะแปรรูปผักชนิดอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน
                                                              ที่มา : โครงงานเรื่องหัวบุกผง
                                จากโรงเรียนบานแมกื้ดหลวงกัญไชยมิตรภาพที่ 182 จังหวัดตาก
                                          ชนะการประกวดโครงงานครั้งที่ 2 ปการศึกษา 2544
ขอแนะนําสําหรับรับนักเรียนในการเลือกเรื่องที่จะทําโครงงาน
          การเรียนรูโดยกิจกรรมการทําโครงงาน เปนการสงเสริมใหนักเรียนไดแสดงความสามารถ
และพัฒนาตนเองไดอยางเต็มที่ โดยเปนไปตามธรรมชาติ ตามความถนัดและความสนใจ เนนใน
เรื่ อ งคุ ณ ธรรม และกระบวนการเรี ย นรู อ ย า งมี ขั้ น ตอน ทั้ ง ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ ตนเอง สั ง คม
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ศิลปวั ฒ นธรรม ภูมิป ญญาไทย ความรู และ
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย ความรู และทักษะ
ดานคณิตศาสตร ดานภาษา การประกอบอาชีพเพื่อใหสามารถนําไปใชในการดํารงชีวิตไดอยางมี
ความสุข การฝกทําโครงงาน เพื่อการเรียนรูที่เกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ ทั้งเปนการประสาน
ความรวมมือกับทุกฝายของชุมชน นักเรียนจะไดเรียนรูอยางมีความสุข เกิดการพัฒนาทั้งทางดาน
รางกาย สติปญญา อารมณและสังคมอยางสมบูรณ สามารถประเมินผลการเรียนรูควบคูไปกับการ
รวมกิจกรรมตามความเหมาะสมกับวัย และระดับความสามารถของนักเรียน
         ฉะนั้น เมื่อนักเรียนไดรวมกิจ กรรมการเรียนการสอนจากครูอาจารยผูสอนแลวนักเรียน
จะตองเปน ผูคิ ด กําหนดหัว ขอโครงงานที่จะศึก ษาคน ควาดําเนิน การวางแผนออกแบบ สํารวจ
ทดลอง ประดิษ ฐ เก็บรวบรวมขอมูล แปรผล สรุปผลและเสนอผลงานโดยตัว นัก เรียนเอง ครู
อาจารยจ ะเปน เพียงผูดูแลและใหคําปรึก ษาเทานั้น โครงการแรกที่นัก เรียน ไดทําและประสบ
ผลสําเร็จจะสรางความมั่นใจ และเปนแรงผลักดันใหนักเรียนทําโครงงานตางๆ ไปได นักเรียนจึง
ควรเลือกโครงงานที่เหมาะสมกับความรู ความสามารถของนักเรียนเอง ทั้งนี้เพราะการเริ่มตนดวย
ความสําเร็จยอมเปนการเริ่มตนที่ดีเสมอ จึงขอแนะนําใหนักเรียนทําโครงงานประเภทสํารวจกอน
โครงงานประเภททดลองและประเภทสิงประดิษฐ
                             ่
                                               บรรณานุกรม
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ . การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.1 .สํานักพิมพ บริษัทพัฒนา
คุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด ,กรุงเทพ, 2550.

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
Chok Ke
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้า
Thakorn Yimtae
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
Fon Edu Com-sci
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
Mam Chongruk
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้า
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 

Viewers also liked (6)

โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืชโครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Similar to ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
Noon Pattira
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
Kob Ying Ya
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
Pignoi Chimpong
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
Chok Ke
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Mam Chongruk
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
Ko Kung
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
JulPcc CR
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
Chok Ke
 

Similar to ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง (20)

ใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงานใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงาน
 
โครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนมโครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนม
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทายใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
 

More from kasetpcc

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
kasetpcc
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
kasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
kasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุง
kasetpcc
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
kasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
kasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
kasetpcc
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
kasetpcc
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
kasetpcc
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
kasetpcc
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
kasetpcc
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
kasetpcc
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
kasetpcc
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงาน
kasetpcc
 

More from kasetpcc (20)

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุง
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุง
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
Inno
InnoInno
Inno
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
1 ปก
1 ปก1 ปก
1 ปก
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงาน
 

ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง

  • 1. ตัวอยางโครงงานกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง บทที่ 1 บทนํา แนวคิด ที่มาและความสําคัญของโครงงาน จากการที่คณะผูจัดทําไดเห็นผูปกครองและชาวบานนําเอกหัวบุก ตนบุกมาประกอบอาหาร ไมวาจะเปนอาหารคาวและอาหารหวาน แตหัวบุกก็ยังมีเหลืออยูอีกมาก และไมสามารถเก็บไวได นาน ดังนั้นคณะผูจัดทําจึงมีความคิดและไดปรึกษากันวา ถาหากเรานําเอาหัวบุกที่มีอยูมาดัดแปลง หรือแปรรูปเปน “หัวบุกผง” ดวยกรรมวิธีงายๆ เพราะสามารถเก็บไวไดนานอีกทั้งยังคงคุณคาของ อาหารดานโภชนาการ เพือเปนการสะดวกที่จะนําไปใชไดหลายอยาง ่ วัตถุประสงค 1. เพื่อแปรรูปหรือดัดแปลงหัวบุกที่มีอยูในทองถิ่นใหเกิดประโยชนสูงสุด 2. เพื่อสามารถเปนการประหยัดรายจายและเปนอาชีพเสริมของตนเองและครอบครัวได ผลที่คาดวาจะไดรับ 1.ไดหัวบุกผงนําไปดัดแปลงเปนอาหารและของขบเคี่ยวตางๆ 2. เปนการประหยัดรายจายและเปนการประหยัดเวลา 3. เปนแนวทางในการทํากิจกรรมเสริมตามโครงการเสริมรายไดระหวางเรียน 4. สงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค 5. รูจักการนําวัสดุที่มีอยูในทองถิ่นมาใชใหเกิดประโยชนและรูจักการแปรรูปอาหาร ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรตน หัวบุก 2. ตัวแปรตาม หัวบุกผง 3. ตัวแปรควบคุม ความแกของหัวบุก อุณหภูมิ เวลา
  • 2. สมมติฐานในการศึกษา นําหัวบุกที่อบสุกแลวไปตากใหแหง แลวนําไปปนใหละเอียดเปนผง สามารถนําไปเปน สวนผสมของอาหารหวานและของขบเคี้ยวหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพได คํานิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ การอบ หมายถึง การทําใหสุกและสามารถนําไปรับประทานได อุณหภูมิ หมายถึง การทําใหละเอียดเปนผงโดยใชเครื่องปน บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวของ ในการจัดทําโครงงานกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี คณะผูจัดทําได ศึกษาคุณสมบัติของหัวบุกประกอบการคิดคนทดลองดังตอไปนี้ ลักษณะของบุก บุกเปนพืชลมลุกชนิดหนึ่ง มีลําตนแตกตางกันออกไป บางตนสูงใหญ บางตนเล็ก ลําตนจะ เปนสีขาวนวลและมีสีเขียวสลับกัน จะมีมากในฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายน-เดือนตุลาคมจากนั้น ลําตนจะคอยๆ เหี่ยวและแหงแตใตดินจะมีหัวบุกอยู ซึ่งหัวบุกนี้จะมีอายุแกเต็มที่ประมาณเดือน ธันวาคม-เดือนกุมภาพันธ ตนบุกแบงออกเปน 3 ชนิดดวยกันและแตละชนิดจะมีลักษณะที่แตกตาง กันออกไป ดังนี้ 1.บุกหนามหรือบุกปา ลักษณะของบุกชนิดนี้ลําตนจะมีหนามเล็กๆ ทั่วลําตนและมียางซึ่งยางของ บุกเมื่อถูกหรือจับจะมีอาการคัน บุกชนิดนี้สวนมากจะนํามาเปนอาหารของสัตวคือ หมูและดอก ของบุกชนิดนี้นํามาประกอบหรือเปนสวนผสมของน้ําพริกมะกอกได 2. บุกเกลี้ยง ลักษณะของบุกชนิดนี้ลําตนจะเหมือนกันกับบุกหนามแตจะผิดกันตรงลําตนไมมี หนาม แตจะมียางลักษณะเดียวกันกับบุกหนาม เมื่อถูกหรือจับยางจะมีอาการคัน บุกชนิดนี้สามารถ นํามาทําเปนอาหารไดทั้งคนและสัตว หรือที่นํามาแปรรูปสกัดเปนบุกคอนยัคกี้ 3.บุกเบือ ลักษณะของบุกชนิดนี้ลําตนจะมีลักษณะเดนคือ ไมมีหนามและจะมีสีเขียวกับสีขาวนวลที่ เจือจางกวาบุกทั้งสองชนิดที่กลาวมา บุกชนิดนี้จะนิยมปลูกกันตามบานเพราะจะใชเปนอาหารได ตั้งแตตนออนจนถึงตนที่แก สามารถนํามาแกงสมหรือแกงเหลือง และหัวบุกยังสามารถนํามา
  • 3. ประกอบเปนอาหารหวาน อาหารคาว และของขบเคี้ยวไดอีกดวยบุกทั้งสามชนิดที่กลาวมานี้ สวนมากจะมีแถบภาคเหนือแตก็ไมมีทุกจังหวัด จะมีมากเปนบางจังหวัด และบุกทั้งสามชนิดจะมี ลักษณะของลําตน ใบ หัว ที่คลายกันมากที่สุด หากไมสังเกตจะแยกไมออกวาบุกชนิดใดที่เปนบุก ปา บุกชนิดใดที่เปนบุกเกลี้ยง และบุกเบือ การถนอมอาหาร การถนอมอาหาร หมายถึง การทําใหอาหารอยูไดนานวัน รวมถึงการดัดแปลงหรือการแปร รูปอาหารดวยกรรมวิธีตางๆ โดยอาหารนั้นจะไมสูญเสียคุณคาและอยูไดนาน หลักเกณฑการถนอมอาหาร 1. ความสะอาดและการทําลายยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรค 2. เลือกวิธีการถนอมอาหารใหเหมาะสมกับชนิดของอาหาร วิธีการถนอมอาหารมีหลายวิธี 1. การทําใหแหง โดยการตากแดด 2. การเชื่อม 3. การรมควัน 4. การกวน 5. การอบแหง 6. การแชอิ่ม และการบรรจุขวด ประโยชนของการถนอมอาหาร 1. ชวยเก็บอาหารไวไดนานและมีอาหารไวรับประทานนอกฤดูกาล 2. ทําใหเกิดอาหารชนิดใหมขึ้น 3. ชวยเพิ่มรายไดใหแกตนเองและครอบครัว
  • 4. บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ และวิธีการดําเนินการ วัสดุอุปกรณ 1. หัวบุกคอนขางแกจัด 2. เครื่องปน 3. กระปองหรือขาดโหลมีฝาปด 4. มีดปอก 5. ตะแกรงหรือเครื่องรอนแปง 6. ทัพพีหรือชอน 7. เขียง 8. เตาอบ 9. คีม 10. มีดหั่น 11. ถาดหรือกะละมัง วิธีการดําเนินการ 1. เลือกหัวบุกที่มีลักษณะคอนขางแกจัดและหัวที่มีขนาดใหญพอสมควร 2. นําหัวบุกลางน้ําเพื่อใหดินที่ติดออกใหหมด 3. นําหัวบุกปอกเปลือก แลวนํามาหั่น หรือฝานใหมีขนาดความหนาเทาๆ กันเมื่อนําหัวบุกที่ผาน ไปอบจะทําใหหัวบุกสุกและมีสีเสมอกัน 4. นําหัวบุกที่อบสุกแลวไปอบในเตาอบที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส และใชเวลาในการอบ ประมาณ 10 นาที 5. นําหัวบุกที่อบสุกแลวไปตากแดดหรือปลอยทิ้งไวใหเย็นเพื่อใหหัวบุกกรอบ เมื่อนําไปปนจะทํา ใหสะดวกและปนละเอียดเปนผงงายขึ้น
  • 5. บทที่ 4 ผลการศึกษาคนควา จากการทําโครงงานนี้ เมื่อนําหัวบุกมาแปรรูปเปนหัวบุกผง คณะผูจัดทําตองนําหัวบุกมา ปอกเปลือก แลวนํามาหั่นหรือผานเปนชิ้นที่มีความหนาเทาๆ กัน หลังจากนั้นนําหัวบุกไปอบในเตา ที่มีอุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส โดยใชเวลาในการอบ 10 นาที เมื่ออบสุกแลวนําหัวบุกไปตากแดด อีกครั้งหนึ่ง ตาราง แสดงผลการอบหัวบุก รายการ อุณหภูมิ(C •) เวลา (นาที) ผลของการอบ หัวบุก 100 10 หัวบุกจะมีสีขาวนวลหรือสีครีม เมื่อนําหัวบุกไปปน หัว บุกจะมีลักษณะเปนเม็ดเล็กๆ ไมละเอียดเทาที่ควร หัวบุกจะมีสีน้ําตาลออนๆ หรือสีออกเหลืองออนๆ เมื่อ 150 10 นําหัวบุกไปปน หัวบุกจะมีลักษณะเปนผงละเอียดและ มีสีนารับประทาน จากตารางพบวา ในการอบหัวบุกเราตองใชอุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส โดยใชเวลา 10 นาทีจะไดหัวบุกที่มีสีน้ําตาลออนหรือสีเหลืองออน เมื่อนําไปปนแลวจะเปนผงละเอียดและมีสี สวยงาม
  • 6. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรุปผล การนําหัวบุกดิบมาแปรรูปเปนผง โดยการใชเตาอบสามารถนําไปใชประโยชนไดหลาย อยางเชน 1. สามารถเก็บหัวบุกไวไดเปนระยะเวลานาน 2. เปนการถนอมอาหารวิธีหนึ่ง เพราะในชวงฤดูฝนหัวบุกมีมากทําใหสูญเปลาประโยชน และอีก ประการหนึ่งไมมีราคาและไมมีตลาดรับรอง อภิปรายผล จากผลการคนควาและทดลอง จะเห็นไดวาหัวบุกสามารถนํามาแปรรูปเปนหัวบุกผง ซึ่งมี รสชาติหอมอรอยเหมาะที่จะนําไปเปนสวนผสมของขนมหวาน เชน ขนมเปยกปูนขนมสอดไส ขนมเทียนไสเค็ม ตะโก เม็ดขนุน หรือขนมบัวลอย และอาจนําไปเปนสวนผสมกับเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ ประโยชนของโครงงาน 1. สามารถแปรรูปอาหาร และไดสูตรใหมซึ่งมีรสชาติอรอย 2. สามารถเก็บไวไดนาน และยังคงคุณคาของอาหารอยู 3. สามารถนําไปเปนสวนประกอบของขนมชนิดตางๆ ได ขอเสนอแนะ 1. หัวบุกที่อบแหงไหมเกรียมไมควรนํามาทําเปนหัวบุกผง เพราะอาจจะทําใหมีรสขม 2. ในการอบหัวบุกควรปรับอุณหภูมิของเตาอบ หรืออาจจะลดเวลาที่ใชในการอบ (กรณีการหั่นบุก อาจจะบางเกินไป 3. กรณีไมมีเตาอบอาจจะใชแสงแดดจากธรรมชาติในการทําใหแหง 4. การทําโครงงานครั้งตอไปอาจจะแปรรูปผักชนิดอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน ที่มา : โครงงานเรื่องหัวบุกผง จากโรงเรียนบานแมกื้ดหลวงกัญไชยมิตรภาพที่ 182 จังหวัดตาก ชนะการประกวดโครงงานครั้งที่ 2 ปการศึกษา 2544
  • 7. ขอแนะนําสําหรับรับนักเรียนในการเลือกเรื่องที่จะทําโครงงาน การเรียนรูโดยกิจกรรมการทําโครงงาน เปนการสงเสริมใหนักเรียนไดแสดงความสามารถ และพัฒนาตนเองไดอยางเต็มที่ โดยเปนไปตามธรรมชาติ ตามความถนัดและความสนใจ เนนใน เรื่ อ งคุ ณ ธรรม และกระบวนการเรี ย นรู อ ย า งมี ขั้ น ตอน ทั้ ง ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ ตนเอง สั ง คม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ศิลปวั ฒ นธรรม ภูมิป ญญาไทย ความรู และ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย ความรู และทักษะ ดานคณิตศาสตร ดานภาษา การประกอบอาชีพเพื่อใหสามารถนําไปใชในการดํารงชีวิตไดอยางมี ความสุข การฝกทําโครงงาน เพื่อการเรียนรูที่เกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ ทั้งเปนการประสาน ความรวมมือกับทุกฝายของชุมชน นักเรียนจะไดเรียนรูอยางมีความสุข เกิดการพัฒนาทั้งทางดาน รางกาย สติปญญา อารมณและสังคมอยางสมบูรณ สามารถประเมินผลการเรียนรูควบคูไปกับการ รวมกิจกรรมตามความเหมาะสมกับวัย และระดับความสามารถของนักเรียน ฉะนั้น เมื่อนักเรียนไดรวมกิจ กรรมการเรียนการสอนจากครูอาจารยผูสอนแลวนักเรียน จะตองเปน ผูคิ ด กําหนดหัว ขอโครงงานที่จะศึก ษาคน ควาดําเนิน การวางแผนออกแบบ สํารวจ ทดลอง ประดิษ ฐ เก็บรวบรวมขอมูล แปรผล สรุปผลและเสนอผลงานโดยตัว นัก เรียนเอง ครู อาจารยจ ะเปน เพียงผูดูแลและใหคําปรึก ษาเทานั้น โครงการแรกที่นัก เรียน ไดทําและประสบ ผลสําเร็จจะสรางความมั่นใจ และเปนแรงผลักดันใหนักเรียนทําโครงงานตางๆ ไปได นักเรียนจึง ควรเลือกโครงงานที่เหมาะสมกับความรู ความสามารถของนักเรียนเอง ทั้งนี้เพราะการเริ่มตนดวย ความสําเร็จยอมเปนการเริ่มตนที่ดีเสมอ จึงขอแนะนําใหนักเรียนทําโครงงานประเภทสํารวจกอน โครงงานประเภททดลองและประเภทสิงประดิษฐ ่ บรรณานุกรม สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ . การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.1 .สํานักพิมพ บริษัทพัฒนา คุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด ,กรุงเทพ, 2550.