SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 46
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เครือข่ายอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
18/11/2553
Natural hazard
+
Lack of appropriate
emergency management
=
Natural Disaster
การทางานของภาครัฐ
• ภาครัฐแต่ละหน่วยงานล้วนทาอย่างเต็มที่เต็มกาลังแล้ว
• ทุกแห่งในโลกนี้ภาครัฐไม่สามารถเตรียมทรัพยากรรอไว้
รับมือภัยพิบัติขนาดใหญ่ได้ เนื่องจากจะเป็นการสูญเปล่า
หากไม่เกิดภัยพิบัติเป็นเวลานานๆ ของบางอย่างที่เตรียมไว้
อาจไม่อยู่ในสภาพใช้งานได้หรือหมดอายุการใช้งาน
• การบูรณาการงานกับภาคประชาชนและภาคเอกชนที่มี
อยู่ในรัฐนั้นๆจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง
ผ
• คณะทางานควรมองเรื่อง “ภัยพิบัติ” ทั้งหมด
ไม่เพียงแค่ อุทกภัย
• อุทกภัย, วาตภัย, ภัยหนาว, ภัยแล้ง,
แผ่นดินไหว, สึนามิ
• ภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษย์
Human-made Disaster
• Sociological hazards
– War - Terrorism - Civil disorder (Riot) – Crime
• Technological hazards
– Industrial hazards - Structural collapse
– Power outage – Fire
– Hazardous materials - Transportation
เครือข่ายอาสาช่วยผู้ประสบภัยพิบัติภาคประชาชน
เป็นเรื่องสาคัญที่ควรมีการก่อตั้ง
เป็นเครือข่ายทางสังคมในการจัดการปัญหาภัยพิบัติ
ที่มีการบริหารจัดการโดยประชาชนเพื่อประชาชน
อย่างมีส่วนร่วมตั้งแต่การร่วมออกแบบ ร่วมกาหนด
ร่วมคิด ร่วมช่วยเหลือ ก้าวข้ามสี
พลิกวิกฤตเป็นโอกาส
การทางานที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
• จากเดิมแต่ละฝ่ายได้ทุ่มเททางานในแต่ละภาคส่วนมาก่อนแล้ว แตะมือ
ประสาน และทวีพลังจากการประสานหน้างานและหลังบ้าน
• เริ่มจากเล็กและขยายตัวไปแบบระบบเปิดเครือข่ายใยแมงมุม ใช้
ช่องทางสื่อสารต่างๆ ในการหาคนอาสาเข้ามาเปลี่ยนไม้เสริมทีม
• เตรียมรองรับพันธกิจช่วยเหลือและฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัยน้าท่วม
• เตรียมกระบวนการจัดการความรู้และการจัดการเครือข่ายเพื่อพัฒนา
โครงสร้างอาสาสมัครจัดการภัยพิบัติภาคประชาชน อย่างเป็นระบบ
ต่อไป เพื่อเตรียมรับมือกับภัยพิบัติที่เพิ่มทวีมากขึ้นในประเทศไทยและ
ในโลก
• ประมวลและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย ต่อการพัฒนาระบบจัดการภัย
พิบัติของภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
บทบาทหน้าที่เครือข่ายอาสาช่วยผู้ประสบภัยพิบัติ
• แบ่งเป็น 4 ยุทธศาสตร์งาน
ระดับ
บรรเทาทุกข์
ระดับ
การจัดการ
ระดับ
ฟื้นฟู
เยียวยา
เร่งด่วนในภาวะประสบภัย ปรับสภาพกลับสู่ปกติหลังภาวะประสบภัย
ระดับ
ผลักดัน
นโยบาย
เน้นช่วยเหลือ
บรรเทาทุกข์
เน้นสร้างการเรียนรู้จัดการตนเอง
โดยเครือข่ายสนับสนุน เติมเต็ม เชื่อมประสาน
ระดับบรรเทาทุกข์: งานเร่งด่วน (1/2)
• ปฏิบัติการศูนย์ข้อมูล Thaiflood.com
– เป็นศูนย์รวมข้อมูลรอบด้านเกี่ยวกับ ภัยพิบัติ (จุดเดือดร้อน ชื่อผู้ติดต่อ เบอร์
ความต้องการ ฯลฯ)
• ปฏิบัติการเครือข่ายเฝ้ าระวัง/ แจ้งข่าว
– Call Center ภาคประชาชน เชื่อมงานกับทุกภาคส่วนไม่ทาซ้าซ้อน
– Frontline sms เชื่อมกับผู้ให้บริการทุกระบบ
– Social Networking - เครือข่ายชุมชน
ระดับ
บรรเทาทุกข์
ระดับ
การจัดการ
ระดับ
ฟื้นฟู
เยียวยา
ระดับ
ผลักดัน
นโยบาย
ระดับบรรเทาทุกข์ : งานเร่งด่วน (2/2)
• ปฏิบัติการรับบริจาคและรับความช่วยเหลือรอบด้าน
– การตั้งจุดรับบริจาคทั้งสิ่งของเครื่องใช้และเงิน
– บัญชีสาหรับรับบริจาค (ซึ่งก็ต้องมาย่อยอีกว่าจะใช้ระบบบริหาร จัดการบัญชี
กันอย่างไร)
• ปฏิบัติการอาสาแนวหน้า - ทีมอาสาใจสู้ทั้งหลายที่จะลงไปช่วยเหลือ
ตาม จุดต่างๆ
ระดับ
บรรเทาทุกข์
ระดับ
การจัดการ
ระดับ
ฟื้นฟู
เยียวยา
ระดับ
ผลักดัน
นโยบาย
งานเร่งด่วนเบื้องต้น (1/2)
• เพิ่มการระดมทุนและบริหารจัดการทรัพยากรในส่วนที่มีความต้องการ
สูงและขาดแคลน เช่น ประสานอาชีวศึกษา ภาคธุรกิจ ผู้มีจิตสาธารณะ
ทั่วไป
• การระดมอาสาสมัครประชาชนที่เข้ามาช่วยงานในทุกภาคส่วน
• เร่งจัดการความรู้และสื่อสารความรู้ที่จาเป็นสาหรับการพึ่งตนเอง
ของผู้ประสบภัย ในช่องทางสื่อต่างๆ
• เตรียมอาสาสมัครและสนับสนุนการฟื้นฟู เช่น จัดค่ายฟื้นฟู พัฒนา
ชุมชนภัยพิบัติ รถน้าในการชะล้าง นักศึกษาอาชีวะในการซ่อมแซม
เครื่องจักรและอุปกรณ์ไฟฟ้ า อุปกรณ์ซ่อมแซมบ้านราคาถูกฯ
งานเร่งด่วนเบื้องต้น (2/2)
• รวบรวมและประสานข้อมูลความต้องการความช่วยเหลือให้เข้ากับผู้ที่
ต้องการช่วยเหลือให้ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพที่สุด
• เชื่อมประสาน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารของแต่ละเครือข่ายว่าใครทา
อะไรที่ไหน วางแผนร่วมในเรื่องเร่งด่วนเพื่อไม่ให้ซ้าซ้อนแต่เกื้อกูลกัน
และการวางแผนงานในระยะยาว
• สถานการณ์อุทกภัยในครั้งนี้ยืดเยื้อ จึงจาเป็นต้องมีการสับเปลี่ยนกาลัง
ในพื้นที่ ต้องมีการสื่อสารหาอาสาสมัครลงพื้นที่เพิ่มเติม
ประเด็นสาคัญ (1/2)
• ควรใช้บทเรียนจากสึนามิในการเยียวยาฟื้นฟูปัญหาในครั้งนี้
• ควรมีการจัดตั้งศูนย์ให้ความช่วยเหลือกระจายตามพื้นที่ ซึ่งทีมหมอ
อนามัยรับจะช่วยประสาน อสม. ที่กระจายอยู่ทุกพื้นที่ให้ร่วมเป็น
เครือข่ายจัดการในภาคประชาชน ร่วมกับเครือข่ายอื่นๆ
• น่าจะให้ความช่วยเหลือไปยังกลุ่มคนที่ไม่มีทะเบียนด้วย เนื่องจาก
ความช่วยเหลือมักเกิดขึ้นเฉพาะผู้ที่อยู่ในรายชื่อ คนที่มีสิทธิ์เลือกตั้ง
เท่านั้น ส่วนคนที่ไม่มีชื่อไม่มีสิทธิรับถุงยังชีพหรือของอื่นๆ ในส่วนนี้ทาง
หมออนามัยแจ้งว่า สถานีอนามัยจะมีชื่อประชาชนในพื้นที่จริงทั้งมีและ
ไม่มีทะเบียน
ประเด็นสาคัญ (2/2)
• น่าจะมีการทาบัญชีเงินบริจาค มีการกากับควบคุมที่โปร่งใส
สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริจาค โดยจะมีการทาบัญชีขึ้นเวปไซต์
ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการปกป้ องคนทางานอีกด้วย
• เสนอให้สานักนายกฯออกระเบียบห้ามข้าราชการ และนักการเมือง
ฉกฉวยโอกาสจากวิกฤตครั้งนี้ในการหาเสียงประชาสัมพันธ์
ตัวเองด้วยเงินภาษีหรือเงินและสิ่งของบริจาคของประชาชน
• ตั้งศูนย์คลังสมองวิชาการและพื้นที่ ประชุมเรื่องข้อมูลเชื่อมกับข้อมูล
ปลายทาง วิเคราะห์ดูว่าใครเป็นผู้นาในภาวะวิกฤตตัวจริง ข้ามพ้น
หน่วยงานราชการกับการเมือง เจาะลงไปที่การป้ องกันและการแก้ไขใน
ระดับพื้นที่โดยตรง
ระดับการจัดการ : งานจัดการ (หลังภาวะประสบภัย)
• เป็นระดับของการทางานหลังน้าลดแล้ว
• จัดการเรื่องบ้านที่อยู่อาศัย อาชีพ เงินช่วยเหลือ
• ให้เงินเปล่าแบบช่วยเหลือ และใช้เงินสมทบผ่านการให้ทุนโครงการ
ระดับ
บรรเทาทุกข์
ระดับ
การจัดการ
ระดับ
ฟื้นฟู
เยียวยา
ระดับ
ผลักดัน
นโยบาย
การจัดการเรื่องที่อยู่อาศัย (1/2)
• กระบวนการซ่อมแซม ต่อเติม สร้างใหม่ตามลักษณะความเดือดร้อน
แบ่งระดับเป็นตั้งแต่ซ่อมแซมบางส่วน ซ่อมแซมทั้งหลัง สร้างใหม่ (หรือ
อาจจะมีมากกว่านี้ยึดตามความเดือดร้อนที่เป็น)
• สามารถประสานกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(องค์การมหาชน) หรือ
พอช. ที่มีฐานองค์กรชุมชนฐานใหญ่ หรือขบวนชาวบ้านที่ทางานใน
ลักษณะ “ช่างชุมชน” เข้ามาจัดการได้ หรือกลุ่มสถาปนิกคนรุ่นใหม่ ที่มี
ใจอาสา (ในกรณีที่บ้านเรือนเสียหายมาก รอเวลา รอทากระบวนการไม่
ไหว จาเป็นเร่งด่วนต้องสร้าง)
การจัดการเรื่องที่อยู่อาศัย (2/2)
• ในกรณีที่พื้นที่นั้นๆ ไม่ประสบปัญหาบ้านเรือนเสียหายมากนัก ก็ให้
การจัดการที่อยู่อาศัยเกิดขึ้นโดยกลไกของระดับพื้นที่ โดยเริ่มจาก
สารวจข้อมูลความเสียหายของบ้านเรือน (ในขอบข่ายพื้นที่ชุมชน/ พื้นที่
หมู่บ้าน ฯลฯ) ให้พื้นที่นั้นๆ จัดทาแผนการซ่อมแซมแผนการ
จัดการที่อยู่อาศัยเพื่อขอดาเนินการเอง โดยมีกลไกในชุมชน
แสดงให้เห็นชัดเจน ซึ่งในข้อนี้อาจไปเชื่อมกับการทางานในลักษณะ
สภาองค์กรชุมชน เครือข่ายสุขภาพตาบล เครือข่ายสวัสดิการชุมชน
ฯลฯ มองไปที่กลุ่มดั้งเดิมของชุมชนที่มีศักยภาพทางานพัฒนาอยู่แล้ว
ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ
การจัดการอาชีพ การทากิน (1/2)
• การจัดการขั้นนี้มองได้สามมิติ
• อาชีพเดิมเสียหาย และจะกลับมาทาอาชีพเดิม โดยอาจมองเป็นกรณี
รายบุคคล รายหัว รายครัวเรือน ที่จะเสนอขอรับงบในการช่วยเรื่อง
อาชีพ
• อาชีพเดิมสูญสลายและอยากสร้างอาชีพใหม่ สร้างการเรียนรู้อบรม
อาชีพและสนับสนุนงบปรระมาณ
• ส่งเสริมอาชีพในระดับชุมชน เช่น ภาพชุมชนเกษตรกร หากทั้งชุมชนนั้น
ตาบลนั้นเผชิญภัยพิบัติ ก็ให้ชุมชนนั้นเสนอแผนการแก้ไขในระดับ
ตาบล ระดับชุมชน หรือระดับจังหวัด
การจัดการอาชีพ การทากิน (2/3)
• ดูครอบคลุมตั้งแต่ข้าวของ อุปกรณ์ทามาหากิน ที่ทางการทากิน
วัตถุดิบ โดยแบ่งเป็นประเภทของอาชีพให้ชัด เช่น ภาคเกษตรกรรม
(เรือกสวนไร่นา ฯลฯ) ภาคบริการ(ค้าขาย แม่ค้า พ่อค้า ฯลฯ) อื่นๆ
• คณะทางานต้องทาหน้าที่เป็นกลไกในการประสานงานกับพ่อค้าคน
กลาง หรือบริษัทรายใหญ่ให้เข้ามาช่วยเหลือในการจาหน่ายราคา
ย่อมเยาว์ เช่น บริษัทผลิตปุ๋ ย โรงสี รวมทั้งเชื่อม ธกส. พัฒนาชุมชน
เกษตรอาเภอผ่านกลไกท้องถิ่น เพื่อให้เข้ามาช่วยงาน
การจัดการอาชีพ การทากิน (3/3)
• แต่ละพื้นที่ มีข่ายแกนนาชุมชน หรือมีเรื่องประชาคมอยู่แล้ว จึงควร
ทางานผ่านฐานนี้เพื่อให้ชาวบ้านสามารถจัดการปัญหาได้ด้วยตัวเอง
โดยมีเครือข่ายทาหน้าที่ตัวกลางเชื่อมศักยภาพต่างๆ เมื่อแผนจาก
ชาวบ้านต้องการอะไร ทีมทางานในเรื่องนี้ของเครือข่ายก็ควรจะ
เชื่อมต่อหรือประสานให้เกิดกลไกที่จะลงไปสนับสนุนชุมชนในการ
จัดการได้
การจัดการพื้นที่ส่วนกลาง
• มองถึงพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบแต่ไม่ใช่ประชาชน เช่น ศาสนสถาน
โบราณสถาน วัดวาอาราม โรงเรียน (สิ่งที่มีนัยยะของ การเป็นสมบัติ
ส่วนรวม การซ่อมแซมฟื้นฟูสร้างใหม่ก็ว่าตามความเดือดร้อน )
• เน้นในแง่การจัดการด้วยชุมชนและเน้นการพึ่งพา เพราะการซ่อมแซม
หรือการปรับปรุงนั้นจะเกิดจากการทาแผนเสนอจากชุมชน จากพื้นที่ว่า
ต้องการจะทาอะไร และการดาเนินการต้องเกิดโดยชุมชนร่วมคิด ร่วม
ทา ร่วมปรับปรุง
ระดับ
บรรเทาทุกข์
ระดับ
การจัดการ
ระดับ
ฟื้นฟู
เยียวยา
ระดับ
ผลักดัน
นโยบาย
การจัดการระบบสาธารณภัยชุมชน/ พื้นที่/ ท้องถิ่น
• ควรมองเรื่องการใช้งบให้เกิดการจัดการระบบอย่างจริงจังด้วย เพราะ
ไม่เช่นนั้น วันหน้าก็อาจเกิดซ้ารอย
• มองการไปเชื่อมโยงการทางานกับ อบต. ท้องถิ่น ราชการ นักวิชาการ
ในการร่วมกาหนด ร่วมดู หรือจะให้ดี ชุมชน(ในนัยยะชาวบ้านในพื้นที่
นั้น โซนนั้น ท้องถิ่นนั้น รวมตัวกันและเสนอวิธีการจัดการสาธารณภัย
ของชุมชน บนฐานความรู้ชุมชน บนฐานความรู้อะไรก็พิจารณาเป็น
เรื่องๆ รายประเด็น เช่น ขยายคันคลอง ปรับพื้นที่เปิดทางไหลของน้า
ฯลฯ)
ระดับ
บรรเทาทุกข์
ระดับ
การจัดการ
ระดับ
ฟื้นฟู
เยียวยา
ระดับ
ผลักดัน
นโยบาย
การจัดการระบบสาธารณภัยชุมชน/ พื้นที่/ ท้องถิ่น
• ควรมองเรื่องการใช้งบให้เกิดการจัดการระบบอย่างจริงจังด้วย เพราะ
ไม่เช่นนั้น วันหน้าก็อาจเกิดซ้ารอย
• มองการไปเชื่อมโยงการทางานกับ อบต. ท้องถิ่น ราชการ นักวิชาการ
ในการร่วมกาหนด ร่วมดู หรือจะให้ดี ชุมชน(ในนัยยะชาวบ้านในพื้นที่
นั้น โซนนั้น ท้องถิ่นนั้น รวมตัวกันและเสนอวิธีการจัดการสาธารณภัย
ของชุมชน บนฐานความรู้ชุมชน บนฐานความรู้อะไรก็พิจารณาเป็น
เรื่องๆ รายประเด็น เช่น ขยายคันคลอง ปรับพื้นที่เปิดทางไหลของน้า
ฯลฯ)
ระดับ
บรรเทาทุกข์
ระดับ
การจัดการ
ระดับ
ฟื้นฟู
เยียวยา
ระดับ
ผลักดัน
นโยบาย
การจัดการระบบสาธารณภัยชุมชน/พื้นที่/ท้องถิ่น (1/2)
• ควรมองเรื่องการใช้งบให้เกิดการจัดการระบบอย่างจริงจังด้วย เพราะ
ไม่เช่นนั้น วันหน้าก็อาจเกิดซ้ารอย
• มองการไปเชื่อมโยงการทางานกับ อบต. ท้องถิ่น ราชการ นักวิชาการ
ในการร่วมกาหนด ร่วมดู หรือจะให้ดี ชุมชน(ในนัยยะชาวบ้านในพื้นที่
นั้น โซนนั้น ท้องถิ่นนั้น รวมตัวกันและเสนอวิธีการจัดการสาธารณภัย
ของชุมชน บนฐานความรู้ชุมชน บนฐานความรู้อะไรก็พิจารณาเป็น
เรื่องๆ รายประเด็น เช่น ขยายคันคลอง ปรับพื้นที่เปิดทางไหลของน้า
ฯลฯ)
การจัดการระบบสาธารณภัยชุมชน/พื้นที่/ท้องถิ่น (2/2)
• เป็นงานบนฐานพื้นที่ ฐานชุมชน ท้องถิ่น กระบวนใดๆ จะเกิดบน
ฐานความรู้ชุมชน เช่น การจัดการระบบสาธารณภัยชุมชน อาจเป็น
การฟื้นเอาองค์ความรู้ชุมชนเข้ามาปรับใช้ อย่างภาคเหนืออาจเป็นการ
ฟื้นระบบเหมืองฝายขึ้นมา เป็นต้น ส่วนการฟื้นฟูเยียวยานั้น ก็ควร
เกิดขึ้นบนฐานชุมชน เช่น อสม. อผส. อปพร. พระสงฆ์ ปราชญ์ชุมชน
ผู้เฒ่าผู้แก่ ที่จะเป็นแกนกลางในการเรียกขวัญกาลังใจ หรืออาจมองถึง
ประเพณีพิธีกรรม วัฒนธรรรม (เรียกว่าเอาคนทางานชุมชนอยู่แล้วมา
เป็นแกนในการฟื้นฟู)
ระดับฟื้นฟู เยียวยา (1/2)
• หลังจากทุกอย่างเข้าที่เข้าทางแล้ว บ้านจัดการแล้ว อาชีพเครืองไม้
เครื่องมือมาแล้ว
• ฟื้นฟูทั้งในแง่สภาพ ร่างกายและสภาพจิตใจ
• เน้นงานสสส. "ชุมชนสุขภาวะ" โดยมองภาพในลักษณะการจัดการเชิง
นามธรรม เช่น การสร้างชุมชนใหม่ การปรับสภาพจิตใจ สุขภาพจิต
การฟื้นฟูวิถีวัฒนธรรมชุมชน
ระดับฟื้นฟู เยียวยา (2/2)
• ออกแบบกระบวนการคืนสู่สังคม อย่าให้ผู้ประสบภัยต้องจมอยู่กับ
ฝันร้ายไปนาน เช่น ให้งบอุดหนุน, ให้ทุน, กิจกรรมดีๆกับคนรุ่น
ใหม่จิตอาสา
• อุดหนุนงบให้คนอาสาใจดีๆ ทั้งหลายลงไปทางาน ออกแบบ
โครงการ กิจกรรมที่ตรงกับยุทธศาสตร์ ให้ ชุมชน/ พื้นที่ ได้ประโยชน์ คน
อาสาได้โอกาส คนให้ทุนได้เกิดกระบวนแก้ปัญหาอย่างบูรณาการและมี
ส่วนร่วม
โครงสร้างการทางานของเครือข่ายรับภัยน้าท่วม
• ประสานคณะทางานเครือข่ายภาคประชาชน หนุนเสริมกลุ่มคน หรือ
เครือข่ายที่ทางานดีอยู่แล้ว เพื่อเชื่อมประสานและทวีพลังโดย
คานึงถึงภารกิจที่ต้องจัดการ
• โครงสร้างทีมงาน จะต้องสอดคล้อง ล้อไปกับหน้างานของแต่ละ
ยุทธศาสตร์ เช่น ทีมประสานงาน, เครือข่ายผู้ปฏิบัติการ, เครือข่ายรับ
บริจาคและจัดการสิ่งของช่วยเหลือ, ทีมวิชาการ และข้อมูล, เครือข่าย
สื่อมวลชน, ตัวแทนจากผู้ประสบภัย, เครือข่ายประกอบการภาคเอกชน
(CSR Network)
• สนับสนุนให้เกิดกระบวนการจิตอาสาดีๆ โดยสนับสนุนงบพอสมควร
สมน้าสมเนื้อและเปิดพื้นที่สร้างสรรค์เชิงบวกให้คนอาสา ได้เสนอ
ไอเดีย เสนอความคิดเห็นสร้างพลังนาสู่การเปลี่ยนแปลง
เครือข่าย เป็นใยแมงมุม เชื่อมกันได้ตรงอย่างอิสระ
วิ่งมารวมกันได้ยามต้องการ
ไม่มีองค์กรแกนกลาง
สมาชิกของเครือข่ายมีได้ทั้งกลุ่มบุคคล, องค์กร,ศูนย์ ฯลฯ
เครือข่ายที่มีผู้ประสบภัยเป็นศูนย์กลาง
• ติดต่อกันเองได้อย่างอิสระ
• ขับเคลื่อนบนหน้างาน
ของแต่ละคน
• ประสานงานและข้อมูลต่อเนื่อง
• มีมนุษย์“เส้นรอบวง”
คอยวิ่งบริการจุดต่างๆ
Crisis Camp Thailand
• เป็นพื้นที่ส่วนกลางที่ให้คนมาแชร์กันใช้ ทางานร่วมกันอย่างเท่าเทียม
ฉันท์มิตร แลกเปลี่ยนข้อมูลสะดวกเพื่อให้งานราบรื่นขึ้น
• เลือกสถานที่เป็นโรงแรมที่ประหยัด และเดินทางสะดวก เพื่อให้อาสาที่
ทางานติดพันไม่มีปัญหาเรื่องกลับดึกเพราะค้างได้ ทางานได้ต่อเนื่อง
• เป็นสัญลักษณ์กลางของโลก ไม่มีใครเป็นเจ้าของแต่เป็นเจ้าของ
ร่วมกันทุกคน (Commons) ใครๆก็สามารถใช้ตรา Crisis
Camp ได้ทั่วโลก
เป็นแกนเชื่อมงานกับส่วนอื่นๆ
สิ่งที่จะทาต่อนับจากนี้มีอะไรบ้าง ?
•ระยะเฉพาะหน้า
• การเตือนภัย การช่วยเหลือแบบเผชิญหน้า
•ระยะกลาง
• การฟื้นฟู เยียวยา
•ระยะยาว
• โครงสร้างของระบบภัยพิบัติ ,การปรับเปลี่ยนแนวคิดในการ
พัฒนาที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ
ทีมปฏิบัติการ
• ตัวแทนจากทีมที่ปฏิบัติการลงพื้นที่ประสบภัยจริง เรียกว่าเป็นชุดแนว
หน้า เพื่อจะได้เห็นปัญหาจริงจากพื้นที่ สะท้อนภาพได้
• เลือกเวลาที่เหมาะสม ในช่วงเร่งด่วนต้องเน้นให้ทีมนี้ปฎิบัติงานได้ฉับไว
โดยหนุนจากแนวหลังให้ได้มากที่สุด
ทีมรับบริจาคและจัดการสิ่งของช่วยเหลือ
• ตัวแทนจากทีมที่จัดการ จุดรับบริจาคที่หลักๆ เน้นๆ ใหญ่ๆ เพื่อที่จะได้รู้
จานวนสิ่งของ ความต้องการจากพื้นที่ จัดการการไหลของๆ บริจาค
ทีมระดมทุนและอาสาสมัคร
• ตัวแทนจากกลุ่มอาสาที่มีพลังในการดึงพลังอาสาสมัคร
• ตัวแทนเครือข่ายภาคธุรกิจที่มีคอนเนคชั่นในการขอรับทุนบริจาค
ทีมประสานงาน
• บริหารจัดการ,กระจาย ข่าว
สามารถเป็นคลังตรงกลาง ไหลเวียนข้อมูลได้
• วางรูปแบบการจัดเตรียมสิ่งของ
ทรัพยากร และอาสาสมัคร
เพื่อสนับสนุนช่วยเหลือ
ตามการประสานขอความช่วยเหลือ
ช่องทางการกระจายทรัพยากร
• พัฒนาแนวทางการทางานร่วมกับภาครัฐ
ในระดับชุมชน , ระดับท้องถิ่น ,
ระดับจังหวัด และระดับชาติ(คชอ.)
ทีมวิชาการ
• ตัวแทนจากนักวิชาการที่ทางานศึกษาเรื่องภัยพิบัติและมีมุมมองเรื่อง
ภัยพิบัติอย่างบูรณาการ ไม่เฉพาะประเด็นน้าท่วมเท่านั้น
ทีมข้อมูล
• ตัวแทนจากทีมที่จะเป็นคลังข้อมูล คลังความรู้ คลังเบอร์ที่อยู่ต่างๆ
เข้าถึงช่องทางสื่อสาร จัดการงานเทคนิคได้
• รวบรวมฐานข้อมูลภาพรวมด้านต่างๆ จากหน่วยงานรัฐ
• จัดทาฐานข้อมูลปัญหาจากชุมชน หรือ พื้นที่ประสบภัยที่ต้องการความ
ช่วยเหลือ ระบุสิ่งที่ต้องการความช่วยเหลือ
สื่อมวลชน
• สื่อเพื่อที่จะมาร่วมสะท้อนมุมมอง สื่อสารประเด็นที่จะเป็นประโยชน์ต่อ
สาธารณะและสร้างกระบวนการทางานร่วมกัน
ตัวแทนจากผู้ประสบภัย
• แกนนาชาวบ้านที่สามารถพูดเป็นปาก เป็นเสียงให้แก่ผู้ประสบภัยได้
จริงๆ เพื่อเอามาสะท้อนปัญหาและมองเรื่องการช่วยเหลือ
• ตัวแทนจากชุมชน เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นาท้องถิ่น
ภาพ: คุณ ลุงและห์ - หนองจอก
ทีมภาค ทีมจังหวัด
• คนอาสาที่สามารถรับรู้เรื่องต่างๆ ในจังหวัด ในท้องถิ่นของตัวเอง
สามารถเชื่อมประสาน ติดต่อ บอกแหล่งช่องทางได้ เพื่อลดขั้นตอนการ
ทางาน และจะทาให้งานรวดเร็วมากขึ้น เพราะคนในพื้นที่ย่อมรู้จัก
ธรรมชาติของพื้นที่ดีที่สุด
เปิดตัวเครือข่ายอาสา
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
พุธที่ 3 พฤศจิกายน 2553
เวลา 21.10 น.
เปิดตัวเครือข่ายอาสาสมัครทางทีวีไทย
• ระดับเปิดตัวในรูปเวทีแลกเปลี่ยนพูดคุยเรื่องภัยพิบัติ และมีการ
รับบริจาค
– เวทีร่วมระหว่าง คชอ. รัฐ กับ คชอ. ประชาชน พูดคุยภาพรวมของภัยพิบัติ
ครั้งนี้ และสิ่งที่ต้องการการเติมเต็มซึ่งกันและกัน
– โดยระหว่างรายการ อาจมีอาสาสมัครจากเครือข่ายรับโทรศัพท์ประสานความ
ช่วยเหลือ และรับบริจาคด้วย ใช้เวลาของเปลี่ยนประเทศไทย 1 ชั่วโมง
• สร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา และทาตัววิ่งต่อเนื่องในทีวี
ไทยเพื่อแจ้งช่องทางติดต่อ การบริจาค การให้ข้อมูล
ทีวีสาธารณะ ในบทบาทการให้ความรู้ สร้างการเรียนรู้
ในยุทธศาสตร์ที่ 3 ระบบฟื้นฟู เยียวยา และสร้างการเรียนรู้ มองถึงการ
ผลิตซ้าของข้อมูล ผลิตซ้าของความรู้เรื่องภัยพิบัติอย่างบูรณาการ
• สถานีอาจจะทาเป็นสกู๊ปข่าวถาวรในช่วงข่าวเสาร์-อาทิตย์
เป็นสกู๊ปสั้นๆ ที่ให้ความรู้เรื่องธรรมชาติ ภัยพิบัติต่างๆ รวมถึงการ
จัดการ การระวังตัว บทเรียนจากที่ต่างๆ และบทเรียนสังคมไทย
• รายการสั้นๆ ว่าด้วยเรื่องธรรมชาติ ภัยพิบัติ ฯลฯ อาจเป็นใน
รูปแบบการ์ตูน รูปแบบสารคดี รูปแบบละคร ฯลฯ เพื่อสื่อสารเรื่อง
พวกนี้ให้เข้าใจง่ายๆ และเข้าไปอยู่ในใจคน เพื่อเป็นการเตรียมรับมือกับ
สถานการณ์คาดไม่ถึงของโลก
ร่างแนวคิดเพื่อการหารือแลกเปลี่ยน
แนะนา ติชม ปรับปรุง เพิ่มเติม
webmaster@thaiflood.com
Content from
Volunteer Network for Crisis Response
as of 18/11/2553

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Poramate Minsiri

คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพPoramate Minsiri
 
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางบทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางPoramate Minsiri
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติPoramate Minsiri
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติPoramate Minsiri
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยPoramate Minsiri
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยPoramate Minsiri
 

Mehr von Poramate Minsiri (20)

คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
 
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางบทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 

เครือข่ายอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ