SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
การเมืองการปกครองอาณาจักร
สุโขทัย
ความเป็นมาก่อนการสถาปนา
เมืองสุโขทัยเป็นราชธานี
ความเป็นมาก่อนการสถาปนา
เมืองสุโขทัยเป็นราชธานี
อาณาจักรโบราณบนผืนแผ่นดินไทยมีทั้งที่เป็น
อาณาจักรของชนชาติต่างเช่น มอญ เขมร และทั้งที่เป็น
อาณาจักรของคนไทย บางอาณาจักรพัฒนาขึ้นมาจาก
การเป็นเมืองที่มีอำานาจทางการเมืองเข้มแข็งหรือการรับ
อารยธรรมจากต่างชาติ ความเจริญทางอารยธรรมของ
อาณาจักรโบราณเหล่านี้ ได้สืบทอดต่อมาจนเมื่อมีคน
ไทยตั้งบ้านเมืองของตนขึ้นที่ลุ่มแม่นำ้ายม จังหวัดสุโขทัย
สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1792 ก่อนการสถาปนา
อาณาจักรสุโขทัยนั้น ดินแดนแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของ
ชุมชนตั้งแต่อดีต ทั้งชุมชนชาวมอญ ละว้า ลาว และ
อาณาจักรโบราณบนผืนแผ่นดินไทยมีทั้งที่เป็น
อาณาจักรของชนชาติต่างเช่น มอญ เขมร และทั้งที่เป็น
อาณาจักรของคนไทย บางอาณาจักรพัฒนาขึ้นมาจาก
การเป็นเมืองที่มีอำานาจทางการเมืองเข้มแข็งหรือการรับ
อารยธรรมจากต่างชาติ ความเจริญทางอารยธรรมของ
อาณาจักรโบราณเหล่านี้ ได้สืบทอดต่อมาจนเมื่อมีคน
ไทยตั้งบ้านเมืองของตนขึ้นที่ลุ่มแม่นำ้ายม จังหวัดสุโขทัย
สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1792 ก่อนการสถาปนา
อาณาจักรสุโขทัยนั้น ดินแดนแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของ
ชุมชนตั้งแต่อดีต ทั้งชุมชนชาวมอญ ละว้า ลาว และ
การเมืองการปกครองการเมืองการปกครอง
รายพระนามพระมหากษัตริย์
อาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์
อาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง โดยมีพระ
มหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงปกครองทั้งหมด 9 พระองค์
ซึ่งมีพระนามดังนี้
อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง โดยมีพระ
มหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงปกครองทั้งหมด 9 พระองค์
ซึ่งมีพระนามดังนี้
ระบบการปกครองของอาณาจักร
สุโขทัย
ระบบการปกครองของอาณาจักร
สุโขทัย
จากการที่อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง
เป็นปึกแผ่นมั่นคงได้นั้น สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการมี
ระบบการเมืองการปกครองที่สอดคล้องกับสถานการณ์ใน
ขณะนั้น ระบบการเมืองการปกครองสมัยสุโขทัยแบ่งออก
เป็น 2 ช่วง ดังนี้
1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น ( พ.ศ.1792
-1841)
2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ.
1841-1981)
จากการที่อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง
เป็นปึกแผ่นมั่นคงได้นั้น สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการมี
ระบบการเมืองการปกครองที่สอดคล้องกับสถานการณ์ใน
ขณะนั้น ระบบการเมืองการปกครองสมัยสุโขทัยแบ่งออก
เป็น 2 ช่วง ดังนี้
1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น ( พ.ศ.1792
-1841)
2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ.
1841-1981)
1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ.
1792 -1841)
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จัดการปกครองใหม่เป็น
แบบ บิดาปกครองบุตร หรือ พ่อปกครองลูก หรือ ปิตุ
ลาธิปไตย
1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ.
1792 -1841)
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จัดการปกครองใหม่เป็น
แบบ บิดาปกครองบุตร หรือ พ่อปกครองลูก หรือ ปิตุ
ลาธิปไตย
มีลักษณะสำาคัญ 4 ประการ คือ
1.รูปแบบราชาธิปไตย
2. รูปแบบบิดาปกครองบุตร มีคำานำาหน้าพระนาม
ว่า พ่อขุน
3. ลักษณะลดหลั่นกันลงมาเป็นขั้น ๆ
4. การยึดหลักธรรมในพุทธศาสนาในการบริหาร
บ้านเมือง
มีลักษณะสำาคัญ 4 ประการ คือ
1.รูปแบบราชาธิปไตย
2. รูปแบบบิดาปกครองบุตร มีคำานำาหน้าพระนาม
ว่า พ่อขุน
3. ลักษณะลดหลั่นกันลงมาเป็นขั้น ๆ
4. การยึดหลักธรรมในพุทธศาสนาในการบริหาร
บ้านเมือง
2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ.
1841-1981)
การปกครองแบบบิดาปกครองบุตรเริ่มเสื่อม
ลง เพราะสถาบันพระมหากษะตริย์ไม่มั่นคง เมือง
ต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ พระมหาธรรมราชาที่ 1
จึงทรงทำานุบำารุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา ลักษณะ
การปกครองสุโขทัยตอนปลายจึงเป็นแบบ
ธรรมราชา
2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ.
1841-1981)
การปกครองแบบบิดาปกครองบุตรเริ่มเสื่อม
ลง เพราะสถาบันพระมหากษะตริย์ไม่มั่นคง เมือง
ต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ พระมหาธรรมราชาที่ 1
จึงทรงทำานุบำารุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา ลักษณะ
การปกครองสุโขทัยตอนปลายจึงเป็นแบบ
ธรรมราชา
แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ
1. การปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหา
กษัตริย์เหมือนพ่อของประชาชน และปลูกฝังความรู้สึก
ผูกพันญาติมิตร เด่นชัดในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช
2. การปกครองแบบธรรมราชาหรือธรรมาธิปไตย
ทรงยึดและเผยแพร่ธรรมะ สู่ประชาชน รุ่งเรืองมากใน
สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1
3. ทรงปกครองโดยยึดหลักสิทธิเสรีภาพ ให้มีสิทธิ
เสรีภาพในการประกอบอาชีพด้านต่าง ๆ ตามความถนัด
เป็นต้น
แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ
1. การปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหา
กษัตริย์เหมือนพ่อของประชาชน และปลูกฝังความรู้สึก
ผูกพันญาติมิตร เด่นชัดในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช
2. การปกครองแบบธรรมราชาหรือธรรมาธิปไตย
ทรงยึดและเผยแพร่ธรรมะ สู่ประชาชน รุ่งเรืองมากใน
สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1
3. ทรงปกครองโดยยึดหลักสิทธิเสรีภาพ ให้มีสิทธิ
เสรีภาพในการประกอบอาชีพด้านต่าง ๆ ตามความถนัด
เป็นต้น
การปกครองของอาณาจักรสุโขทัย
แบ่งการปกครองออกเป็น 4 ประเภท
การปกครองของอาณาจักรสุโขทัย
แบ่งการปกครองออกเป็น 4 ประเภท
1. เมืองหลวง หรือราชธานี
2. เมืองลูกหลวง เป็นเมืองหน้าด่าน
ทิศเหนือ เมืองศรีสัชชนาลัย(สวรรคโลก)
ทิศตะวันออก เมืองสองแคว (พิษณุโลก)
ทิศใต้ เมืองสระหลวง (พิจิตร)
ทิศตะวันตก เมืองกำาแพงเพชร
3.เมืองพระยามหานคร
นครสวรรค์ เชียงทอง บางพาน (เมืองหล่ม เมือง
เพชรบูรณ์ เมืองศรีเทพ เมืองแพรก(สรรค์บุรี) เมือง
สุพรรณบุรี(อู่ทอง) เมืองราชบุรี เมืองตะนาวศรี)
1. เมืองหลวง หรือราชธานี
2. เมืองลูกหลวง เป็นเมืองหน้าด่าน
ทิศเหนือ เมืองศรีสัชชนาลัย(สวรรคโลก)
ทิศตะวันออก เมืองสองแคว (พิษณุโลก)
ทิศใต้ เมืองสระหลวง (พิจิตร)
ทิศตะวันตก เมืองกำาแพงเพชร
3.เมืองพระยามหานคร
นครสวรรค์ เชียงทอง บางพาน (เมืองหล่ม เมือง
เพชรบูรณ์ เมืองศรีเทพ เมืองแพรก(สรรค์บุรี) เมือง
สุพรรณบุรี(อู่ทอง) เมืองราชบุรี เมืองตะนาวศรี)
4.เมืองประเทศราช
คือ: เมืองที่ไม่ได้รวมเข้ากับอาณาจักรสุโขทัย แต่
ยอมอ่อนน้อมต่อราชธานีเพื่อความปลอดภัยของตนเอง
ที่ตั้ง: ติดกับเมืองชายแดนของอาณาจักรสุโขทัย
เช่น เมืองหลวงพระบาง เมาะตะมะ
ทิศตะวันออก - เมืองน่าน เมืองเซ่า(เมืองหลวงพระ
บาง) เวียงจันทร์ เวียงคำา
ทิศใต้ - เมืองนครศรีธรรมราช เมืองมะละกา และ
เมืองยะโฮร์
ทิศตะวันตก - เมืองทะวาย เมืองเมาะตะมะ เมืองหง
สาวดี
4.เมืองประเทศราช
คือ: เมืองที่ไม่ได้รวมเข้ากับอาณาจักรสุโขทัย แต่
ยอมอ่อนน้อมต่อราชธานีเพื่อความปลอดภัยของตนเอง
ที่ตั้ง: ติดกับเมืองชายแดนของอาณาจักรสุโขทัย
เช่น เมืองหลวงพระบาง เมาะตะมะ
ทิศตะวันออก - เมืองน่าน เมืองเซ่า(เมืองหลวงพระ
บาง) เวียงจันทร์ เวียงคำา
ทิศใต้ - เมืองนครศรีธรรมราช เมืองมะละกา และ
เมืองยะโฮร์
ทิศตะวันตก - เมืองทะวาย เมืองเมาะตะมะ เมืองหง
สาวดี
ลักษณะทางเศรษฐกิจลักษณะทางเศรษฐกิจ
หลักฐานที่ปรากฏอยู่ใน
จารึกสมัยสุโขทัยแสดงให้
เห็นว่า พื้นฐานทางเศรษฐกิจ
สมัยสุโขทัยขึ้นอยู่กับ
การเกษตรกรรม การพาณิช
ยกรรม และการหัตถกรรม
ดังนี้
หลักฐานที่ปรากฏอยู่ใน
จารึกสมัยสุโขทัยแสดงให้
เห็นว่า พื้นฐานทางเศรษฐกิจ
สมัยสุโขทัยขึ้นอยู่กับ
การเกษตรกรรม การพาณิช
ยกรรม และการหัตถกรรม
ดังนี้
1. เกษตรกรรม
พื้นฐานทางส่วนใหญ่ขึ้น
อยู่กับเกษตรกรรม เลี้ยง
ตนเองเป็นหลัก พืชที่
ปลูก คือ ข้าว มะม่วง
มะพร้าว มะขาม หมาก
พลู ตาลโตนด ปลูก
ตามที่ราบลุ่มแม่นำ้าและ
ตามริม
แม่นำ้า หากผลิตได้มาก
ชาวเมืองจะนำามาขาย
ตามตลาดนัดหรือ
1. เกษตรกรรม
พื้นฐานทางส่วนใหญ่ขึ้น
อยู่กับเกษตรกรรม เลี้ยง
ตนเองเป็นหลัก พืชที่
ปลูก คือ ข้าว มะม่วง
มะพร้าว มะขาม หมาก
พลู ตาลโตนด ปลูก
ตามที่ราบลุ่มแม่นำ้าและ
ตามริม
แม่นำ้า หากผลิตได้มาก
ชาวเมืองจะนำามาขาย
ตามตลาดนัดหรือ
2. การพาณิชยกรรม
การค้าขายเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ทำาให้สุโขทัยมี
ความเป็นปึกแผ่นและมีเศรษฐกิจดี โดยมีทั้งการ
ค้าขายภายในอาณาจักรกับการค้าขายกับดินแด
นอื่นๆ ที่ใกล้เคียง และการค้าขายภายนอก
อาณาจักร โดยเฉพาะการค้ากับจีน
2. การพาณิชยกรรม
การค้าขายเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ทำาให้สุโขทัยมี
ความเป็นปึกแผ่นและมีเศรษฐกิจดี โดยมีทั้งการ
ค้าขายภายในอาณาจักรกับการค้าขายกับดินแด
นอื่นๆ ที่ใกล้เคียง และการค้าขายภายนอก
อาณาจักร โดยเฉพาะการค้ากับจีน
3. การหัตถกรรม
การหัตถกรรมของสุโขทัยส่วนใหญ่เป็นการผลิต
เครื่องปั้นดินเผาหรือที่เรียกว่า เครื่องสังคโลก มี
การพบเตาจำานวนมากในเขตเมืองสุโขทัย เมือง
ศรีสัชนาลัย และบริเวณใกล้เคียง สันนิษฐานได้ว่า
น่าจะเป็นสินค้าออกที่สำาคัญ และสันนิษฐานว่าน่า
จะได้รับวิธีการทำาลวดลายจากจีน เพราะเป็น
ศิลปะจีนสมัยปลายราชวงศ์ซ้องหรือซ่ง บางหลัก
ฐานกล่าวว่าพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชนำาช่างปั้น
จากจีนเข้ามาเป็นจำานวนมาก
3. การหัตถกรรม
การหัตถกรรมของสุโขทัยส่วนใหญ่เป็นการผลิต
เครื่องปั้นดินเผาหรือที่เรียกว่า เครื่องสังคโลก มี
การพบเตาจำานวนมากในเขตเมืองสุโขทัย เมือง
ศรีสัชนาลัย และบริเวณใกล้เคียง สันนิษฐานได้ว่า
น่าจะเป็นสินค้าออกที่สำาคัญ และสันนิษฐานว่าน่า
จะได้รับวิธีการทำาลวดลายจากจีน เพราะเป็น
ศิลปะจีนสมัยปลายราชวงศ์ซ้องหรือซ่ง บางหลัก
ฐานกล่าวว่าพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชนำาช่างปั้น
จากจีนเข้ามาเป็นจำานวนมาก
ลักษณะสังคมสมัยสุโขทัยลักษณะสังคมสมัยสุโขทัย
สังคมสมัยสุโขทัยแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
คือ
1. ชนชั้นปกครอง
1.1 พระมหากษัตริย์ ความเป็นสมมติเทพปรากฏ
ในช่วงปลายสมัยแต่ไม่ชัดเจนเท่ากับในสมัยอยุธยา
1.2 พระราชวงศ์หรือเจ้านาย เป็นผู้มีเชื้อสายร่วม
กับพระมหากษัตริย์
1.3 ขุนนาง คือ ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลบ้านเมือง
ปกครองผู้คนและเป็นผู้นำากำาลังไพร่พลออกทำาสงคราม
สังคมสมัยสุโขทัยแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
คือ
1. ชนชั้นปกครอง
1.1 พระมหากษัตริย์ ความเป็นสมมติเทพปรากฏ
ในช่วงปลายสมัยแต่ไม่ชัดเจนเท่ากับในสมัยอยุธยา
1.2 พระราชวงศ์หรือเจ้านาย เป็นผู้มีเชื้อสายร่วม
กับพระมหากษัตริย์
1.3 ขุนนาง คือ ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลบ้านเมือง
ปกครองผู้คนและเป็นผู้นำากำาลังไพร่พลออกทำาสงคราม
2. ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
2.1 ไพร่หรือไพร่ฟ้า หมายถึง ราษฎรสามัญชนซึ่ง
มีอิสระในการดำาเนินชีวิตของตนเอง แต่ต้องถูกเกณฑ์
แรงงานให้ทางราชการตามกำาหนด
ในระหว่างทั้งสองชนชั้นนี้ ยังมีพระสงฆ์ทำาหน้าที่
ทางศาสนาและเป็นตัวเชื่อมระหว่างทั้งสองชนชั้น
2. ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
2.1 ไพร่หรือไพร่ฟ้า หมายถึง ราษฎรสามัญชนซึ่ง
มีอิสระในการดำาเนินชีวิตของตนเอง แต่ต้องถูกเกณฑ์
แรงงานให้ทางราชการตามกำาหนด
ในระหว่างทั้งสองชนชั้นนี้ ยังมีพระสงฆ์ทำาหน้าที่
ทางศาสนาและเป็นตัวเชื่อมระหว่างทั้งสองชนชั้น
2.2 ทาส คือ กลุ่มคนที่ไม่มีอิสระและ
เสรีภาพในการดำาเนินชีวิตของตนเองและต้องเสีย
สละแรงงานให้กับนาย
2.2 ทาส คือ กลุ่มคนที่ไม่มีอิสระและ
เสรีภาพในการดำาเนินชีวิตของตนเองและต้องเสีย
สละแรงงานให้กับนาย
จัดทำาโดย
นางสาว กมลชนก กองตุ้ย
ชั้น ม.6.10 เลขที่ 16
เสนอ
คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
จัดทำาโดย
นางสาว กมลชนก กองตุ้ย
ชั้น ม.6.10 เลขที่ 16
เสนอ
คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

More Related Content

What's hot

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชีย
Kwandjit Boonmak
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Pracha Wongsrida
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sudarat Makon
 

What's hot (20)

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชีย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

Viewers also liked

06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
airja
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
JulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
Arom Chumchoengkarn
 

Viewers also liked (11)

ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัยลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-4page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-4pageพัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-4page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-4page
 
พัฒนาการด้านการปกครองสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f09-1page
พัฒนาการด้านการปกครองสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f09-1pageพัฒนาการด้านการปกครองสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f09-1page
พัฒนาการด้านการปกครองสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f09-1page
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 

Similar to การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย

Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
sangworn
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Pracha Wongsrida
 
ตลาดสามชุก
ตลาดสามชุกตลาดสามชุก
ตลาดสามชุก
piyawut
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
sangworn
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Thaiway Thanathep
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 

Similar to การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย (20)

การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
ตลาดสามชุก
ตลาดสามชุกตลาดสามชุก
ตลาดสามชุก
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 

การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย

  • 2. ความเป็นมาก่อนการสถาปนา เมืองสุโขทัยเป็นราชธานี ความเป็นมาก่อนการสถาปนา เมืองสุโขทัยเป็นราชธานี อาณาจักรโบราณบนผืนแผ่นดินไทยมีทั้งที่เป็น อาณาจักรของชนชาติต่างเช่น มอญ เขมร และทั้งที่เป็น อาณาจักรของคนไทย บางอาณาจักรพัฒนาขึ้นมาจาก การเป็นเมืองที่มีอำานาจทางการเมืองเข้มแข็งหรือการรับ อารยธรรมจากต่างชาติ ความเจริญทางอารยธรรมของ อาณาจักรโบราณเหล่านี้ ได้สืบทอดต่อมาจนเมื่อมีคน ไทยตั้งบ้านเมืองของตนขึ้นที่ลุ่มแม่นำ้ายม จังหวัดสุโขทัย สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1792 ก่อนการสถาปนา อาณาจักรสุโขทัยนั้น ดินแดนแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของ ชุมชนตั้งแต่อดีต ทั้งชุมชนชาวมอญ ละว้า ลาว และ อาณาจักรโบราณบนผืนแผ่นดินไทยมีทั้งที่เป็น อาณาจักรของชนชาติต่างเช่น มอญ เขมร และทั้งที่เป็น อาณาจักรของคนไทย บางอาณาจักรพัฒนาขึ้นมาจาก การเป็นเมืองที่มีอำานาจทางการเมืองเข้มแข็งหรือการรับ อารยธรรมจากต่างชาติ ความเจริญทางอารยธรรมของ อาณาจักรโบราณเหล่านี้ ได้สืบทอดต่อมาจนเมื่อมีคน ไทยตั้งบ้านเมืองของตนขึ้นที่ลุ่มแม่นำ้ายม จังหวัดสุโขทัย สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1792 ก่อนการสถาปนา อาณาจักรสุโขทัยนั้น ดินแดนแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของ ชุมชนตั้งแต่อดีต ทั้งชุมชนชาวมอญ ละว้า ลาว และ
  • 4. รายพระนามพระมหากษัตริย์ อาณาจักรสุโขทัย รายพระนามพระมหากษัตริย์ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง โดยมีพระ มหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงปกครองทั้งหมด 9 พระองค์ ซึ่งมีพระนามดังนี้ อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง โดยมีพระ มหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงปกครองทั้งหมด 9 พระองค์ ซึ่งมีพระนามดังนี้
  • 5. ระบบการปกครองของอาณาจักร สุโขทัย ระบบการปกครองของอาณาจักร สุโขทัย จากการที่อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง เป็นปึกแผ่นมั่นคงได้นั้น สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการมี ระบบการเมืองการปกครองที่สอดคล้องกับสถานการณ์ใน ขณะนั้น ระบบการเมืองการปกครองสมัยสุโขทัยแบ่งออก เป็น 2 ช่วง ดังนี้ 1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น ( พ.ศ.1792 -1841) 2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841-1981) จากการที่อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง เป็นปึกแผ่นมั่นคงได้นั้น สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการมี ระบบการเมืองการปกครองที่สอดคล้องกับสถานการณ์ใน ขณะนั้น ระบบการเมืองการปกครองสมัยสุโขทัยแบ่งออก เป็น 2 ช่วง ดังนี้ 1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น ( พ.ศ.1792 -1841) 2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841-1981)
  • 6. 1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ. 1792 -1841) พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จัดการปกครองใหม่เป็น แบบ บิดาปกครองบุตร หรือ พ่อปกครองลูก หรือ ปิตุ ลาธิปไตย 1. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ. 1792 -1841) พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จัดการปกครองใหม่เป็น แบบ บิดาปกครองบุตร หรือ พ่อปกครองลูก หรือ ปิตุ ลาธิปไตย
  • 7. มีลักษณะสำาคัญ 4 ประการ คือ 1.รูปแบบราชาธิปไตย 2. รูปแบบบิดาปกครองบุตร มีคำานำาหน้าพระนาม ว่า พ่อขุน 3. ลักษณะลดหลั่นกันลงมาเป็นขั้น ๆ 4. การยึดหลักธรรมในพุทธศาสนาในการบริหาร บ้านเมือง มีลักษณะสำาคัญ 4 ประการ คือ 1.รูปแบบราชาธิปไตย 2. รูปแบบบิดาปกครองบุตร มีคำานำาหน้าพระนาม ว่า พ่อขุน 3. ลักษณะลดหลั่นกันลงมาเป็นขั้น ๆ 4. การยึดหลักธรรมในพุทธศาสนาในการบริหาร บ้านเมือง
  • 8. 2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841-1981) การปกครองแบบบิดาปกครองบุตรเริ่มเสื่อม ลง เพราะสถาบันพระมหากษะตริย์ไม่มั่นคง เมือง ต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ พระมหาธรรมราชาที่ 1 จึงทรงทำานุบำารุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา ลักษณะ การปกครองสุโขทัยตอนปลายจึงเป็นแบบ ธรรมราชา 2. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841-1981) การปกครองแบบบิดาปกครองบุตรเริ่มเสื่อม ลง เพราะสถาบันพระมหากษะตริย์ไม่มั่นคง เมือง ต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ พระมหาธรรมราชาที่ 1 จึงทรงทำานุบำารุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา ลักษณะ การปกครองสุโขทัยตอนปลายจึงเป็นแบบ ธรรมราชา
  • 9. แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ 1. การปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหา กษัตริย์เหมือนพ่อของประชาชน และปลูกฝังความรู้สึก ผูกพันญาติมิตร เด่นชัดในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช 2. การปกครองแบบธรรมราชาหรือธรรมาธิปไตย ทรงยึดและเผยแพร่ธรรมะ สู่ประชาชน รุ่งเรืองมากใน สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 3. ทรงปกครองโดยยึดหลักสิทธิเสรีภาพ ให้มีสิทธิ เสรีภาพในการประกอบอาชีพด้านต่าง ๆ ตามความถนัด เป็นต้น แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ 1. การปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหา กษัตริย์เหมือนพ่อของประชาชน และปลูกฝังความรู้สึก ผูกพันญาติมิตร เด่นชัดในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช 2. การปกครองแบบธรรมราชาหรือธรรมาธิปไตย ทรงยึดและเผยแพร่ธรรมะ สู่ประชาชน รุ่งเรืองมากใน สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 3. ทรงปกครองโดยยึดหลักสิทธิเสรีภาพ ให้มีสิทธิ เสรีภาพในการประกอบอาชีพด้านต่าง ๆ ตามความถนัด เป็นต้น
  • 10. การปกครองของอาณาจักรสุโขทัย แบ่งการปกครองออกเป็น 4 ประเภท การปกครองของอาณาจักรสุโขทัย แบ่งการปกครองออกเป็น 4 ประเภท 1. เมืองหลวง หรือราชธานี 2. เมืองลูกหลวง เป็นเมืองหน้าด่าน ทิศเหนือ เมืองศรีสัชชนาลัย(สวรรคโลก) ทิศตะวันออก เมืองสองแคว (พิษณุโลก) ทิศใต้ เมืองสระหลวง (พิจิตร) ทิศตะวันตก เมืองกำาแพงเพชร 3.เมืองพระยามหานคร นครสวรรค์ เชียงทอง บางพาน (เมืองหล่ม เมือง เพชรบูรณ์ เมืองศรีเทพ เมืองแพรก(สรรค์บุรี) เมือง สุพรรณบุรี(อู่ทอง) เมืองราชบุรี เมืองตะนาวศรี) 1. เมืองหลวง หรือราชธานี 2. เมืองลูกหลวง เป็นเมืองหน้าด่าน ทิศเหนือ เมืองศรีสัชชนาลัย(สวรรคโลก) ทิศตะวันออก เมืองสองแคว (พิษณุโลก) ทิศใต้ เมืองสระหลวง (พิจิตร) ทิศตะวันตก เมืองกำาแพงเพชร 3.เมืองพระยามหานคร นครสวรรค์ เชียงทอง บางพาน (เมืองหล่ม เมือง เพชรบูรณ์ เมืองศรีเทพ เมืองแพรก(สรรค์บุรี) เมือง สุพรรณบุรี(อู่ทอง) เมืองราชบุรี เมืองตะนาวศรี)
  • 11. 4.เมืองประเทศราช คือ: เมืองที่ไม่ได้รวมเข้ากับอาณาจักรสุโขทัย แต่ ยอมอ่อนน้อมต่อราชธานีเพื่อความปลอดภัยของตนเอง ที่ตั้ง: ติดกับเมืองชายแดนของอาณาจักรสุโขทัย เช่น เมืองหลวงพระบาง เมาะตะมะ ทิศตะวันออก - เมืองน่าน เมืองเซ่า(เมืองหลวงพระ บาง) เวียงจันทร์ เวียงคำา ทิศใต้ - เมืองนครศรีธรรมราช เมืองมะละกา และ เมืองยะโฮร์ ทิศตะวันตก - เมืองทะวาย เมืองเมาะตะมะ เมืองหง สาวดี 4.เมืองประเทศราช คือ: เมืองที่ไม่ได้รวมเข้ากับอาณาจักรสุโขทัย แต่ ยอมอ่อนน้อมต่อราชธานีเพื่อความปลอดภัยของตนเอง ที่ตั้ง: ติดกับเมืองชายแดนของอาณาจักรสุโขทัย เช่น เมืองหลวงพระบาง เมาะตะมะ ทิศตะวันออก - เมืองน่าน เมืองเซ่า(เมืองหลวงพระ บาง) เวียงจันทร์ เวียงคำา ทิศใต้ - เมืองนครศรีธรรมราช เมืองมะละกา และ เมืองยะโฮร์ ทิศตะวันตก - เมืองทะวาย เมืองเมาะตะมะ เมืองหง สาวดี
  • 12.
  • 13. ลักษณะทางเศรษฐกิจลักษณะทางเศรษฐกิจ หลักฐานที่ปรากฏอยู่ใน จารึกสมัยสุโขทัยแสดงให้ เห็นว่า พื้นฐานทางเศรษฐกิจ สมัยสุโขทัยขึ้นอยู่กับ การเกษตรกรรม การพาณิช ยกรรม และการหัตถกรรม ดังนี้ หลักฐานที่ปรากฏอยู่ใน จารึกสมัยสุโขทัยแสดงให้ เห็นว่า พื้นฐานทางเศรษฐกิจ สมัยสุโขทัยขึ้นอยู่กับ การเกษตรกรรม การพาณิช ยกรรม และการหัตถกรรม ดังนี้
  • 14. 1. เกษตรกรรม พื้นฐานทางส่วนใหญ่ขึ้น อยู่กับเกษตรกรรม เลี้ยง ตนเองเป็นหลัก พืชที่ ปลูก คือ ข้าว มะม่วง มะพร้าว มะขาม หมาก พลู ตาลโตนด ปลูก ตามที่ราบลุ่มแม่นำ้าและ ตามริม แม่นำ้า หากผลิตได้มาก ชาวเมืองจะนำามาขาย ตามตลาดนัดหรือ 1. เกษตรกรรม พื้นฐานทางส่วนใหญ่ขึ้น อยู่กับเกษตรกรรม เลี้ยง ตนเองเป็นหลัก พืชที่ ปลูก คือ ข้าว มะม่วง มะพร้าว มะขาม หมาก พลู ตาลโตนด ปลูก ตามที่ราบลุ่มแม่นำ้าและ ตามริม แม่นำ้า หากผลิตได้มาก ชาวเมืองจะนำามาขาย ตามตลาดนัดหรือ
  • 15. 2. การพาณิชยกรรม การค้าขายเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ทำาให้สุโขทัยมี ความเป็นปึกแผ่นและมีเศรษฐกิจดี โดยมีทั้งการ ค้าขายภายในอาณาจักรกับการค้าขายกับดินแด นอื่นๆ ที่ใกล้เคียง และการค้าขายภายนอก อาณาจักร โดยเฉพาะการค้ากับจีน 2. การพาณิชยกรรม การค้าขายเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ทำาให้สุโขทัยมี ความเป็นปึกแผ่นและมีเศรษฐกิจดี โดยมีทั้งการ ค้าขายภายในอาณาจักรกับการค้าขายกับดินแด นอื่นๆ ที่ใกล้เคียง และการค้าขายภายนอก อาณาจักร โดยเฉพาะการค้ากับจีน
  • 16. 3. การหัตถกรรม การหัตถกรรมของสุโขทัยส่วนใหญ่เป็นการผลิต เครื่องปั้นดินเผาหรือที่เรียกว่า เครื่องสังคโลก มี การพบเตาจำานวนมากในเขตเมืองสุโขทัย เมือง ศรีสัชนาลัย และบริเวณใกล้เคียง สันนิษฐานได้ว่า น่าจะเป็นสินค้าออกที่สำาคัญ และสันนิษฐานว่าน่า จะได้รับวิธีการทำาลวดลายจากจีน เพราะเป็น ศิลปะจีนสมัยปลายราชวงศ์ซ้องหรือซ่ง บางหลัก ฐานกล่าวว่าพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชนำาช่างปั้น จากจีนเข้ามาเป็นจำานวนมาก 3. การหัตถกรรม การหัตถกรรมของสุโขทัยส่วนใหญ่เป็นการผลิต เครื่องปั้นดินเผาหรือที่เรียกว่า เครื่องสังคโลก มี การพบเตาจำานวนมากในเขตเมืองสุโขทัย เมือง ศรีสัชนาลัย และบริเวณใกล้เคียง สันนิษฐานได้ว่า น่าจะเป็นสินค้าออกที่สำาคัญ และสันนิษฐานว่าน่า จะได้รับวิธีการทำาลวดลายจากจีน เพราะเป็น ศิลปะจีนสมัยปลายราชวงศ์ซ้องหรือซ่ง บางหลัก ฐานกล่าวว่าพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชนำาช่างปั้น จากจีนเข้ามาเป็นจำานวนมาก
  • 17. ลักษณะสังคมสมัยสุโขทัยลักษณะสังคมสมัยสุโขทัย สังคมสมัยสุโขทัยแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1. ชนชั้นปกครอง 1.1 พระมหากษัตริย์ ความเป็นสมมติเทพปรากฏ ในช่วงปลายสมัยแต่ไม่ชัดเจนเท่ากับในสมัยอยุธยา 1.2 พระราชวงศ์หรือเจ้านาย เป็นผู้มีเชื้อสายร่วม กับพระมหากษัตริย์ 1.3 ขุนนาง คือ ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลบ้านเมือง ปกครองผู้คนและเป็นผู้นำากำาลังไพร่พลออกทำาสงคราม สังคมสมัยสุโขทัยแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1. ชนชั้นปกครอง 1.1 พระมหากษัตริย์ ความเป็นสมมติเทพปรากฏ ในช่วงปลายสมัยแต่ไม่ชัดเจนเท่ากับในสมัยอยุธยา 1.2 พระราชวงศ์หรือเจ้านาย เป็นผู้มีเชื้อสายร่วม กับพระมหากษัตริย์ 1.3 ขุนนาง คือ ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลบ้านเมือง ปกครองผู้คนและเป็นผู้นำากำาลังไพร่พลออกทำาสงคราม
  • 18. 2. ชนชั้นผู้ถูกปกครอง 2.1 ไพร่หรือไพร่ฟ้า หมายถึง ราษฎรสามัญชนซึ่ง มีอิสระในการดำาเนินชีวิตของตนเอง แต่ต้องถูกเกณฑ์ แรงงานให้ทางราชการตามกำาหนด ในระหว่างทั้งสองชนชั้นนี้ ยังมีพระสงฆ์ทำาหน้าที่ ทางศาสนาและเป็นตัวเชื่อมระหว่างทั้งสองชนชั้น 2. ชนชั้นผู้ถูกปกครอง 2.1 ไพร่หรือไพร่ฟ้า หมายถึง ราษฎรสามัญชนซึ่ง มีอิสระในการดำาเนินชีวิตของตนเอง แต่ต้องถูกเกณฑ์ แรงงานให้ทางราชการตามกำาหนด ในระหว่างทั้งสองชนชั้นนี้ ยังมีพระสงฆ์ทำาหน้าที่ ทางศาสนาและเป็นตัวเชื่อมระหว่างทั้งสองชนชั้น
  • 19. 2.2 ทาส คือ กลุ่มคนที่ไม่มีอิสระและ เสรีภาพในการดำาเนินชีวิตของตนเองและต้องเสีย สละแรงงานให้กับนาย 2.2 ทาส คือ กลุ่มคนที่ไม่มีอิสระและ เสรีภาพในการดำาเนินชีวิตของตนเองและต้องเสีย สละแรงงานให้กับนาย
  • 20. จัดทำาโดย นางสาว กมลชนก กองตุ้ย ชั้น ม.6.10 เลขที่ 16 เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม จัดทำาโดย นางสาว กมลชนก กองตุ้ย ชั้น ม.6.10 เลขที่ 16 เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม