SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 26
Downloaden Sie, um offline zu lesen
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย
Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
นายโฆษิต จารัสลาภ นางสาวสุนิจฐา พองพรหม นางสาวณัฐิดา วงษ์ประสิทธิพร
นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทดนายสถาพร วงศ์จิรานุวัฒน์นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร นางสาวเสาวนา เสียงสนั่น
สมาชิกในกลุ่ม
Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2
(พ.ศ.2552 - 2556)
ร่างแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3
(พ.ศ.2557 - 2561)
วิสัยทัศน์
….“ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญา
(Smart Thailand) ด้วย ICT”
วิสัยทัศน์
…..“พัฒนาสังคมอุดมปัญญาด้วย ICT เพื่อก้าวสู่
สังคมดิจิทัลอย่างยั่งยืน โดยทั่วถึง เท่าเทียม และ
มั่นคงปลอดภัย ในทุกชุมชนและท้องถิ่น”
(Shape-up Smart Thailand toward Digital Society)
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2
(พ.ศ.2552 - 2556)
ร่างแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3
(พ.ศ.2557 - 2561)
ยุทธศาสตร์
1. การพัฒนากาลังคนด้าน ICT และบุคคลทั่วไปให้มีความสามารถใน
การสร้างสรรค์ ผลิต และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
2. การบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอย่างมีธรรมาภิบาล
3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุน
การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ
5. ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT
เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้าประเทศ
6. การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
อย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์
1. พัฒนาทุนมนุษย์ให้เข้าถึงและรู้เท่าทัน ICT เพื่อการดารงชีวิต
และประกอบอาชีพอย่างพอเพียง ด้วยแนวคิดสร้างสรรค์เชิง
นวัตกรรม มีส่วนร่วมในการพัฒนา และใช้ประโยชน์จากบริการ ICT
(Participatory People)
2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ที่พอเพียง (Sufficient) และคุ้มค่า (Optimal Infrastructure)
3. ยกระดับบริการอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนและท้องถิ่นในแนวทางนวัตกรรมบริการ และมีความมั่นคง
ปลอดภัยทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค (Smart Government)
4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม ICT ให้เติบโตสดใส
มีขีดความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันในตลาดระดับภูมิภาค
และระดับสากลโดยเฉพาะอุตสาหกรรมICT เชิงสร้างสรรค์ และ
การใช้ ICT ในธุรกิจและอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม
(Vibrant Business)
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3
(พ.ศ.2557 - 2561)
ยุทธศาสตร์ 6 ด้าน ของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2
(พ.ศ.2552 - 2556)
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
1. การปฎิรูปทางเศรษฐกิจ
อาเซียนจะสร้างสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจ เพื่อการส่งเสริมทางธุรกิจการลงทุน
และสร้างธุรกิจใหม่ในภาคไอซีที ไอซีทีเองจะเป็นกลไกขับเคลื่อนสาคัญที่ส่งผลให้
เกิดการปฎิรูปในภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ ด้วย
2. การเสริมสร้างพลังให้แก่ประชาชนและให้ประชาชนมีส่วนร่วม
อาเซียนจะอาศัยไอซีทีที่ราคาไม่แพงและยุติธรรมเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีโดยทั่วหน้า
3. การสร้างนวัตกรรม
อาเซียนจะสนับสนุนอุตสาหกรรมไอซีทีที่สร้างสรรค์ มีนวัตกรรม
และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
6 ยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
6 ยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015
4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
อาเซียนจะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไอซีทีเพื่อสนับสนุนการให้บริการแก่ประชาคมอาเซียน
5. การพัฒนาทุนมนุษย์
อาเซียนจะพัฒนาทุนมนุษย์ที่มีสมรรถนะและทักษะด้านไอซีที เพื่อสนับสนุนการเติบโตของ
ภาคไอซีที และส่งผลต่อการปฎิรูปเศรษฐกิจในภาคอื่น ๆ ด้วย
6. การลดความเหลื่อมลํ้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี
อาเซียนจะให้ความสาคัญเรื่องความแตกต่างของการพัฒนา และการใช้ไอซีที ทั้งใน
ระดับประเทศ และระหว่างประเทศในภูมิภาค อาเซียนจะเน้นเรื่องการลดความเลื่อมล้าใน
บริบทของความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ไอซีทีในวง
กว้าง
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015
1. ไอซีทีเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโตสําหรับอาเซียน
ไอซีทีจะเป็นหนึ่งในกลุ่มเศรษฐกิจหลักของอาเซียน อีกทั้งยังเป็นตัวขับเคลื่อนที่ทาให้เกิดศักยภาพการแข่งขันแก่อุตสาหกรรม
อื่น ๆ ด้วย
2. ยอมรับว่าอาเซียนเป็นศูนย์กลางไอซีทีระดับโลก
อาเซียนจะสร้างความโดดเด่นให้ตัวเอง ด้วยการเป็นภูมิภาคที่มีโครงสร้างพื้นฐานไอซีทีที่มีคุณภาพสูง มีกาลังคนที่มีสมรรถนะ
สูง และมีความสามารถทางนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี
3. เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชนในอาเซียน
การใช้ไอซีทีอย่างแพร่หลายจะช่วยให้ประชาชนของอาเซียนมีส่วนร่วม เข้าไปเกี่ยวข้อง และมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
ทั้งหมดนี้ จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ การประกอบการงาน และด้านนันทนาการ
4. มีผลต่อการรวมตัวในอาเซียน
ไอซีทีจะช่วยให้เกิดความร่วมมือกันมากมาย ระหว่างกลุ่มธุรกิจ และประชาชน จนนาไปสู่การรวมตัวของอาเซียน
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา
ด้านการพัฒนาทาง
สังคม
ด้านการพัฒนา
ทรัพยากรขั้น
พื้นฐาน
ด้านการพัฒนาคน
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา
- บุคลากรจะมีความสามารถในการสร้างสรรค์และใช้สารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรู้เท่าทันมากยิ่งขึ้น
- บุคลากรด้าน ICT มีการพัฒนาความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญใน
ด้านการพัฒนาคน
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา
ด้านการพัฒนาทรัพยากรขั้นพื้นฐาน
- สร้างโอกาสการเข้าถึงทรัพยากรและบริการสาธารณะต่างๆ ให้มีความทั่วถึง
และทัดเทียมกันมากขึ้น
- โครงสร้างพื้นฐาน ICT อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมีความทันสมัย กระจาย
อย่างทั่วถึง มีความมั่นคงปลอดภัย สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้
- จานวนอุปกรณ์ เครื่องมือ คอมพิวเตอร์ต่อจานวนนักเรียนเพิ่มมากขึ้น
- มีการใช้ ICT สร้างนวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้าน
การศึกษามากขึ้น
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา
ด้านการพัฒนาทางสังคม
- วงการศึกษา ส่วนราชการมีการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ปลอดภัยและสะดวกสบายยิ่งขึ้น
- ระบบห้องเรียนออนไลน์ที่ทาให้นักเรียนและครูสามารถติดต่อสื่อสารได้ทุกที่ทุก
เวลา ได้มีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
- ชุมชนและองค์กรภายนอกสถานศึกษาเริ่มมีบทบาทต่อการจัดการศึกษามากขึ้น
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่
• มุ่งพัฒนาปัจเจกบุคคลให้มีความรู้ ทักษะ สติปัญญา ความฉลาดทาง
อารมณ์ การปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข คานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลตามความถนัด เพื่อให้เกิดความชานาญ
การมีทักษะชีวิต และมีภูมิคุ้มกัน ดารงตนเป็นพลเมืองและพลโลกที่ดี
• มุ่งเน้นการพัฒนามันสมองและสติปัญญาของมนุษย์ตั้งแต่ก่อนวัยเรียน
จนกระทั่งถึงอุดมศึกษา เรื่อยไปจนถึงวัยผู้สูงอายุ เพื่อให้ ปัญญาเป็น
เครื่องมือในการพัฒนาตน สร้างโอกาสและเพิ่มมูลค่าของ ชีวิต สังคม
และประเทศชาติ
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่
• ส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสมองและสติปัญญา ควบคู่กับ
สภาวะแห่งคุณธรรม จริยธรรม ที่มีความสมบูรณ์อย่างเป็นองค์รวม
• ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยอย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต
ทุกเพศวัย มีการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม เป็นเครื่องมือ แสวงหาความรู้/
การเรียนรู้ได้อย่างรู้เท่าทัน
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่
• ส่งเสริมความเป็นผู้มีคุณธรรม ทั้งคุณธรรมจากศาสนาและคุณธรรม
ทางสังคม โดยนัยนี้ หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน และการ
ประเมินผลจะต้องเน้นทั้งความรู้และคุณธรรมควบคู่ไปด้วยกันอย่าง
บูรณาการ ดังเช่นที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่องและเป็นไปอย่างเข้มข้น
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่
• ส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบทั้งในระบบนอกระบบและตาม
อัธยาศัย
• เปิดโอกาสให้ชนทุกหมู่เหล่า ทุกเพศวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ได้ศึกษา
ในทุกสถานที่ทุกเวลาทุกโอกาสอย่างเท่าเทียมและเป็นไปอย่างมีคุณภาพ
เป็นการศึกษาที่เอื้อต่อคนทุกคนทั้งสังคม
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่
• มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเป็นช่องทางการเรียนรู้และการแสวงหา
ความรู้อย่างทั่วถึง ผู้เรียนทุกเพศวัยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้ทุกสถานที่
ทุกเวลา ทุกโอกาส รวดเร็ว ฉับพลัน ทันท่วงที ด้วย เทคโนโลยีอุบัติใหม่
ที่ได้รับการพัฒนาต่อเนื่องตลอดเวลา
• บทบาทการจัดการศึกษาของรัฐลดลง และบทบาทขององค์กร ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น เอกชน และสถาบันสังคมเพิ่มมากขึ้น
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์
• มุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนเก่งแต่ไร้คุณธรรมและสานึกรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง
ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ มุ่งประกาศนียบัตรและปริญญา
มากกว่าเนื้อหาความรู้
• นโยบายทางการศึกษาเปลี่ยนแปลงบ่อยจากการเปลี่ยนแปลง
ทางการเมืองและการบริหาร ไม่สามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้
อย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็นรูปธรรม
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์
• องค์กร หน่วยงานสถานศึกษาที่รับผิดชอบการศึกษาและที่เกี่ยวข้อง ไม่ตระหนัก
และดาเนินการตามบทบาทอานาจหน้าที่ ฝ่ายบริหารและ การจัดการศึกษาไม่นาพา
ต่อผลการทดสอบ/การประเมินคุณภาพ และรับรองมาตรฐานการศึกษา เพื่อนาเป็น
ข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนา
• ผู้บริหารทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติขาดภาวะผู้นาและธรรมาภิบาลทาง
การศึกษา ทั้งด้านความซื่อสัตย์ คุณธรรมความโปร่งใส ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบ
ได้ ไม่ตระหนักในหน้าที่ความ รับผิดชอบ ไม่เป็นต้นแบบที่ดีของเด็กและเยาวชน
เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนตนและหมู่พวกมากกว่าส่วนรวมไม่ให้ความสาคัญกับการ
แก้ปัญหาและพัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์
• ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาขาดวิสัยทัศน์ความรู้
ความสามารถ ทักษะในการสอน ขาดความรักศรัทธาและความเชื่อมั่น
ในวิชาชีพ ไม่สนใจการเรียนรู้และแสวงหาความรู้เพื่อการ พัฒนาตน
และงานเพื่อการพัฒนาผู้เรียน คณาจารย์ขาดการรับรู้และตระหนักของ
ปัญหาสังคมและร่วมเสนอแนะและหรือแก้ไขปัญหา ตามบทบาทหน้าที่
ความรับผิดชอบ และวิชาชีพ
• ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังคงตกต่าไม่ว่าจะประเมินด้วยวิธีใดและ
หน่วยงานใดทั้งองค์กรในประเทศและองค์กรนานาชาติที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์
• ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาขาดวิสัยทัศน์ความรู้
ความสามารถ ทักษะในการสอน ขาดความรักศรัทธาและความเชื่อมั่น
ในวิชาชีพ ไม่สนใจการเรียนรู้และแสวงหาความรู้เพื่อการ พัฒนาตน
และงานเพื่อการพัฒนาผู้เรียน คณาจารย์ขาดการรับรู้และตระหนักของ
ปัญหาสังคมและร่วมเสนอแนะและหรือแก้ไขปัญหา ตามบทบาทหน้าที่
ความรับผิดชอบ และวิชาชีพ
• ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังคงตกต่าไม่ว่าจะประเมินด้วยวิธีใดและ
หน่วยงานใดทั้งองค์กรในประเทศและองค์กรนานาชาติที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์
• ความสามารถทางการศึกษาล้าหลังและอยู่อันดับท้ายๆ เมื่อเปรียบเทียบ
กับนานาชาติ อันเนื่องมาจากประสิทธิภาพทางการ บริหารจัดการทั้ง
ด้านวิชาการ งบประมาณ และบุคลากร
• ภาพสุดท้ายผู้เรียน “สมองกลวง” ไม่มีความรู้ ทักษะ เจตคติตาม
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ขาดการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไม่รักการ เรียนรู้
และแสวงหาความรู้ ไม่รู้จริงไม่รู้กว้าง ทาตัวไร้สาระและไม่มี แก่นสาร
ไม่สามารถนาความรู้ไปใช้พัฒนาและจัดการตนเองได้ ขาดการคิดวิเคราะห์
อย่างมีเหตุผลบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
http://www.mict.go.th
http://www.nstda.or.th
http://www.itgthailand.com/tag/แผนแม่บทไอซีทีอาเซียน-2015/
www.dpu.ac.th/ces/download.php?filename=1406790542.pdf
ที่มาข้อมูล
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย
Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศPrachyanun Nilsook
 
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...PridaKaewchai
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3ICT2020
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Bunsasi
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์MindMaeo
 
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่suwat Unthanon
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailandsiriporn pongvinyoo
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong_CyberSecurity
 

Was ist angesagt? (18)

การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 

Andere mochten auch

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษา
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษาการบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษา
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษา
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษาระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษา
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
การส่งเสริมสนับสนุนการใช้ Ict
การส่งเสริมสนับสนุนการใช้ Ictการส่งเสริมสนับสนุนการใช้ Ict
การส่งเสริมสนับสนุนการใช้ IctPrachyanun Nilsook
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNawaminthrachinuthit Bodindecha School
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning Surapon Boonlue
 

Andere mochten auch (8)

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษา
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษาการบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษา
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์: อุดมศึกษา
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษา
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษาระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษา
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารการศึกษา
 
การส่งเสริมสนับสนุนการใช้ Ict
การส่งเสริมสนับสนุนการใช้ Ictการส่งเสริมสนับสนุนการใช้ Ict
การส่งเสริมสนับสนุนการใช้ Ict
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 

Ähnlich wie วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์สราวุฒิ จบศรี
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯPannathat Champakul
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...Noppakhun Suebloei
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57สมใจ จันสุกสี
 
ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICT
ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICTทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICT
ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICTPrachyanun Nilsook
 

Ähnlich wie วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
 
Infographic
InfographicInfographic
Infographic
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
 
Bangkok1
Bangkok1Bangkok1
Bangkok1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 
ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICT
ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICTทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICT
ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร DICT
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
 

Mehr von Sathapron Wongchiranuwat

ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ Sathapron Wongchiranuwat
 
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Sathapron Wongchiranuwat
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionSathapron Wongchiranuwat
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2Sathapron Wongchiranuwat
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologyThe 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologySathapron Wongchiranuwat
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technologySathapron Wongchiranuwat
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technologySathapron Wongchiranuwat
 

Mehr von Sathapron Wongchiranuwat (20)

constructivist research
constructivist researchconstructivist research
constructivist research
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Bloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital TaxonomyBloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital Taxonomy
 
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
 
Cognitive tools for open ended
Cognitive tools for open endedCognitive tools for open ended
Cognitive tools for open ended
 
Databases as cognitive tools
Databases as cognitive toolsDatabases as cognitive tools
Databases as cognitive tools
 
Aect standard 3 learning environments
Aect standard 3  learning environmentsAect standard 3  learning environments
Aect standard 3 learning environments
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instruction
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
Active Learning
Active LearningActive Learning
Active Learning
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologyThe 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
 
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATIONBERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 
[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 

วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย

  • 1. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION
  • 2. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION นายโฆษิต จารัสลาภ นางสาวสุนิจฐา พองพรหม นางสาวณัฐิดา วงษ์ประสิทธิพร นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทดนายสถาพร วงศ์จิรานุวัฒน์นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร นางสาวเสาวนา เสียงสนั่น สมาชิกในกลุ่ม Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
  • 3. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552 - 2556) ร่างแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2557 - 2561) วิสัยทัศน์ ….“ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ด้วย ICT” วิสัยทัศน์ …..“พัฒนาสังคมอุดมปัญญาด้วย ICT เพื่อก้าวสู่ สังคมดิจิทัลอย่างยั่งยืน โดยทั่วถึง เท่าเทียม และ มั่นคงปลอดภัย ในทุกชุมชนและท้องถิ่น” (Shape-up Smart Thailand toward Digital Society)
  • 4. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552 - 2556) ร่างแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2557 - 2561) ยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนากาลังคนด้าน ICT และบุคคลทั่วไปให้มีความสามารถใน การสร้างสรรค์ ผลิต และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน 2. การบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอย่างมีธรรมาภิบาล 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุน การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ 5. ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้าประเทศ 6. การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาทุนมนุษย์ให้เข้าถึงและรู้เท่าทัน ICT เพื่อการดารงชีวิต และประกอบอาชีพอย่างพอเพียง ด้วยแนวคิดสร้างสรรค์เชิง นวัตกรรม มีส่วนร่วมในการพัฒนา และใช้ประโยชน์จากบริการ ICT (Participatory People) 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่พอเพียง (Sufficient) และคุ้มค่า (Optimal Infrastructure) 3. ยกระดับบริการอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชนและท้องถิ่นในแนวทางนวัตกรรมบริการ และมีความมั่นคง ปลอดภัยทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค (Smart Government) 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม ICT ให้เติบโตสดใส มีขีดความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันในตลาดระดับภูมิภาค และระดับสากลโดยเฉพาะอุตสาหกรรมICT เชิงสร้างสรรค์ และ การใช้ ICT ในธุรกิจและอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (Vibrant Business)
  • 5. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2557 - 2561) ยุทธศาสตร์ 6 ด้าน ของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552 - 2556)
  • 6. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
  • 7. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา 1. การปฎิรูปทางเศรษฐกิจ อาเซียนจะสร้างสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจ เพื่อการส่งเสริมทางธุรกิจการลงทุน และสร้างธุรกิจใหม่ในภาคไอซีที ไอซีทีเองจะเป็นกลไกขับเคลื่อนสาคัญที่ส่งผลให้ เกิดการปฎิรูปในภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ ด้วย 2. การเสริมสร้างพลังให้แก่ประชาชนและให้ประชาชนมีส่วนร่วม อาเซียนจะอาศัยไอซีทีที่ราคาไม่แพงและยุติธรรมเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีโดยทั่วหน้า 3. การสร้างนวัตกรรม อาเซียนจะสนับสนุนอุตสาหกรรมไอซีทีที่สร้างสรรค์ มีนวัตกรรม และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6 ยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015
  • 8. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา 6 ยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015 4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาเซียนจะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไอซีทีเพื่อสนับสนุนการให้บริการแก่ประชาคมอาเซียน 5. การพัฒนาทุนมนุษย์ อาเซียนจะพัฒนาทุนมนุษย์ที่มีสมรรถนะและทักษะด้านไอซีที เพื่อสนับสนุนการเติบโตของ ภาคไอซีที และส่งผลต่อการปฎิรูปเศรษฐกิจในภาคอื่น ๆ ด้วย 6. การลดความเหลื่อมลํ้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี อาเซียนจะให้ความสาคัญเรื่องความแตกต่างของการพัฒนา และการใช้ไอซีที ทั้งใน ระดับประเทศ และระหว่างประเทศในภูมิภาค อาเซียนจะเน้นเรื่องการลดความเลื่อมล้าใน บริบทของความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ไอซีทีในวง กว้าง
  • 9. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 1. วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015 1. ไอซีทีเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโตสําหรับอาเซียน ไอซีทีจะเป็นหนึ่งในกลุ่มเศรษฐกิจหลักของอาเซียน อีกทั้งยังเป็นตัวขับเคลื่อนที่ทาให้เกิดศักยภาพการแข่งขันแก่อุตสาหกรรม อื่น ๆ ด้วย 2. ยอมรับว่าอาเซียนเป็นศูนย์กลางไอซีทีระดับโลก อาเซียนจะสร้างความโดดเด่นให้ตัวเอง ด้วยการเป็นภูมิภาคที่มีโครงสร้างพื้นฐานไอซีทีที่มีคุณภาพสูง มีกาลังคนที่มีสมรรถนะ สูง และมีความสามารถทางนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี 3. เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชนในอาเซียน การใช้ไอซีทีอย่างแพร่หลายจะช่วยให้ประชาชนของอาเซียนมีส่วนร่วม เข้าไปเกี่ยวข้อง และมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ทั้งหมดนี้ จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ การประกอบการงาน และด้านนันทนาการ 4. มีผลต่อการรวมตัวในอาเซียน ไอซีทีจะช่วยให้เกิดความร่วมมือกันมากมาย ระหว่างกลุ่มธุรกิจ และประชาชน จนนาไปสู่การรวมตัวของอาเซียน
  • 10. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา ด้านการพัฒนาทาง สังคม ด้านการพัฒนา ทรัพยากรขั้น พื้นฐาน ด้านการพัฒนาคน
  • 11. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา - บุคลากรจะมีความสามารถในการสร้างสรรค์และใช้สารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรู้เท่าทันมากยิ่งขึ้น - บุคลากรด้าน ICT มีการพัฒนาความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญใน ด้านการพัฒนาคน
  • 12. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา ด้านการพัฒนาทรัพยากรขั้นพื้นฐาน - สร้างโอกาสการเข้าถึงทรัพยากรและบริการสาธารณะต่างๆ ให้มีความทั่วถึง และทัดเทียมกันมากขึ้น - โครงสร้างพื้นฐาน ICT อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมีความทันสมัย กระจาย อย่างทั่วถึง มีความมั่นคงปลอดภัย สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้ - จานวนอุปกรณ์ เครื่องมือ คอมพิวเตอร์ต่อจานวนนักเรียนเพิ่มมากขึ้น - มีการใช้ ICT สร้างนวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้าน การศึกษามากขึ้น
  • 13. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 2. แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา ด้านการพัฒนาทางสังคม - วงการศึกษา ส่วนราชการมีการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ปลอดภัยและสะดวกสบายยิ่งขึ้น - ระบบห้องเรียนออนไลน์ที่ทาให้นักเรียนและครูสามารถติดต่อสื่อสารได้ทุกที่ทุก เวลา ได้มีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น - ชุมชนและองค์กรภายนอกสถานศึกษาเริ่มมีบทบาทต่อการจัดการศึกษามากขึ้น
  • 14. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
  • 15. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่ • มุ่งพัฒนาปัจเจกบุคคลให้มีความรู้ ทักษะ สติปัญญา ความฉลาดทาง อารมณ์ การปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข คานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคลตามความถนัด เพื่อให้เกิดความชานาญ การมีทักษะชีวิต และมีภูมิคุ้มกัน ดารงตนเป็นพลเมืองและพลโลกที่ดี • มุ่งเน้นการพัฒนามันสมองและสติปัญญาของมนุษย์ตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จนกระทั่งถึงอุดมศึกษา เรื่อยไปจนถึงวัยผู้สูงอายุ เพื่อให้ ปัญญาเป็น เครื่องมือในการพัฒนาตน สร้างโอกาสและเพิ่มมูลค่าของ ชีวิต สังคม และประเทศชาติ
  • 16. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่ • ส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสมองและสติปัญญา ควบคู่กับ สภาวะแห่งคุณธรรม จริยธรรม ที่มีความสมบูรณ์อย่างเป็นองค์รวม • ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยอย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต ทุกเพศวัย มีการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม เป็นเครื่องมือ แสวงหาความรู้/ การเรียนรู้ได้อย่างรู้เท่าทัน
  • 17. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่ • ส่งเสริมความเป็นผู้มีคุณธรรม ทั้งคุณธรรมจากศาสนาและคุณธรรม ทางสังคม โดยนัยนี้ หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน และการ ประเมินผลจะต้องเน้นทั้งความรู้และคุณธรรมควบคู่ไปด้วยกันอย่าง บูรณาการ ดังเช่นที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่องและเป็นไปอย่างเข้มข้น
  • 18. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่ • ส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบทั้งในระบบนอกระบบและตาม อัธยาศัย • เปิดโอกาสให้ชนทุกหมู่เหล่า ทุกเพศวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ได้ศึกษา ในทุกสถานที่ทุกเวลาทุกโอกาสอย่างเท่าเทียมและเป็นไปอย่างมีคุณภาพ เป็นการศึกษาที่เอื้อต่อคนทุกคนทั้งสังคม
  • 19. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่พึงประสงค์ เป็นการศึกษาที่ • มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเป็นช่องทางการเรียนรู้และการแสวงหา ความรู้อย่างทั่วถึง ผู้เรียนทุกเพศวัยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา ทุกโอกาส รวดเร็ว ฉับพลัน ทันท่วงที ด้วย เทคโนโลยีอุบัติใหม่ ที่ได้รับการพัฒนาต่อเนื่องตลอดเวลา • บทบาทการจัดการศึกษาของรัฐลดลง และบทบาทขององค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น เอกชน และสถาบันสังคมเพิ่มมากขึ้น
  • 20. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์ • มุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนเก่งแต่ไร้คุณธรรมและสานึกรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ มุ่งประกาศนียบัตรและปริญญา มากกว่าเนื้อหาความรู้ • นโยบายทางการศึกษาเปลี่ยนแปลงบ่อยจากการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองและการบริหาร ไม่สามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็นรูปธรรม
  • 21. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์ • องค์กร หน่วยงานสถานศึกษาที่รับผิดชอบการศึกษาและที่เกี่ยวข้อง ไม่ตระหนัก และดาเนินการตามบทบาทอานาจหน้าที่ ฝ่ายบริหารและ การจัดการศึกษาไม่นาพา ต่อผลการทดสอบ/การประเมินคุณภาพ และรับรองมาตรฐานการศึกษา เพื่อนาเป็น ข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนา • ผู้บริหารทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติขาดภาวะผู้นาและธรรมาภิบาลทาง การศึกษา ทั้งด้านความซื่อสัตย์ คุณธรรมความโปร่งใส ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบ ได้ ไม่ตระหนักในหน้าที่ความ รับผิดชอบ ไม่เป็นต้นแบบที่ดีของเด็กและเยาวชน เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนตนและหมู่พวกมากกว่าส่วนรวมไม่ให้ความสาคัญกับการ แก้ปัญหาและพัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง
  • 22. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์ • ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาขาดวิสัยทัศน์ความรู้ ความสามารถ ทักษะในการสอน ขาดความรักศรัทธาและความเชื่อมั่น ในวิชาชีพ ไม่สนใจการเรียนรู้และแสวงหาความรู้เพื่อการ พัฒนาตน และงานเพื่อการพัฒนาผู้เรียน คณาจารย์ขาดการรับรู้และตระหนักของ ปัญหาสังคมและร่วมเสนอแนะและหรือแก้ไขปัญหา ตามบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และวิชาชีพ • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังคงตกต่าไม่ว่าจะประเมินด้วยวิธีใดและ หน่วยงานใดทั้งองค์กรในประเทศและองค์กรนานาชาติที่เกี่ยวข้อง
  • 23. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์ • ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาขาดวิสัยทัศน์ความรู้ ความสามารถ ทักษะในการสอน ขาดความรักศรัทธาและความเชื่อมั่น ในวิชาชีพ ไม่สนใจการเรียนรู้และแสวงหาความรู้เพื่อการ พัฒนาตน และงานเพื่อการพัฒนาผู้เรียน คณาจารย์ขาดการรับรู้และตระหนักของ ปัญหาสังคมและร่วมเสนอแนะและหรือแก้ไขปัญหา ตามบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และวิชาชีพ • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังคงตกต่าไม่ว่าจะประเมินด้วยวิธีใดและ หน่วยงานใดทั้งองค์กรในประเทศและองค์กรนานาชาติที่เกี่ยวข้อง
  • 24. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION 3. วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต ภาพอนาคตการศึกษาไทยที่ไม่พึงประสงค์ • ความสามารถทางการศึกษาล้าหลังและอยู่อันดับท้ายๆ เมื่อเปรียบเทียบ กับนานาชาติ อันเนื่องมาจากประสิทธิภาพทางการ บริหารจัดการทั้ง ด้านวิชาการ งบประมาณ และบุคลากร • ภาพสุดท้ายผู้เรียน “สมองกลวง” ไม่มีความรู้ ทักษะ เจตคติตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ขาดการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไม่รักการ เรียนรู้ และแสวงหาความรู้ ไม่รู้จริงไม่รู้กว้าง ทาตัวไร้สาระและไม่มี แก่นสาร ไม่สามารถนาความรู้ไปใช้พัฒนาและจัดการตนเองได้ ขาดการคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผลบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  • 26. วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University 201705 NFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT AND COMPUTER FOR LEARNING ORGANIZATION