SlideShare a Scribd company logo
1 of 77
Discrimination ค่าอำนาจจำแนก เสนอ อ . ดร . ปิยะธิดา  ปัญญา การวิเคราะห์ข้อสอบ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com
www.themegallery.com นำเสนอโดย นายจีรภพ  แสงบุญมี  รหัส  538110170412 นางสาวชุติมา  มณีนิล  รหัส  538110170404 นักศึกษาปริญญาโทภาคพิเศษ สาขาวิชาวิจัยและวัดผลการศึกษา
ค่าอำนาจจำแนก www.themegallery.com - การวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบที่เป็นปรนัย - การวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบที่เป็นอัตนัย ความหมายค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ 1 เกณฑ์การแปลความหมายค่าอำนาจจำแนก 2 วิธีการวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนก 3
ความหมายของการวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ ,[object Object],www.themegallery.com
ความหมายของการวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ ,[object Object],www.themegallery.com
[object Object],การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ www.themegallery.com
[object Object],การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
www.themegallery.com คุณสมบัติของเครื่องมือวัดที่ดี 1 .  ความเที่ยงตรง  (Validity)     2.  ความเชื่อมั่น  (Reliability)  3.  ความยากง่าย  (Difficulty)   5.  ความเป็นปรนัย  (Objectivity) 6.  จำเพาะเจาะจง  (Definite) 7.   ความมีประสิทธิภาพ  (Efficiency) 8.  คำถามยั่วยุ  (Exemplary) 9.  คำถามลึก  (Searching) 10.  ความยุติธรรม  (Fair)  4.  อำนาจจำแนก (Discrimination)
ความยากง่าย  (Difficulty)   ,[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com
ความยากง่าย  (Difficulty)   www.themegallery.com ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],ความหมายค่าอำนาจจำแนก ของแบบทดสอบ ความหมายค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ
[object Object],ความหมายค่าอำนาจจำแนก ของแบบทดสอบ ความหมายค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ
[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com ความหมายค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ
อำนาจจำแนก  (Discrimination)   www.themegallery.com ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อำนาจจำแนก  (Discrimination)   www.themegallery.com ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทของการวิเคราะห์ข้อสอบแบบรายข้อ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com
www.themegallery.com
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม  ,[object Object],[object Object],www.themegallery.com
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม  ,[object Object],www.themegallery.com
www.themegallery.com 1)   เทคนิค  27 %   ใช้ได้กับแบบทดสอบที่มีคำตอบถูกเพียงคำตอบเดียวและถ้าตอบถูกได้  1   คะแนน  ผิดได้  0   คะแนน  เทคนิค  27 %   ใช้ได้เหมาะกับแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 2)   จำนวนตัวเลือกต้องเท่ากันทุกข้อ ถ้าหากตัวเลือกไม่เท่ากันต้องแยกวิเคราะห์เป็นตอนๆ 3)   จำนวนผู้สอบ หรือกระดาษคำตอบควรมีมากพอสมควร ประมาณ  100   คนขึ้นไป ซึ่งทำให้การกระจายของคะแนนเป็นโค้งปกติ การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม
www.themegallery.com 4)   การใช้เทคนิค  27%  สำหรับคัดเลือกกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำนี้  ใช้ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง หรือผู้สอบมีจำนวน มาก และคะแนนมีการแจกแจงแบบปกติ  ( Normal  Distribution) แต่ถ้าคะแนนไม่มีการแจกแจงแบบปกติควรใช้เทคนิค  35 %  แทน  การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม www.themegallery.com ใช้เทคนิค  27%  หรือ  33 %  แบ่งกระดาษคำตอบเป็น  2  กลุ่มคือ  กลุ่มสูง และกลุ่มต่ำ MAX MIN 27%
[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม www.themegallery.com ค่าความยากรายข้อ  (p)   คือ  จำนวนผู้ตอบถูกข้อนั้นต่อจำนวนผู้ตอบทั้งหมด ที่นำมาวิเคราะห์ ค่าอำนาจจำแนก  (r)   คือ ความสามารถในการแยกเด็กเก่ง  -  อ่อนได้ถูกต้อง
สูตรที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบแบบเลือกตอบ www.themegallery.com ค่าความยาก  ( p) ค่าอำนาจจำแนก   (r) ตัวถูก ถ้า ตัวลวง  L-H เมื่อ H =   จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มสูง L = จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มต่ำ n = จำนวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มต่ำ
เกณฑ์การพิจารณาความยาก  (P) ,[object Object],[object Object],www.themegallery.com 0.61 – 0.80     ค่อนข้างง่าย 0.40 – 0.60     ยากง่ายพอเหมาะ 0.20 – 0.39     ค่อนข้างยาก 0.00 – 0.19     ยากมาก ช่วงค่าที่เหมาะสมที่สุด
เกณฑ์การแปลความหมายค่าอำนาจจำแนก  ( r)   ค่าอำนาจจำแนกมีเกณฑ์การแปลความหมายดังนี้  ( พิชิต  ฤทธิ์จรูญ  ,  2550 : 143 ) ค่าอำนาจจำแนก  ( r ) ความหมาย .04 ≤ r ≤ 1.00 .30 ≤ r ≤ .39 .20 ≤ r ≤ .29 -1.00 ≤ r ≤ .19 จำแนกได้ดี เป็นข้อสอบที่ดี จำแนกได้เป็นข้อสอบที่ดี  พอสมควร อาจต้องปรับปรุงบ้าง จำแนกพอใช้ได้ แต่ต้องปรับปรุง ไม่สามารถจำแนกได้ต้อง ปรับปรุงหรือตัดทิ้ง
ค่าอำนาจจำแนกที่เป็นบวกมีเกณฑ์การแปลความหมายดังนี้  ( รังสรรค์ มณีเล็ก และคณะ ,  2546 ) เกณฑ์การแปลความหมายค่าอำนาจจำแนก  ( r)   ค่าอำนาจจำแนก  ( r ) ความหมาย 1.00 0.80 - 0.99 0.60 - 0.79 0.40 - 0.59 0.20 - 0.39 0.00 - 0.19 จำแนกดีเลิศ จำแนกดีมาก จำแนกดี จำแนกได้ปานกลาง จำแนกได้บ้าง จำแนกไม่ค่อยได้
[object Object],www.themegallery.com เกณฑ์การแปลความหมายค่าอำนาจจำแนก  ( r)
ประสิทธิภาพของตัวลวง  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],ประสิทธิภาพของตัวลวง  www.themegallery.com
www.themegallery.com ค่าอำนาจจำแนกตัวลวง  ( r w ) มีค่าตั้งแต่  0.05  ขึ้นไป ตัวลวง เกณฑ์การแปลความหมายค่าอำนาจจำแนก  ( r)
ตัวอย่างการวิเคราะห์รายตัวเลือก www.themegallery.com (10+2)/28  = 0.42 (7-3)/14  = 0.28 (10-2)/14  = 0.57 ข้อที่ ตัว เลือก กลุ่มสูง H กลุ่มต่ำ L p r การแปลผล 1 ก ข * ค ง จ   3 10 1 - -  7 2 4 1 -  .42 .28 .57 .21 .07 .00 ยากพอเหมาะ จำแนกได้ดีมาก ตัวลวงใช้ได้ ปรับปรง  จ . คัดไว้โดยปรับปรุงข้อ  จ .
www.themegallery.com
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงเกณฑ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com
www.themegallery.com
ดัชนีความไวของการวัดผล  ( Sensitivity index) ,[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com
[object Object],[object Object],[object Object],ดัชนีความไวของการวัดผล  ( Sensitivity index) www.themegallery.com ค่าความยาก  ( p)
[object Object],ดัชนีความไวของการวัดผล  ( Sensitivity index) www.themegallery.com
สูตรค่าดัชนีความไว www.themegallery.com เมื่อ  S  =  ดัชนีความไว P post   =  จำนวนคนตอบถูกหลังเรียน P pre = จำนวนคนตอบถูกก่อนเรียน ( พิชิต  ฤทธิ์จรูญ , 2550 : 143)
[object Object],[object Object],เกณฑ์การพิจารณาค่าดัชนีความไว www.themegallery.com
สรุปเกณฑ์การพิจารณาค่าดัชนีความไว www.themegallery.com ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างการวิเคราะห์ 0 10 10 10 0 0 10 0 3 10 รวม ข้อที่ คนที่ 1 2 3 4 5 Pre Post Pre Post Pre Post Pre Post Pre Post 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ตารางสรุปผล www.themegallery.com ข้อที่ P post P pre S 1 2 3 4 5 10 10 0 0 10 0 10 0 10 3 1.00 0.00 0.00 -1.00 0.70
สูตรที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย www.themegallery.com ค่าความยาก  ( p) ค่าอำนาจจำแนก   (r) เมื่อ  H = ผลรวมของคะแนนในแต่ละข้อของกลุ่มสูง    L = ผลรวมของคะแนนในแต่ละข้อของกลุ่มต่ำ n = จำนวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มต่ำ m = คะแนนเต็มในแต่ละข้อ
ตารางบันทึกข้อมูลกลุ่มสูงกลุ่มต่ำ www.themegallery.com ข้อ 1 2 3 4 5 รวม ผู้สอบ กลุ่มสูง 1 2 3 4 5 2 2 3 1 3 4 2 4 3 4 4 3 3 4 2 4 5 3 4 2 4 4 2 0 1 18 16 15 12 12  H 11 17 16 18 11 73 กลุ่มต่ำ 1 2 3 4 5 2 2 1 2 1 1 1 2 0 0 1 3 1 1 1 4 3 2 1 3 2 1 0 2 0 10 10 6 6 5  L 8 4 7 13 5 37
ตารางการวิเคราะห์และสรุปผล  ( อัตนัย ) www.themegallery.com (7-3)/14  = 0.28 ข้อที่    H    L p r การแปลผล 1 2 3 4 5 11 17 16 18 11 8 4 7 13 5 .38 .42 .44 .62 .32 .12 .52 .36 .20 .24 ค่อนข้างยาก จำแนกต่ำ ยากง่ายพอเหมาะจำแนกดีมาก ยากง่ายพอเหมาะ จำแนกดี ค่อนข้างง่าย จำแนกพอใช้ ค่อนข้างยาก จำแนกพอใช้
www.themegallery.com
www.themegallery.com วิธีการวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ แบบทดสอบที่เป็น แบบปรนัย แบบทดสอบที่เป็นแบบอัตนัย การวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนก
www.themegallery.com การหาค่าอำนาจจำแนก แบบทดสอบที่เป็นแบบปรนัย การหาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบปรนัยรายข้อแบบอิงกลุ่ม การหาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบปรนัยรายข้อแบบอิงเกณฑ์
www.themegallery.com การหาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบปรนัยรายข้อแบบอิงกลุ่ม เป็นวิธีการหาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบปรนัยรายข้อ โดยพิจารณาจากคะแนนที่กลุ่มผู้ถูกทดสอบทำได้เป็นเกณฑ์ สามารถคำนวณโดยใช้สูตรอย่างง่าย และสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพอยท์ไบซีเรียล  ( Point  Biserial Correlation Coefficient)   ดังรายละเอียด ดังนี้
www.themegallery.com การคำนวณค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สูตรอย่างง่าย   เป็นการเปรียบเทียบจำนวนผู้ถูกทดสอบในการตอบแบบทดสอบ ในแต่ละข้อถูก โดยพิจารณาจากกลุ่มที่ได้คะแนนรวมสูง  กับกลุ่มที่ได้คะแนนรวมต่ำ โดยใช้ เทคนิค เทคนิค  27%  ของเคลลี่  ( Kelly’s Technique of 27 percent)
www.themegallery.com การคำนวณใช้สูตรอย่างง่าย r  =  สำหรับกลุ่มผู้ถูกทดสอบที่ได้คะแนนสูง  r  =  เมื่อ  R H   คือ จำนวนผู้ถูกทดสอบในกลุ่มที่ได้คะแนนรวมสูงที่ตอบตัวเลือกนั้น R L   คือ จำนวนผู้ถูกทดสอบในกลุ่มที่ได้คะแนนรวมต่ำที่ตอบตัวเลือกนั้น N H   คือ จำนวนผู้ถูกทดสอบในกลุ่มที่ได้คะแนนรวมสูง N L   คือ จำนวนผู้ถูกทดสอบในกลุ่มที่ได้คะแนนรวมต่ำ สำหรับกลุ่มผู้ถูกทดสอบที่ได้คะแนนต่ำ   r =
www.themegallery.com การคำนวณค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบพอยท์ไบซีเรียล การหาค่าอำนาจจำแนกโดยวิธีนี้  ใช้ในกรณี  ที่การกระจายของคะแนนรวมหรือ  การกระจายคะแนนของ ผู้ถูกทดสอบ ที่ตอบแบบทดสอบถูก  หรือการกระจายคะแนนของผู้ถูกทดสอบที่ตอบแบบทดสอบผิดไม่เป็นโค้งปกติ  เงื่อนไขในการใช้สหสัมพันธ์ไบซีเรียลในการหาอำนาจจำแนก  4  ข้อ ดังนี้  ( กังวาล เทียนกัณฑ์เทศน์  (2540, 139-140) 1)   กลุ่มคะแนนมีความต่อเนื่อง และมี  2   ลักษณะ 2)   การกระจายของคะแนนเป็นโค้งปกติ 3)   กลุ่มคะแนนเป็นขนาดใหญ่ 4)   คะแนนที่แบ่งเป็น  2   กลุ่ม มีค่าใกล้  0.50   ในโค้งปกติ
www.themegallery.com การคำนวณค่า  r pb   ใช้สูตร   r pb   =  เมื่อ คือ  ค่าเฉลี่ยของคะแนนของผู้ถูกทดสอบที่ตอบแบบทดสอบข้อนั้นถูก   คือ  ค่าเฉลี่ยของคะแนนของผู้ถูกทดสอบที่ตอบแบบทดสอบข้อนั้นผิด S x   คือ  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนรวมของผู้ถูกทดสอบทั้งหมด P  คือ  สัดส่วนของผู้ถูกทดสอบที่ตอบแบบทดสอบข้อนั้นถูก q  คือ  สัดส่วนของผู้ถูกทดสอบที่ตอบแบบทดสอบข้อนั้นผิด การคำนวณค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
www.themegallery.com เกณฑ์การพิจารณาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบปรนัยรายข้อแบบอิงกลุ่ม เกณฑ์ค่าอำนาจจำแนกที่เป็นบวกการแปลความหมาย ค่าอำนาจจำแนก ความหมาย 1.00 จำแนกได้ดีเลิศ 0.80   ถึง  0.99 จำแนกได้ดีมาก 0.60   ถึง  0.79 จำแนกได้ดี 0.40   ถึง  0.59 จำแนกได้ปานกลาง 0.20   ถึง  0.39 จำแนกได้เล็กน้อย ต่ำกว่า  0.19 จำแนกไม่ได้เลย
www.themegallery.com ขณะที่ภัทรา นิคมานนท์  (2543, 156)   ได้ให้เกณฑ์ในการพิจารณาค่าอำนาจจำแนก ดังนี้ ค่าอำนาจจำแนก ความหมาย 0.20  ถึง  1.00 จำแนกได้ -0.19  ถึง  0.19 จำแนกไม่ได้ - 0.20  ถึง  -1.00 จำแนกกลับ
การหาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบปรนัยรายข้อแบบอิงเกณฑ์ www.themegallery.com วิธีการหาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบปรนัยรายข้อแบบอิงเกณฑ์ 1.  การหาค่าอำนาจจำแนกตามวิธีของเบรนแนน  ( Brennan)  2.  การหาค่าอำนาจจำแนกตามวิธีของคริสปีนและเฟลด์ลูเซน  ( Kryspin and Feldluson)
การหาค่าอำนาจจำแนกตามวิธีของเบรนแนน  ( Brennan)  ,[object Object],www.themegallery.com
ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบทดสอบโดยใช้ดัชนีบี  ( B-index) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com
www.themegallery.com มีสูตรดังนี้  ( Brennan.  1972  :  292 )  เมื่อ  BI  แทน   ค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ   (B-index) R H   แทน   จำนวนผู้ทำแบบทดสอบข้อนั้นถูกของกลุ่มที่ผ่านเกณฑ์   R L   แทน   จำนวนผู้ทำแบบทดสอบข้อนั้นถูกของกลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์   N H   แทน   จำนวนผู้ที่สอบผ่านเกณฑ์   N L   แทน   จำนวนผู้ที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์
เกณฑ์การพิจารณาค่าอำนาจจำแนกและการแปลความหมายค่าดัชนีบี   ( B-index) www.themegallery.com ค่า  ( B-index) หมายความว่าแบบทดสอบนั้นสามารถ + 1 . 00 บ่งชี้ผู้รอบรู้ - ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องทุกคน . 50  ถึง   . 99 บ่งชี้ผู้รอบรู้ - ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ . 20  ถึง  . 49 บ่งชี้ผู้รอบรู้ - ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องเป็นบางส่วน . 00  ถึง  . 19 บ่งชี้ผู้รอบรู้ - ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องน้อยมาก หรือไม่ถูกต้อง ติดลบ บ่งชี้ผู้รอบรู้ - ไม่รอบรู้ ผิดพลาด หรือตรงข้ามกับความจริง
การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกตามแนวคิดของเบรนแนน สามารถใช้ในการวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกตัวลวงได้เช่นกัน ซึ่งทำได้ในกรณีคล้ายกัน แต่ใช้สัดส่วนของผู้ที่ไม่รอบรู้ หรือ กลุ่มผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ขึ้นก่อน คือ   เมื่อ  B  แทน   ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ   U  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบผ่านเกณฑ์ตอบตัวลวงนั้น   L  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบไม่ผ่านเกณฑ์ตอบตัวลวงนั้น   N1  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบผ่านเกณฑ์   N2  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบไม่ผ่านเกณฑ์
[object Object],www.themegallery.com
การหาค่าอำนาจจำแนกตามวิธีของคริสปีนและเฟลด์ลูเซน  ( Kryspin and Feldluson)  www.themegallery.com คริสปีน และเฟลด์ลูเซน  ( Kryspin and Feldluson)  ได้เสนอการหาค่าอำนาจจำแนกที่เรียกว่า ดัชนี   S (index of sensitivity)  หรือดัชนีความไว  ในการวัด ซึ่งมีสูตรดังนี้  ( สำเริง บุญเรืองรัตน์ .  2527 : 88)  สูตร   สำหรับตัวเลือกถูก   เมื่อ  S  แทน   ค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ   RA  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบที่ตอบถูกหลังสอน   RB  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบที่ตอบถูกก่อนสอน   T  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบที่เข้าทดสอบทั้งสองครั้ง
www.themegallery.com   สูตร  เมื่อ  S  แทน  ค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบของตัวลวง   RA  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบที่ตอบของตัวลวงนั้นหลังสอน   RB  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบที่ตอบตัวลวงนั้นก่อนสอน   T  แทน   จำนวนผู้ที่ทำแบบทดสอบที่เข้าทดสอบทั้งสองครั้ง   สำหรับตัวเลือกลวง
www.themegallery.com เกณฑ์การแปลความหมายค่า  S  การพิจารณาคุณภาพของแบบทดสอบในด้านความไว  ( index of sensitivity)   สำหรับตัวเลือกถูก พิจารณาตามระดับค่า  S  ดังนี้ ค่า   S ความหมาย 1.00 เป็นข้อสอบที่ดี เป็นไปตามทฤษฎี .80  ถึง   .99 เป็นข้อสอบที่ดี หาได้ในเชิงปฏิบัติ .30  ถึง   .79 เป็นข้อสอบที่พอใช้ได้ .00  ถึง   .29 เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ควรตัดทิ้ง -1.00  ถึง   .00 เป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้   ควรตัดทิ้ง
[object Object],www.themegallery.com
ตัวอย่างการคำนวณการหาค่าอำนาจจำแนกค่าความไว   www.themegallery.com ในการสอบก่อนสอนและหลังสอน วิชาสถิติเบื้องต้นกับนักศึกษาจำนวน  5  คน จำนวน   20  ข้อ ดังนี้   ข้อที่ 1 2 3   20 ชื่อนักเรียน RB  RA  RB  RA  RB  RA      RB  RA  1.  พัชรี / / / / /         / 2.  มนต์ทิพย์ / / / / /         / 3.  เกรียงไกร / / / / /         / 4.  ธีรกร / /   / /         / 5.  นิวัตร / /   / /         / รวมผู้ตอบถูก 5 5 3 5 5 0     0 5 S 0 .40 -1.00   1.00
www.themegallery.com ผลการพิจารณา   ข้อ  1  ค่า  S = 0  หมายถึง  เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ควรตัดทิ้งเพราะง่ายมาก ข้อ  2 ค่า  S = .40  หมายถึง  เป็นข้อสอบที่พอใช้ได้ ข้อ  3 ค่า  S = -1.00  หมายถึง  เป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ ควรตัดทิ้ง ข้อ  20 ค่า  S = 1.00  หมายถึง   เป็นข้อสอบที่ดี   เป็นไปตามทฤษฎี
การวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบที่เป็นแบบอัตนัย www.themegallery.com การวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบที่เป็นแบบอัตนัย จะต้องทำการแบ่งกลุ่มผู้ถูกทดสอบที่เข้าสอบออกเป็น   2  กลุ่ม คือ  กลุ่มเก่ง ( กลุ่มสูง )  และกลุ่มอ่อน ( กลุ่มต่ำ )  โดยใช้เทคนิค  2 7 %  ของจำนวนผู้ถูกทดสอบที่เข้าสอบ   วิธีการคำนวณจะต้องใช้สูตรของ วิธนี และชาแบอร์ส  ( Whithney and Sabers,  1970   อ้างถึงใน กังวาล เทียนกัณฑ์เทศน์  ,2540  :  152 )
การวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกแบบทดสอบที่เป็นแบบอัตนัย www.themegallery.com ดัชนีค่าอำนาจจำแนก  ( r)  มีสูตร ดังนี้    เมื่อ   r  แทน   ดัชนีค่าอำนาจจำแนก S U   แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มเก่ง S L   แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มอ่อน N H_or_ L   แทน   จำนวนผู้ถูกทดสอบเข้าสอบในกลุ่มเก่งหรือกลุ่มอ่อน X max   แทน คะแนนที่ผู้ถูกทดสอบทำได้สูงสุด X min   แทน คะแนนที่ผู้ถูกทดสอบทำได้ต่ำสุด
ตัวอย่างการคำนวณการหาค่าอำนาจจำแนกที่เป็นแบบอัตนัย www.themegallery.com แบบทดสอบอัตนัยฉบับหนึ่งหลังจากที่นำไปทดสอบกับผู้ถูกทดสอบ  40   คน และตรวจให้คะแนนแล้วจึงทำการแบ่งผู้ถูกทดสอบออกเป็น   2  กลุ่ม คือกลุ่มเก่ง และกลุ่มอ่อน กลุ่มละ  10   คน ด้วยเทคนิค  2 7 %  จากข้อมูลในตารางข้างล่างเป็นคะแนนของแบบทดสอบข้อที่   1  ( ซึ่งมีคะแนนเต็มเท่ากับ  5  คะแนน )  จงหาค่าความยากและอำนาจจำแนก คะแนน กลุ่มเก่ง คะแนน กลุ่มอ่อน F fX F fX 5 3 15 5 0 0 4 5 20 4 1 4 3 2 6 3 3 9 2 0 0 2 5 10 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 รวม 10 41 รวม 10 23
www.themegallery.com = 0.36 แทนค่าในสูตร แบบทดสอบอัตนัยข้อที่  1   มีค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ  0 .36 การแปลความหมายค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบอัตนัย   จะใช้หลักการเช่นเดียวกันกับการวิเคราะห์แบบทดสอบแบบอิงกลุ่ม   คือ  ค่าความยากของแบบทดสอบแต่ละข้อควรอยู่ในช่วง  0.2  - 0.8   และควร  มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่  0.20   ขึ้นไป
[object Object],[object Object],[object Object],www.themegallery.com
www.themegallery.com Thank You !

More Related Content

What's hot

ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 

What's hot (20)

1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

Similar to ค่าอำนาจจำแนก

การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้NU
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติpattya0207
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...JeeraJaree Srithai
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์othanatoso
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdfsewahec743
 
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ทับทิม เจริญตา
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ บทคัดย่อ
บทคัดย่อ krupat9
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 

Similar to ค่าอำนาจจำแนก (20)

การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
Item analysis
Item analysisItem analysis
Item analysis
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัดSpss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
 
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
E8
E8E8
E8
 
Chi square
Chi squareChi square
Chi square
 
ปก1
ปก1ปก1
ปก1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 

ค่าอำนาจจำแนก