SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 33
Downloaden Sie, um offline zu lesen
03/10/54




                     เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                        ้

                                                    โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ
                                                           ั
                                                    โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม




      เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40225 ปี การศึกษา 2551




                     เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                        ้
                                                เชื้อเพลิงทีใช้ มากทีสุด มี 3 ประเภท
                                                            ่        ่
                                            1. น้ ำมัน

                                             2. แก๊สธรรมชำติ

                                            3. ถ่ำนหิ น

                                            ทั้ง 3 จัดเป็ นเชื้อเพลิงซำกดึกดำบรรพ์




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                       1
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
     ถ่ านหิน
                                              - เป็ นหิ นตะกอนเกิดจำกซำกพืช

                                          - มีลกษณะแข็งเปรำะ สี น้ ำตำลดำ
                                               ั

                                          - มีท้ งผิวมันและผิวด้ำน
                                                 ั
                                          -ประกอบด้วยคำร์บอน(C) เป็ นหลัก
                                          อำจมี H, O, N, S, Hg บ้ำง



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
     การเกิดถ่ านหิน

                            -เกิดจำกกำรทับถมกันของซำกพืชที่ภำยใต้ควำมร้อนและ
                            ควำมดันสูงทำให้ขำดออกซิเจน แล้วสลำยตัวช้ำ
                             -โครงสร้ำงหลักของพืชเป็ น คำร์บอน เซลลูโลส
                             น้ ำ และลิกนิน
                             -คำร์บอน เป็ นองค์ประกอบหลักของสำรอินทรี ย ์




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                   2
03/10/54




                     เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                        ้
     ชนิดของถ่ านหิน
      เรำสำมำรถจำแนกถ่ำนหิ นออกตำมจำนวนคำร์บอน และระดับควำมลึก ควำร้อน และ
      เวลำที่เพิ่มขึ้น

                                      1. พีต
                                           - ซากพืชสลายตัวไม่ หมด มี C ตา
                                                                        ่
                                           - ถ้ าจะนามาใช้ ต้องไล่ ความชื้นออกก่ อน
                                                    ้
                                           - ข้ อดี คือ จะมี S เป็ นองค์ ประกอบน้ อย



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                     เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                        ้
                                    2. ลิกไนต์
                                          - มี C สู งกว่ า พีต และ มีความชืนตากว่ า พีต
                                                                           ้ ่
                                          - เมือติดไฟมีควันและเถ้ าถ่ านมาก
                                               ่
                                          - ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา
                                                                           ้


                                 3. ซับบิทูมนัส
                                            ิ
                                      - เป็ นถ่ านหินนานกว่ า ลิกไนต์
                                      - เนืออ่ อน ร่ วนและแข็ง มี C สู งกว่ า ลิกไนต์
                                           ้
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      3
03/10/54




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
    4. บิทูมนัส
            ิ                                                        การเผา C จะให้ พลังงาน
                                                                     ความร้ อน 328 kj/g
           - มี C สู งกว่ า ซับบิทูมนัส
                                    ิ
           - ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงถลุงโลหะ
           - ใช้ เป็ นวัตถุดบในการเป็ นเชื้อเพลิงเคมีอนได้
                            ิ                         ื่         การเผา ถ่ านหินจะให้
       5. แอนทาไซต์                                              พลังงานความร้ อน 306 kj/g
              - มี C สู งมาก
              - ติดไฟยาก เมือติดไฟจะให้ เปลวไฟสีนาเงิน ให้ ความร้ อนสู ง
                            ่                    ้
              - ไม่ มสารอินทรีย์ระเหยออกจากการเผาไหม้
                     ี
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
    กำรใช้ประโยชน์จำกถ่ำนหิ น
         - ใช้เป็ นเชื้อเพลิง
         - ทำถ่ำนกัมมันต์ เพื่อเป็ นสำรดูดกลิ่น ในเครื่ องกรองน้ ำ
         - นำCมำทำไฟเบอร์กลำส แข็งแรงน้ ำหนักเบำ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                              4
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
     สิ่ งที่เกิดจำกกำรเผำไหม้

       1. CO2             2. CO         3. NO2 และ SO2 เกิดฝนกรด
       4. ฝุ่ นและเถ้ำถ่ำน กำจัดด้วยกำรพ่นน้ ำและใช้ไฟฟ้ ำสถิตกำจัดฝุ่ น

        *Y* วิธีกาจัดSO2 ต้ องกาจัดS ออกก่ อนการเผาไหม้ แต่ มข้อเสีย คือ ทาให้ สูญเสีย
                                                             ี
        สารประกอบอินทรีย์ทเี ป็ นประโยชน์
        *Y* การกาจัดหลังการเผาไหม้ พ่ น หินปูนเข้ าไป แล้ ว สลายกลายเป็ น CaO เพือ
                                                                                 ่
        ทาปฏิกริยากับ SO2 ได้ CaSO3
              ิ


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
    2.หินนามัน
          ้
      - เป็ นหิ นตะกอนมีส่วนประกอบสำคัญคือ เคอโรเจน แทรกอยูระหว่ำงชั้นหิ นตะกอน
                                                           ่
       - เคอโรเจน สลำยตัว ทำให้ได้หินน้ ำมัน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                         5
03/10/54




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
     การเกิดหินนามัน
                ้

     - เกิดจำกกำรทับถมของซำกพืชซำกสัตว์เล็กๆภำยใต้แหล่งน้ ำที่มี O2 อย่ำงจำกัด อุณหภูมิ
     และควำมดันสูง
    - ทำให้กลำยเป็ นสำรประกอบเคอโรเจน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
     ส่วนประกอบของหิ นน้ ำมัน
      1. สารประกอบออินทรีย์ มี 2 กลุ่ม
             1. แร่ ซีลเิ กต ควอตซ์ เฟลสปาร์ เคลย์
             2. กลุ่มคาร์ บอเนต ได้ แก่ แคลไซต์ โดโลไมต์

      2. สารประกอบอินทรีย์
             1. บิทูเมน เคอโรเจน
             บิทูเมน สลายในเบนซีน เฮกเซน จึงแยกออกได้ ง่าย

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      6
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
     ปิ โตรเลียม
      นามันทีได้ จากหิน
         ้     ่
      -      อยู่ในรู ปของของเหลว และก๊ าซ
      *y* ถ้ าเป็ นของเหลว --->นามันดิบ ---> มีสารประกอบHC ประเภท แอลเคน และ
                                ้
      ไซโคลแอลเคน
      *y* ถ้ าเป็ นก๊ าซ --->ก๊ าซธรรมชาติ ---> มีสารประกอบHC ที่ C 1-5 อะตอม มี N2 และ
             CO2 บ้ าง
     *y* ก๊ าซธรรมชาติเหลว --->HC ทีมC มากกว่ า และ ถ้ าอุณหภูมสูงจะเป็ นก๊ าซ ---> ถ้ า
                                         ่ ี                       ิ
          อุณหภูมตาจะเป็ นของเหลว
                       ิ ่
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
     ปิ โตรเลียม
     กำรเกิดปิ โตรเลียม
      - กำรทับถมของซำกพืช ซำกสัตว์ เป็ นเวลำนำน ที่อุณหภูมิและควำมดันสูงๆ
                                   ่
      น้ ำมันดิบและก๊ำซจะแทรกตัวอยูระหว่ำงชั้นหิ น
                                     ่ ้
      - ก๊ำซควำมหนำแน่นน้อยกว่ำ จัอยูขำงบน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                        7
03/10/54




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
     ปิ โตรเลียม
     กำรสำรวจปิ โตรเลียม
     1. ธรณี วทยำ
              ิ
     - ศึกษำลักษณะของหิ น วิเครำะห์ซำกพืช ซำกสัตว์ ---> เพือบอกว่ าหินชนิดใดเอือต่ อ
                                                           ่                   ้
           การการกักเก็บปิ โตรเลียม




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
     ปิ โตรเลียม
     กำรสำรวจปิ โตรเลียม
     2. ธรณี ฟิสิ กส์
     -      วัดควำมเข้มสนำมแม่เหล็ก ---> เพือศึกษาขอบเขต ความหนา ความกว้ างของ
                                            ่
            แอ่ งและความลึกของชั้นหิน
     -      วัดความโน้ มถ่ วงของโลก --->เพือให้ ทราบชนิดของชั้นหินอยู่ในระดับใด ช่ วยใน
                                           ่
            การกาหนดขอบเขตและรูปร่ างของแอ่ งได้
     -      วัดคลืนไหวสะเทือน ---> บอกตาแหน่ ง รู ปร่ างลักษณะของโครงสร้ างของชั้นหิน
                  ่


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                        8
03/10/54




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      การกลันนามันปิ โตรเลียม
            ่ ้
      การกลันนามันปิ โตรเลียม เรียนกว่ า การกลันลาดับส่ วน มีหลักการทัวไปคือ
             ่ ้                               ่                      ่
      1. ให้ควำมร้อนแก่น้ ำมันดิบ จนมีอุณหภูมิสูงประมำณ 350-400 C
       2. ฉี ดน้ ำมันดิบเข้ำทำงด้ำนล่ำงของหอกลัน ที่มี
                                               ่
       อุณหภูมิลดลันกันตำมลำดับ โดยส่วนล่ำงสุดจะมี
                      ่
       อุณหภูมิสูงสุด และลดลงตำมควำมสูงของหอกลัน       ่

       3. สำรประกอบไฮโดรคำร์บอนต่ำงๆ จะระเหยเป็ น
       แก๊สลอยขึ้นด้ำนบนของหอกลันและกลันตัวเป็ น
                                ่      ่
       ของเหลวในแต่ละช่วงของหอกลัน ได้ผลผลิตต่ำงๆ
                                  ่

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                     โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      การกลันนามันปิ โตรเลียม
            ่ ้

    ** C ตา จุดเดือดตาระเหยก่ อน
             ่          ่
    ลอยขึนสู ง ควบแน่ นทีหลัง
           ้
    ** C สู ง จุดเดือดสู ง ระเหยทีหลัง
    ลอยตา ควบแน่ นก่ อน
         ่

    เรียงลาดับสารต่ างๆให้ ถูกต้ อง ว่ า
    สารใดระเหยก่ อนหลัง จานวน C
    มากน้ อย ข้ อสอบมีบ่อยๆ


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                     โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                     9
03/10/54




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
       การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม
    เพื่อให้คุณภำพของเชื้อเพลิงดีข้ ึน สำมำรถทำได้ดงนี้
                                                   ั
     1. กระบวนการแตกสลาย (Cracking process)
      การทาให้ แอลเคนโมเลกุลใหญ่ มีขนาดเล็กลง โดย นามาเผาที่ 450 – 550 C ที่ P ต่า อาจมี
      หรือไม่ มีตัวเร่ งปฏิกริยาก็ได้
                            ิ
                               500 C๐
       แอลเคนโมเลกุลใหญ่ ----------------------> แอลเคนโมเลกุลเล็ก + แอลคีน + ก๊ำซ H2
                           ซิลิกำ อลูมินำ
                              500 C๐
            C18H38 -----------------------------> C8H16 + C7H14 + C3H6 + H2
                          ซิลิกำ อลูมินำ

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
       การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม

     2. กระบวนการรีฟอร์ มมิง (Reforming process)
                           ่
      การทาให้ แอลเคนโซ่ ตรงเป็ นโซ่ กง หรือ แบบวง ให้ เป็ นอะโรมาติก โดย ใช้ ความร้ อนและ
                                      ิ่
      ตัวเร่ งปฏิกริยา
                  ิ
                         เผำที่ภำวะเหมำะสม
       แอลเคนโมเลกุลเล็ก ----------------------> สำรประกอบHC ที่มีโซ่กิ่ง
                                ตัวเร่ ง
                                                                               CH3
   CH3 – CH2 – CH2 – CH2 – CH2 – CH3 -----------------------------> CH3 – CH – CH – CH3
                                                                          CH3

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                            10
03/10/54




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
       การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม

     3. กระบวนการแอลคิเลชัน (Alkylation)
     การร่ วมแอลเคนกับแอลคีน โดยมีกรดH2SO4เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยา เกิดเป็ นโมเลกุลแอลเคนที่มีกง
                                                           ิ                                ่ิ

                                                   20 C๐
       แอลเคนโมเลกุลเล็ก+ แอลคีนโมเลกุลเล็ก ----------------------> แอลเคนมีกิ่ง
                                                   H2SO4

        CH3              CH3                                          CH3 CH3
   CH3 –CH2 – CH3 + CH3 – C = CH2 -----------------------------> CH3 – CH – C – CH3
                                                                            CH3
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
       การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม

     4. กระบวนการโอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization)
     เป็ นการรวมสารประกอบแอลคีนโมเลกุลเล็กเข้ าด้วยกันโดยใช้ ความร้ อน หรือตัวเร่ งปฏิกริยา เกิด
                                                                                       ิ
     เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนที่มีจานวนคาร์ บอนอะตอมเพิมขึน และยังมีพนธะคู่เหลืออยู่ใน
                                                             ่ ้            ั
     ผลิตภัณฑ์
                     CH3
                CH3 -CH= CH2                                  CH3
                                      Catalyst          CH3-C-CH2-C=CH2
                .
                      +
                     CH                                       CH3 CH3
                            3
                     CH3 -CH= CH2

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                           11
03/10/54




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
      คุณภาพนามัน
             ้
   - เลขออกเทน (octane number) เป็ นตัวเลขบอกคุณภาพของน้ามันเบนซิน โดยกาหนดให้

    •ไอโซออกเทนบริสุทธิ์ มีโครงสร้ างเป็ น                  • นอร์ มอลเฮปเทนบริสุทธิ์ มีโครงสร้ างเป็ น
    โซ่ กง มีจุดเดือดต่า เผาไหม้ ได้ดี
         ิ่                                                 โซ่ ตรง มีจุดเดือดสู ง เผาไหม้ ได้ไม่ ดี
    เครื่องยนต์ ไม่ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการ                เครื่องยนต์ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการเผา
    เผาไหม้ มีเลขออกเทน 100                                 ไหม้ เลขออกเทน 0




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                     โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
      คุณภาพนามัน
             ้
     •น้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 95 หมายถึง น้ามันที่มีประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ เหมือนกับ
     ของผสมที่มีอตราส่ วนของไอโซออกเทน 95 ส่ วน และเฮปเทน 5 ส่ วน
                 ั

      .. การปรับปรุ งคุณภาพออกเทน ..

       - ใช้ เตตระเอทิลเลด (TEL) ซึ่งทาให้ เครื่องยนต์ เดินเรียบ แต่ เป็ นสารก่อมะเร็ง

       - ใช้ เมทิลเทอร์ เชียรีบิวทิลอีเทอร์ (MTBE) ไม่ มี
       สารตะกัวจึงเป็ นที่นิยมใช้ ในปัจจุบัน
                 ่



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                     โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                                    12
03/10/54




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      คุณภาพนามัน
             ้
             เลขซีเทน
                 เลขซีเทน คือ เลขที่บอกปริมาณของซีเทน ต่ อ แอลฟาเมทิลแนพทาลีน
             • ซีเทน เผาไหม้ ได้ดี เครื่องยนต์ ไม่ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ มี เลขซีเทน 100
                CH 3  (CH 2 )14  CH 3

            • แอลฟาเมทิลแนพทาลีน เผาไหม้ ได้ไม่ ดี เครื่องยนต์ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการเผา    CH3


            ไหม้ เป็ นมี เลขซีเทน 0

           น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 70 หมายถึง น้ามันที่มีประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ เหมือนกับ
           ของผสมที่มีอตราส่ วนของซีเทน 70 % ต่ อ แอลฟาเมทิลแนพทาลีน 30 %
                         ั
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      นามันดีเซล
       ้
                                           ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำรกลันลำดับส่วน แบ่งเป็ น
                                                                    ่
                                           ดีเซลหมุนเร็ ว กับ ดีเซลหมุนช้ำ
                                           -ดีเซลหมุนเร็ ว หรื อ โซล่ำ คุณภำพดีกว่ำ กำร
                                           เผำไหม้ดีกว่ำ
                                           -ดีเซล หมุนช้ำ หรื อ ขี้โล้ คุณภำพต่ำกว่ำ เหมำะ
                                           กำรประมง เดินเรื อ ผลิตไฟฟ้ ำ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                             13
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      นามันดีโซฮอล์
       ้
     เป็ นน้ ำมันที่ผสมระหว่ำงเอทำนอล
     บริ สุทธิ์ 99.5 % ขึ้นไป แต่ถำ 95 %
                                  ้
     ต้องใส่อิมลซิไฟเฮอร์ลงไปด้วย เพื่อไม่ให้
                 ั
     น้ ำมันแยกจำก เอทำนอล
       นามันไบโอดีเซล
          ้
       เป็ นเอสเทอร์ ที่ผลิตจำกน้ ำมันพืชหรื อสัตว์ โดยกระบวนกำร Transrsterification คือ
       นำน้ ำมันพืชหรื อสัตว์ทำปฏิกิริยำกับแอลกอฮอล์ แล้วให้กรด-เบสเป็ นตัวเร่ ง ได้ เอส
              ั
       เทอร์กบ กลีเซอรอล


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      นามันบี5
       ้
     ไบโอดีเซล บี 5 (ฺBiodiesel B5) คือสัดส่วนกำรใช้น้ ำมัน
     ดีเซลผสมกับไบโอดีเซลในสัดส่วน 95 : 5
     โดยปั จจุบนเป็ นสัดส่วนที่บริ ษทผูผลิตรถยนต์ส่วนใหญ่
                ั                   ั ้
     ยอมรับได้ สำหรับ B10 คือกำรเติมน้ ำมันดีเซลและไบโอ
     ดีเซลในอัตรำส่วน 90 : 10 และ B100 คือกำรใช้ไบโอดีเซล
     เพียงอย่ำงเดียวไม่ได้ผสมน้ ำมันดีเซลเลย




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                        14
03/10/54




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
      นามันแก๊ สโซฮอล์
       ้
      คือ น้ ำมันเชื้อเพลิงที่ประด้วย น้ ำมันเบนซินออกเทนต่ำงๆ
      ผสมกับ เอทำนอล
        -แก๊สโซฮอล์ 95 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 95 และ เอ
        ทานอล 5 ส่ วน มีสมบัติเทียบเท่ า น้ามันออกเทน 95
        -แก๊สโซฮอล์ 91 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 90 และ เอทานอล 10 ส่ วน มีสมบัติ
        เทียบเท่ า น้ามันออกเทน 91
        -แก๊สโซฮอล์ E20 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 80 และ เอทานอล 20 ส่ วน

        -แก๊สโซฮอล์ E85 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 15 และ เอทานอล 85 ส่ วน

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
     ขั้นตอนการแยกก๊ าซธรรมชาติ
                           ก๊ าซธรรมชาติ ก๊ าซเหลว

       ก๊ าซธรรมชาติ                                                     ก๊ าซเหลว
                                                   หน่ วยกำจัด H2S
         หน่ วยกำจัดปรอท
                                                    CO2 และ H2O

              สำรดูดซับทีมรูพรุนสู งกำจัด H2O
                         ่ ี
                       K2CO3กำจัดCO2                           แยกก๊ าซไฮโดรคาร์ บอน
                                                              (โดยการกลันลาดับส่ วน)
                                                                         ่

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                       15
03/10/54




                           เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                              ้
                     เพิมควำมดัน
                        ่                                            ลดอุณหภูมิ

                               การแยกก๊ าซไฮโดรคาร์ บอนในก๊ าซธรรมชาติ

                                   ก๊ ำซเปลียนสถำนะเป็ นของเหลว
                                            ่

                เพิมอุณหภูมิ
                   ่                    หอกลันลาดับส่ วน
                                             ่
                                                                         เชื้อเพลิง
                            CH4      C2H6      C3H8 C4H10         LPG
                                                                        ในครัวเรือน
   เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้ ำวัตถุดบในกำรผลิตปุ๋ ยเคมี
                                  ิ                        อุตสำหกรรมปิ โตรเลียม
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                           เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                              ้
        ผลิตภัณฑ์ ทได้ จากกลันก๊ าซธรรมชาติ
                   ี่        ่

       - มีเทน ---> เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้ ำ วัตถุดิบผลิตปุ๋ ยเคมี
       - อีเทน แลพ โพรเพน ---> ใช้ในปิ โตรเคมี           LPG มีกลิ่นเพรำะเติม เมอร์แคปแทน
                                                         (CH3SH), (C2H5SH) , ((CH3)3SH)
       - LPG ---> เชื้อเพลิงหุงตัม

        - ก๊ำซโซลีน ---> NGL




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                          16
03/10/54




                                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                                           ้
      ขั้นตอนการผลิตปิ โตรเคมีภัณฑ์


                         วัตถุดบ
                               ิ                                            ขั้นต้ น                                  ขั้นต่ อเนื่อง

                     ก๊ าซธรรมชาติ                                      มอนอเมอร์                                          พอลิเมอร์
                         นามันดิบ
                          ้                                               เอทิลน
                                                                               ี                                          พอลิเอทิลน
                                                                                                                                   ี
                                                                         โพรพิลน ี                                       พอลิโพรพิลน ี
                                                                          เบนซีน                                            PVC



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                                           ้
           วัตถุดิบ                           ผลิตภัณฑ์ จากอุตสาหกรรมขันต้ น
                                                                       ้               ผลิตภัณฑ์ จากอุตสาหกรรมต่ อเนื่อง ประเภทอุตสาหกรรม
                                                                                            พอลิเอทิลีน
                                                                                            พอลิโพรพิลีน                     อุตสาหกรรมขึ ้นรูป
                                                                                            พอลิไวนิลคลอไรด์                 พลาสติก

                                   อีเทน                                                    พอลิสไตรี น อื่น ๆ
                                                           เอทิลน โพรพิลน
                                                                ี       ี
     ก๊ าซธรรมชาติ                                                                          วัตดิบเส้ นใยสังเคราะห์
                                                                                                ุ
                                                             บิวทาไดอีน                     เอทิลีนไกลคอล                    อุตสาหกรรมเส้ นใย
                                  โพรเพน                                                    กรดเทเรฟทาลิก
                                                                                            อื่น ๆ
                                                                                            ยางสังเคราะห์
                                                                                            ยางสไตรี นบิวทาไดอีน             อุตสาหกรรมยาง
                                                                                            ยางบิวทาไดอีน
                                                          เบนซิน สไตรี น
                                                                                            อื่น ๆ
     น ้ามันดิบ                 แนฟทา                     โทลูอีน
                                                          ไซลีน                             วัตถุดิบสี ตัวทาละลาย
                                                                                                                             อุตสาหกรรมสี
                                                                                            พอลิยเู รเทน อื่น ๆ

                                                                                            สารซักล้ าง                     อุตสาหกรรมผงซักฟอก
                                                                                                                            และสารเคลือบผิว
        รูปที่ 12.6 แผนภาพแสดงขั ้นตอนในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี                                อื่น ๆ



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                                                                                17
03/10/54




                      เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                         ้
      พอลิเมอร์

     พอลิเมอร์ คือ สำรประกอบที่มีโมเลกุลขนำดใหญ่ ซึ่งเกิดจำกสำรโมเลกุลเล็กจำนวน
     มำกยึดต่อกันด้วยพันธะเคมี โดยโมเลกุลเล็กหรื อหน่วยย่อย เรี ยกว่ำ มอนอเมอร์

      มอนอเมอร์ (monomer) หมำยถึง สำรตั้งต้นที่ใช้เตรี ยมพอลิเมอร์ เป็ นโมเลกุล หรื อ
      หน่วยเล็ก ๆ ที่มำเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ แล้วเกิดเป็ นพอลิเมอร์ มอนอ
      เมอร์ส่วนใหญ่เป็ นสำรที่ไม่อิ่มตัว และมีขนำดเล็ก เช่น เอทิลีน (CH2 = CH2) โพรพิ
      ลีน (CH3CH = CH2) และ ไวนิลคลอไรด์ (CH2=CHCl) เป็ นต้น



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                      เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                         ้
      พอลิเมอร์

     ถ้ำมอนอเมอร์เป็ นสำรชนิดเดียวกัน เรี ยกว่ำ โฮโมพอลิเมอร์ เช่น แป้ ง เซลลูโลส
     ยำงพำรำ



   ถ้ำมอนอเมอร์เป็ นสำรต่ำงชนิดกัน เรี ยกว่ำ โค-พอลิเมอร์หรื อพอลิเมอร์ร่วม เช่น โปรตีน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      18
03/10/54




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      พอลิเมอร์




  สำรมอนอเมอร์ส่วนใหญ่เป็ นสำรไฮโดรคำร์บอนไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็ นผลพลอยได้จำกกำร
  กลันปิ โตรเลียมและกำรแยกแก๊สธรรมชำติ เช่นเอทิลีน เตตระพลูออโรเอทิลีน ไอ
     ่
  โซปรี น
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      การเกิดพอลิเมอร์
     • เอทิลีน เป็ นมอนอเมอร์ที่มีขนำดเล็กที่สุด ได้จำกกำรแยกแก๊สธรรมชำติ เมื่อรวมตัว
     กันได้เป็ นพอลิเอทิลีน เป็ นพอลิเมอร์ที่แข็ง เหนียวและไม่ทำปฏิกิริยำกับสำรเคมี
     นำมำหลอมและขึ้นรู ปได้ เช่น ถุง สำยยำง ฟิ ล์ม ของเล่น
     • เมื่อนำเอทิลีนมำทำปฏิกิริยำกับฟลูออรี น จะได้เตตระฟลูออโรเอทิลีน ซึ่งรวมตัวเกิด
     เป็ นพอลิเมอร์ คือ พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน เรี ยกว่ำ เทฟลอน ใช้เคลือบภำชนะหุง
     ต้มช่วยป้ องกันไม่ให้อำหำรติดภำชนะ
     • เมื่อนำเอทิลีนมำทำปฏิกิริยำกับแก๊สคลอรี น จะได้ไวนิลคลอไรด์ ซึ่งรวมกันเกิดเป็ น
     พอลิเมอร์ คือ พอลิไวนิลคลอไรด์ (polyvinyl chloride) หรื อเรี ยกว่ำ PVC ใช้ทำท่อ
     น้ ำฉนวนหุมสำยไฟ และภำชนะบรรจุสำรเคมี
                 ้
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                     19
03/10/54




                                    เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                                       ้
          การเกิดพอลิเมอร์

               ปฏิกิริยำพอลิเมอร์ไรเซชัน
               ปฏิกิริยำกำรเกิดพอลิเมอร์หรื อปฏิกิริยำพอลิเมอร์ไรเซชัน หมำยถึง ปฏิกิริยำที่
               เกิดจำกมอนอเมอร์มำรวมกันเป็ นพอลิเมอร์
               ปฏิกิริยำพอลิเมอร์ไรเซชันแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ

               ก. ปฏิ กิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น (Codensation polymerization)

               ข. ปฏิ กิริยาพอลิเมอร์ ไรเซชันแบบเติม (addition polymerization)

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                    เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                                       ้
      การเกิดพอลิเมอร์
   ก. ปฏิกริยำพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น (Codensation polymerization) หมายถึง
           ิ
   ปฏิกริยาทีเ่ กิดจากมอนอเมอร์ ทมีหมู่ฟังก์ ชันมากกว่ า 1 หมู่ มาทาปฏิกริยากัน และเกิด
       ิ                            ี่                                  ิ
   ผลิตภัณฑ์ เป็ นโมเลกุลเล็ก ๆ ด้ วย เช่ น H2O , HCl , NH3 , CH3OH เป็ นต้ น ตัวอย่ าง
   ของปฏิกริยาพอลิเมอไรเซชันของยูเรียฟอร์ มลดีไฮด์ เป็ นต้ น
             ิ                                   ั
                                                                                       O                                      O
                                                   O                             NH2 - C - NH - CH2 - OH           H -NH - C - NH - CH2 - OH
       O               O
                                    H2SO4
NH2 - C - NH2 + H - C - H                   NH2 - C - NH - CH2 - OH                   มอนอเมอร์                                   มอนอเมอร์
                                                                                                                H2SO4
    ยูเ รี ย      ฟอร์ มล ดี ไฮด์
                        ั                   ยูเ รี ยฟอร์ มลดีไฮด์ (มอนอเมอร์ )
                                                          ั                                O                        O
                                                                                     NH2 - C - NH - CH2 - NH - C - NH - CH2 - OH              + H2O
                                                                                                            ไดเมอร์


                                                                                           O                        O
                                                                                    (NH2 - C - NH - CH2 - NH - C - NH - CH2 -)n               + nH 2O
                                                                                                  พอลิเ มอร์ (พอลิยเู รี ยฟอร์มลดีไฮด์)
                                                                                                                               ั


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                                                                             20
03/10/54




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      การเกิดพอลิเมอร์

ข. ปฏิ กิริยาพอลิเมอร์ ไรเซชันแบบเติม (addition polymerization) หมำยถึง ปฏิกิริยำที่เกิด
จำกมอนอเมอร์มำรวมกันโดยไม่มีสำรโมเลกุลเล็ก ๆเกิดขึ้น ส่วนใหญ่จะเกิดจำกมอนอเมอร์
ที่เป็ นสำรอินทรี ยไม่อิ่มตัว เช่น เอทิลีน โพรพิลีน ไวนิลคลอไรด์ และสไตรี น เป็ นต้น
                   ์
                                     ความร้อน ความดัน     CH3 - CH2 - CH = CH2
   CH2=CH2 + CH 2=CH2
                                      ตัวเร่ งปฏิกิริยา
                                                                  ไดเมอร์
                                                                        CH2=CH2

CH3 - CH2 (- CH2 - CH2 -)n CH = CH2                        CH3 - CH2 - CH2 - CH2 - CH = CH2
           พอลิเมอร์ (พอลิเอทิลีน)                                  ไตรเมอร์

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      โครงสร้ างของพอลิเมอร์

     แบ่ งโครงสร้ างของพอลิเมอร์ ท้งที่เกิดขึนในธรรมชาติและที่สังเคราะห์ ออกได้เป็ น 3 แบบดังนี้
                                   ั         ้

     ก. โครงสร้ างพอลิเมอร์ แบบเส้ น (linear polymer)

     ข. โครงสร้ างพอลิเมอร์ แบบกิง (branched polymer)
                                 ่

     ค. โครงสร้ างพอลิเมอร์ แบบร่ างแห่


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                             21
03/10/54




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
      โครงสร้ างของพอลิเมอร์
          ก. โครงสร้ำงพอลิเมอร์แบบเส้น (linear polymer)
          - เกิดจำกมอนอเมอร์ยดต่อกันเป็ นสำยยำว
                             ึ
          - โครงสร้ำงแบบนี้ทำให้โซ่พอลิเมอร์เรี ยงชิดกันมำกกว่ำแบบอื่น
          - ทำให้มีควำมหนำแน่นสูง มีจุดหลอมเหลวสูง รวมทั้งมีลกษณะแข็ง เหนียวและ
                                                             ั
          ขุ่นมำกกว่ำโครงสร้ำงแบบอื่น ๆ
          - เมื่อได้รับควำมร้อนจะอ่อนตัวและเมื่ออุณหภูมิลดลงจะแข็งตัวใหม่ สำมำรถ
          เปลี่ยนสถำนะกลับไปกลับมำได้โดยไม่ทำให้สมบัติของพอลิเมอร์เปลี่ยนแปลง
          ได้แก่ พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิโพรพิลน พอลิสไตรีน และ พอลิเอทิลนเทเรฟทาเลต
                                            ี                         ี
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
      โครงสร้ างของพอลิเมอร์
          ข. โครงสร้ำงพอลิเมอร์แบบกิ่ง (branched polymer)
          - เป็ นโครงสร้ำงที่มีโซ่กิ่งแตกออกจำกโครงสร้ำงหลัก
          - กำรที่มีโซ่กิ่ง ทำให้โซ่พอลิเมอร์ไม่สำมำรถจัดเรี ยงให้ชิดกันได้มำก ควำม
                                        ่
          หนำแน่นจึงต่ำ มีควำมยืดหยุนได้ และมีจุดหลอมเหลวต่ำ
          - เมื่อได้รับควำมร้อนจะอ่อนตัว และเมื่ออุณหภูมิลดลงจะแข็งตัวใหม่
          - สำมำรถเปลี่ยนสถำนะกลับไปกลับมำได้โดยไม่ทำให้สมบัติของพอลิเมอร์
          เปลี่ยนแปลง เช่นเดียวกับพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้ำงแบบเส้น
          ตัวอย่ำงของพอลิเมอร์แบบกิ่งได้แก่ พอลิเอทิลีนชนิดควำมหนำแน่นต่ำ
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                         22
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      โครงสร้ างของพอลิเมอร์
          ค. โครงสร้ำงพอลิเมอร์แบบร่ ำงแห่
          - เป็ นโครงสร้ำงของพอลิเมอร์ที่เกิดจำกโพลิเมอร์แบบเส้นหรื อแบบกิ่งมำ
                                                                      ื ่
          เชื่อมต่อกันเป็ นร่ ำงแห ทำให้โครงสร้ำงมีควำมแข็งแรงมำก ไม่ยดหยุน
          ได้แก่ พอลิยเู รี ยฟอร์มลดีไฮด์ ใช้ทำ เบกำไลด์ เมลำนีน ใช้ทำถ้วยชำม
                                  ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ผลิตภัณฑ์ จากพอลิเมอร์
       1. พลาสติก
        มีสมบัตพเิ ศษ คือ แข็งแรงแต่ เบา ทนทานต่ อนา อากาศและสารเคมี เป็ นฉนวนไฟฟา
               ิ                                    ้                            ้
        และความร้ อนทีดี นาไปขึนรู ปทรงต่ างๆ ได้ โดยแบ่ งออกเป็ น
                       ่        ้


                             1. เทอร์ มอพลาสติก (thermoplastic)



                                2. เทอร์ มอเซต (thermoset)

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      23
03/10/54




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
    1. พลาสติก
          1. เทอร์ มอพลาสติก (thermoplastic)
       เทอร์ มอพลาสติก (thermoplastic) คือพลาสติกทีมโครงสร้ างแบบโซ่ ตรงหรือโซ่ กงมี
                                                   ่ ี                           ิ่
       สมบัตดงนี้
              ิ ั
           - เมื่อได้รับความร้ อนจะอ่อนตัว แต่ ถ้าลดอุณหภูมิจะกลับมาแข็งตัวเช่ นเดิม
           - มีโครงสร้ างเป็ นพอลิเมอร์ แบบโซ่ ยาว    เช่ น พอลิเอทิลน พอลิโพรพิลน พอลิเต
                                                                     ี           ี
           - ยืดหยุ่น และโค้ งงอได้                   ตระฟลูออโรเอทิลน พอลิไวนิลคลอไรด์
                                                                       ี

           - สามารถเปลียนรู ปร่ างกลับไปมาได้หรือนากลับมาใช้ ใหม่ ได้
                       ่
           - สมบัติไม่ มีการเปลียนแปลง
                                ่
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                          เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                             ้
    1. พลาสติก
          2. เทอร์ มอเซต (thermoset)
     เทอร์ มอเซต (thermoset) คือ พลาสติกทีมโครงสร้ างแบบตาข่ าย มีสมบัตดงนี้
                                          ่ ี                          ิ ั
      - เมื่อได้รับความร้ อนจะไม่ อ่อนตัว แต่ จะเกิดการแตกหัก
      - มีโครงสร้ างเป็ นพอลิเมอร์ แบบโซ่ กง และตาข่ าย
                                           ิ่
      - มีความแข็งแรงมาก
                                                 เช่ น เบคะไลท์ ใช้ ทาด้ามจับกระทะ ด้ามจับเตารีด
      - ไม่ สามารถเปลียนรู ปร่ างได้หรือ
                       ่
                                                 และปลักไฟฟ้ า พอลิยูเรียฟอร์ มาลดีไฮด์ ใช้ ทา
                                                           ๊
      กลับมาใช้ ใหม่ ไม่ ได้
                                                 เต้ าเสี ยบไฟฟ้ า และแผ่ นฟอร์ ไมกาปูโต๊ ะ
      - สมบัติมีการเปลียนแปลง
                       ่
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                              24
03/10/54




                      เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                         ้




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                      เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                         ้
       การลดปัญหาในการกาจัดพลาสติก ได้ มการคิดค้ นพลาสติกชนิดต่ างๆ เช่ น
                                        ี

       - พลาสติกที่ย่อยสลายทางชีวภาพ         - พลาสติกที่แปรรู ปเพือใช้ ใหม่ (plastic
                                                                   ่
       (biodegredable) คือ พลาสติกที่        recycle) คือพลาสติกที่ใช้ แล้วสามารถ
       สามารถย่ อยสลายได้เองตามธรรมชาติ      นากลับไปผ่ านขั้นตอนการผลิต แล้ว
       หรือจุลนทรีย์
              ิ                              สามารถนากลับมาใช้ ใหม่ ได้




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                        25
03/10/54




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      เส้นใย                            เส้นใย

         เส้นใยธรรมชำติ           เส้นใยกึ่งสังเครำะห์     เส้นใยสังเครำะห์

           - เซลลูโลส               -เรนยอน                 -พอลิเอสเทอร์
           -โปรตีน                                          -พอลิอะคริ โลไนไตรต์
           -ไยหิ น                                          -พอลิเอไมด์
                                                            -อื่นๆ


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                         เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                            ้
      เส้นใย
       เส้นใยธรรมชำติ

        -นุ่น ใยมะพร้ำว ลินิน ปอ กัญชำ สับปะรด ฝ้ ำย
        -ขนแกะ ขนแพะ รังไหม จำพวกนี้เมื่อเปี ยก ควำมเหนียวและควำ
        แข็งแรงจะลดลง ถูกแดดนำนๆจะกรอบ
        -ฝ้ ำยขึ้นรำได้ง่ำย




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                  26
03/10/54




                           เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                              ้
      เส้นใย
       เส้นใยกึ่งสังเครำะห์

       -เซลลูโลสแอซีเตต
                                                   H2SO4
                     เซลลูโลส + กรดแอซีติกเข้มข้น -----------> เซลลูโลสแอซีเตต



      - เรยอน หรื อ เซลลูโลสซำนเทต



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                           เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                              ้
      เส้นใย
       กำรเตรี ยมเส้นใย
                                                             ่
     1. ใช้กระบวนกำรคิวปรำโมเนียม โดยกำรเปลี่ยนเซลลูโลสให้อยูในรู ปของสำรละลำย
         Cu2+ + 2OH- ------> Cu(OH)2
     2. แล้วนำไปทำปฏิกิริยำกับ NH3 เกิดเป็ น Cu(NH3)4(OH)2
         Cu(OH)2 + 4NH3 ------> Cu(NH3)4(OH)2
          Polymer จะไม่ละลำยในกรดH2SO4 ทำให้ได้เรยอนขึ้นมำ เรี ยกว่ำ
          คิวปรำโมเนียมเรยอน


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                         27
03/10/54




                      เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                         ้
      เส้นใย
       เส้นใยสังเครำะห์
       คุณภำพดี ทนต่อสภำวะต่ำงๆได้ดี

      - ไนลอน (พอลิเอไมด์) ไนลอน 6,6 ไนลอน 6 ,10

      - โอรอน (พอลิคริ โลไนไตรต์ )

     - ดำดรอน (โทเรเทโทรอน) เกิดจำก เอทีลีนไกลคอล กับ ไดเมทิลเทเรฟทำเลต




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                      เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                         ้
      ยำง
       1. ยำงธรรมชำติ
       2. ยำงสังเคำระห์
    ยำงธรรมชำติ
    -เก็บไว้นำนจะบูด  ต้องเติมแอมโมเนียเป็ นสำรกันบูดและป้ องกันกำรจับตัวของน้ ำยำง
    - วิธีกำรแยกเนื้อยำงออกจำกน้ ำยำง  เติมกรดแอซีติก หรื อ ฟอร์มิก เพื่อให้เนื้อยำง
    รวมตัวและตกตะกอน



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      28
03/10/54




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
      ยำง
        โครงสร้ำงทำงเคมีของเนื้อยำง มอนอเมอร์ คือ ไอโซพรี น




            ยำงพำรำ เชื่อมกันแบบ ซีส - พอลิไอโซพรี น




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                           ้
      ยำง
         ยำงกัตตำ ยำงบำรำทำ และ ต้นยำงซีคเคิล




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                           29
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ยำง
                        ่
       -ยำง มีควำมยืดหยุนสูง
       -มีแรงแวนเดอร์วำลส์ ยึดเหนี่ยวระหว่ำงโซ่ของพอลิเมอร์เข้ำไว้ดวยกัน
                                                                   ้
       -ยำงพำรำ มีควำมต้ำนทำนแรงดึงสูง ทนต่อกำรขัดถู เป็ นฉนวนที่ดี
       -ยำงพำรำ ทนน้ ำ น้ ำมันพืช สัตว์ ไม่ทนต่อน้ ำมันเบนซินและตัวทำละลำยอินทรี ยื
       -เมื่อได้รับควำมร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว
       -เมื่ออุณหภูมิต่ำจะแข็งเปรำะ


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ยำง
       วิธีพฒนำคุณภำพ
            ั
        1. วัลคำไนเซชัน
        -ค้นพบโดย กูดเยียร์
        -เอำยำงไปทำปฏิกิริยำกับS8 ที่อุณหภูมิสูงกว่ำจุดหลอมเหลวของ S8
        - ทำให้ยำงมีควำมทนทำนต่อสภำพต่ำงๆได้ดีข้ ึน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      30
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ยำง
       วิธีพฒนำคุณภำพ
            ั
        2. เติมซีลิกำ ซีลิเกต เพิ่มควำมควำมแข็งแรง

        3.เติมผงถ่ำน ป้ องกันกำรสึ กกร่ อนและถูกทำลำยด้วยแสงได้ดี

        ยำงธรรมชำติ  ถุงมือแพทย์ กระเป๋ ำน้ ำร้อน ยำงยืด ถุงยำงอนำมัย




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ยำงสังเครำะห์
       พอลิบิวทำไดอีน ---> ทำยำงรถยนต์
       ยำง SBR ยำงสไตรี นบิวทำไดอีน ---> ยำงรถยนต์
       คุณสมบัติ เกิดปฏิกิริยำกับ ออกซิเจน ได้ยำกกว่ำธรรมชำติ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      31
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี

       -เติมใยแก้ว ---> ทำไพเบอร์กลำส
       -เติมแกร์ไฟต์ ---> นำไฟฟ้ ำ
       -กำวพอลิไวนิลแอซีเตต ---> กำวลำเท็กซ์
       -กำวอะคริ ลิก กำวไซยำโนอะคลิเลต ---> กำวอีพอกซี กำวช้ำง
                                           ่ ั
       -พอลิเมอร์บำงชนิดนำไฟฟ้ ำได้ ขึ้นอยูกบโครงสร้ำง เช่น พอลีอะเซทีลีน
       -SBS ผสมกับยำงมะตอย ---> เชื่อมรอยต่อของถนนคอนกรี ต รองรับกำรขยำยตัว


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                     โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                     โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                    32
03/10/54




                       เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์
                          ้
      ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี

       - พลำสติกพีวซี คลุมดิน เก็บควำมชื้น ทำตำข่ำย
                   ี

      - พอลิเอทีลีนปูนพื้นดินเก็บน้ ำ

     -โฟม คือ พลำสติกผ่ำนกำรเติมแก๊สเพื่อทำให้เกิดฟองอำกำศแทรกตัว
     ระหว่ำงเนื้อพลำสติก
     -โฟมที่มี CFCs แทรกตัวอยู่ จะเป็ นฉนวนกับควำมร้อนได้ดี



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                 33

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von jirat266

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีjirat266
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบjirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydratejirat266
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนjirat266
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223jirat266
 

Mehr von jirat266 (15)

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Dna
DnaDna
Dna
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
lipid
lipidlipid
lipid
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
 

ปิโตรเลียม

  • 1. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ ั โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40225 ปี การศึกษา 2551 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ เชื้อเพลิงทีใช้ มากทีสุด มี 3 ประเภท ่ ่ 1. น้ ำมัน 2. แก๊สธรรมชำติ 3. ถ่ำนหิ น ทั้ง 3 จัดเป็ นเชื้อเพลิงซำกดึกดำบรรพ์ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 1
  • 2. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ถ่ านหิน - เป็ นหิ นตะกอนเกิดจำกซำกพืช - มีลกษณะแข็งเปรำะ สี น้ ำตำลดำ ั - มีท้ งผิวมันและผิวด้ำน ั -ประกอบด้วยคำร์บอน(C) เป็ นหลัก อำจมี H, O, N, S, Hg บ้ำง จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การเกิดถ่ านหิน -เกิดจำกกำรทับถมกันของซำกพืชที่ภำยใต้ควำมร้อนและ ควำมดันสูงทำให้ขำดออกซิเจน แล้วสลำยตัวช้ำ -โครงสร้ำงหลักของพืชเป็ น คำร์บอน เซลลูโลส น้ ำ และลิกนิน -คำร์บอน เป็ นองค์ประกอบหลักของสำรอินทรี ย ์ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 2
  • 3. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ชนิดของถ่ านหิน เรำสำมำรถจำแนกถ่ำนหิ นออกตำมจำนวนคำร์บอน และระดับควำมลึก ควำร้อน และ เวลำที่เพิ่มขึ้น 1. พีต - ซากพืชสลายตัวไม่ หมด มี C ตา ่ - ถ้ าจะนามาใช้ ต้องไล่ ความชื้นออกก่ อน ้ - ข้ อดี คือ จะมี S เป็ นองค์ ประกอบน้ อย จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ 2. ลิกไนต์ - มี C สู งกว่ า พีต และ มีความชืนตากว่ า พีต ้ ่ - เมือติดไฟมีควันและเถ้ าถ่ านมาก ่ - ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา ้ 3. ซับบิทูมนัส ิ - เป็ นถ่ านหินนานกว่ า ลิกไนต์ - เนืออ่ อน ร่ วนและแข็ง มี C สู งกว่ า ลิกไนต์ ้ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 3
  • 4. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ 4. บิทูมนัส ิ การเผา C จะให้ พลังงาน ความร้ อน 328 kj/g - มี C สู งกว่ า ซับบิทูมนัส ิ - ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงถลุงโลหะ - ใช้ เป็ นวัตถุดบในการเป็ นเชื้อเพลิงเคมีอนได้ ิ ื่ การเผา ถ่ านหินจะให้ 5. แอนทาไซต์ พลังงานความร้ อน 306 kj/g - มี C สู งมาก - ติดไฟยาก เมือติดไฟจะให้ เปลวไฟสีนาเงิน ให้ ความร้ อนสู ง ่ ้ - ไม่ มสารอินทรีย์ระเหยออกจากการเผาไหม้ ี จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ กำรใช้ประโยชน์จำกถ่ำนหิ น - ใช้เป็ นเชื้อเพลิง - ทำถ่ำนกัมมันต์ เพื่อเป็ นสำรดูดกลิ่น ในเครื่ องกรองน้ ำ - นำCมำทำไฟเบอร์กลำส แข็งแรงน้ ำหนักเบำ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 4
  • 5. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ สิ่ งที่เกิดจำกกำรเผำไหม้ 1. CO2 2. CO 3. NO2 และ SO2 เกิดฝนกรด 4. ฝุ่ นและเถ้ำถ่ำน กำจัดด้วยกำรพ่นน้ ำและใช้ไฟฟ้ ำสถิตกำจัดฝุ่ น *Y* วิธีกาจัดSO2 ต้ องกาจัดS ออกก่ อนการเผาไหม้ แต่ มข้อเสีย คือ ทาให้ สูญเสีย ี สารประกอบอินทรีย์ทเี ป็ นประโยชน์ *Y* การกาจัดหลังการเผาไหม้ พ่ น หินปูนเข้ าไป แล้ ว สลายกลายเป็ น CaO เพือ ่ ทาปฏิกริยากับ SO2 ได้ CaSO3 ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ 2.หินนามัน ้ - เป็ นหิ นตะกอนมีส่วนประกอบสำคัญคือ เคอโรเจน แทรกอยูระหว่ำงชั้นหิ นตะกอน ่ - เคอโรเจน สลำยตัว ทำให้ได้หินน้ ำมัน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 5
  • 6. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การเกิดหินนามัน ้ - เกิดจำกกำรทับถมของซำกพืชซำกสัตว์เล็กๆภำยใต้แหล่งน้ ำที่มี O2 อย่ำงจำกัด อุณหภูมิ และควำมดันสูง - ทำให้กลำยเป็ นสำรประกอบเคอโรเจน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ส่วนประกอบของหิ นน้ ำมัน 1. สารประกอบออินทรีย์ มี 2 กลุ่ม 1. แร่ ซีลเิ กต ควอตซ์ เฟลสปาร์ เคลย์ 2. กลุ่มคาร์ บอเนต ได้ แก่ แคลไซต์ โดโลไมต์ 2. สารประกอบอินทรีย์ 1. บิทูเมน เคอโรเจน บิทูเมน สลายในเบนซีน เฮกเซน จึงแยกออกได้ ง่าย จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 6
  • 7. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ปิ โตรเลียม นามันทีได้ จากหิน ้ ่ - อยู่ในรู ปของของเหลว และก๊ าซ *y* ถ้ าเป็ นของเหลว --->นามันดิบ ---> มีสารประกอบHC ประเภท แอลเคน และ ้ ไซโคลแอลเคน *y* ถ้ าเป็ นก๊ าซ --->ก๊ าซธรรมชาติ ---> มีสารประกอบHC ที่ C 1-5 อะตอม มี N2 และ CO2 บ้ าง *y* ก๊ าซธรรมชาติเหลว --->HC ทีมC มากกว่ า และ ถ้ าอุณหภูมสูงจะเป็ นก๊ าซ ---> ถ้ า ่ ี ิ อุณหภูมตาจะเป็ นของเหลว ิ ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ปิ โตรเลียม กำรเกิดปิ โตรเลียม - กำรทับถมของซำกพืช ซำกสัตว์ เป็ นเวลำนำน ที่อุณหภูมิและควำมดันสูงๆ ่ น้ ำมันดิบและก๊ำซจะแทรกตัวอยูระหว่ำงชั้นหิ น ่ ้ - ก๊ำซควำมหนำแน่นน้อยกว่ำ จัอยูขำงบน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 7
  • 8. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ปิ โตรเลียม กำรสำรวจปิ โตรเลียม 1. ธรณี วทยำ ิ - ศึกษำลักษณะของหิ น วิเครำะห์ซำกพืช ซำกสัตว์ ---> เพือบอกว่ าหินชนิดใดเอือต่ อ ่ ้ การการกักเก็บปิ โตรเลียม จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ปิ โตรเลียม กำรสำรวจปิ โตรเลียม 2. ธรณี ฟิสิ กส์ - วัดควำมเข้มสนำมแม่เหล็ก ---> เพือศึกษาขอบเขต ความหนา ความกว้ างของ ่ แอ่ งและความลึกของชั้นหิน - วัดความโน้ มถ่ วงของโลก --->เพือให้ ทราบชนิดของชั้นหินอยู่ในระดับใด ช่ วยใน ่ การกาหนดขอบเขตและรูปร่ างของแอ่ งได้ - วัดคลืนไหวสะเทือน ---> บอกตาแหน่ ง รู ปร่ างลักษณะของโครงสร้ างของชั้นหิน ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 8
  • 9. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การกลันนามันปิ โตรเลียม ่ ้ การกลันนามันปิ โตรเลียม เรียนกว่ า การกลันลาดับส่ วน มีหลักการทัวไปคือ ่ ้ ่ ่ 1. ให้ควำมร้อนแก่น้ ำมันดิบ จนมีอุณหภูมิสูงประมำณ 350-400 C 2. ฉี ดน้ ำมันดิบเข้ำทำงด้ำนล่ำงของหอกลัน ที่มี ่ อุณหภูมิลดลันกันตำมลำดับ โดยส่วนล่ำงสุดจะมี ่ อุณหภูมิสูงสุด และลดลงตำมควำมสูงของหอกลัน ่ 3. สำรประกอบไฮโดรคำร์บอนต่ำงๆ จะระเหยเป็ น แก๊สลอยขึ้นด้ำนบนของหอกลันและกลันตัวเป็ น ่ ่ ของเหลวในแต่ละช่วงของหอกลัน ได้ผลผลิตต่ำงๆ ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การกลันนามันปิ โตรเลียม ่ ้ ** C ตา จุดเดือดตาระเหยก่ อน ่ ่ ลอยขึนสู ง ควบแน่ นทีหลัง ้ ** C สู ง จุดเดือดสู ง ระเหยทีหลัง ลอยตา ควบแน่ นก่ อน ่ เรียงลาดับสารต่ างๆให้ ถูกต้ อง ว่ า สารใดระเหยก่ อนหลัง จานวน C มากน้ อย ข้ อสอบมีบ่อยๆ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 9
  • 10. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม เพื่อให้คุณภำพของเชื้อเพลิงดีข้ ึน สำมำรถทำได้ดงนี้ ั 1. กระบวนการแตกสลาย (Cracking process) การทาให้ แอลเคนโมเลกุลใหญ่ มีขนาดเล็กลง โดย นามาเผาที่ 450 – 550 C ที่ P ต่า อาจมี หรือไม่ มีตัวเร่ งปฏิกริยาก็ได้ ิ 500 C๐ แอลเคนโมเลกุลใหญ่ ----------------------> แอลเคนโมเลกุลเล็ก + แอลคีน + ก๊ำซ H2 ซิลิกำ อลูมินำ 500 C๐ C18H38 -----------------------------> C8H16 + C7H14 + C3H6 + H2 ซิลิกำ อลูมินำ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม 2. กระบวนการรีฟอร์ มมิง (Reforming process) ่ การทาให้ แอลเคนโซ่ ตรงเป็ นโซ่ กง หรือ แบบวง ให้ เป็ นอะโรมาติก โดย ใช้ ความร้ อนและ ิ่ ตัวเร่ งปฏิกริยา ิ เผำที่ภำวะเหมำะสม แอลเคนโมเลกุลเล็ก ----------------------> สำรประกอบHC ที่มีโซ่กิ่ง ตัวเร่ ง CH3 CH3 – CH2 – CH2 – CH2 – CH2 – CH3 -----------------------------> CH3 – CH – CH – CH3 CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 10
  • 11. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม 3. กระบวนการแอลคิเลชัน (Alkylation) การร่ วมแอลเคนกับแอลคีน โดยมีกรดH2SO4เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยา เกิดเป็ นโมเลกุลแอลเคนที่มีกง ิ ่ิ 20 C๐ แอลเคนโมเลกุลเล็ก+ แอลคีนโมเลกุลเล็ก ----------------------> แอลเคนมีกิ่ง H2SO4 CH3 CH3 CH3 CH3 CH3 –CH2 – CH3 + CH3 – C = CH2 -----------------------------> CH3 – CH – C – CH3 CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การปรับปรุงโครงสร้ างของโมเลกุลปิ โตรเลียม 4. กระบวนการโอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization) เป็ นการรวมสารประกอบแอลคีนโมเลกุลเล็กเข้ าด้วยกันโดยใช้ ความร้ อน หรือตัวเร่ งปฏิกริยา เกิด ิ เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนที่มีจานวนคาร์ บอนอะตอมเพิมขึน และยังมีพนธะคู่เหลืออยู่ใน ่ ้ ั ผลิตภัณฑ์ CH3 CH3 -CH= CH2 CH3 Catalyst CH3-C-CH2-C=CH2 . + CH CH3 CH3 3 CH3 -CH= CH2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 11
  • 12. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ คุณภาพนามัน ้ - เลขออกเทน (octane number) เป็ นตัวเลขบอกคุณภาพของน้ามันเบนซิน โดยกาหนดให้ •ไอโซออกเทนบริสุทธิ์ มีโครงสร้ างเป็ น • นอร์ มอลเฮปเทนบริสุทธิ์ มีโครงสร้ างเป็ น โซ่ กง มีจุดเดือดต่า เผาไหม้ ได้ดี ิ่ โซ่ ตรง มีจุดเดือดสู ง เผาไหม้ ได้ไม่ ดี เครื่องยนต์ ไม่ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการ เครื่องยนต์ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการเผา เผาไหม้ มีเลขออกเทน 100 ไหม้ เลขออกเทน 0 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ คุณภาพนามัน ้ •น้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 95 หมายถึง น้ามันที่มีประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ เหมือนกับ ของผสมที่มีอตราส่ วนของไอโซออกเทน 95 ส่ วน และเฮปเทน 5 ส่ วน ั .. การปรับปรุ งคุณภาพออกเทน .. - ใช้ เตตระเอทิลเลด (TEL) ซึ่งทาให้ เครื่องยนต์ เดินเรียบ แต่ เป็ นสารก่อมะเร็ง - ใช้ เมทิลเทอร์ เชียรีบิวทิลอีเทอร์ (MTBE) ไม่ มี สารตะกัวจึงเป็ นที่นิยมใช้ ในปัจจุบัน ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 12
  • 13. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ คุณภาพนามัน ้ เลขซีเทน เลขซีเทน คือ เลขที่บอกปริมาณของซีเทน ต่ อ แอลฟาเมทิลแนพทาลีน • ซีเทน เผาไหม้ ได้ดี เครื่องยนต์ ไม่ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ มี เลขซีเทน 100 CH 3  (CH 2 )14  CH 3 • แอลฟาเมทิลแนพทาลีน เผาไหม้ ได้ไม่ ดี เครื่องยนต์ กระตุก มีประสิ ทธิภาพการเผา CH3 ไหม้ เป็ นมี เลขซีเทน 0 น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 70 หมายถึง น้ามันที่มีประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ เหมือนกับ ของผสมที่มีอตราส่ วนของซีเทน 70 % ต่ อ แอลฟาเมทิลแนพทาลีน 30 % ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ นามันดีเซล ้ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำรกลันลำดับส่วน แบ่งเป็ น ่ ดีเซลหมุนเร็ ว กับ ดีเซลหมุนช้ำ -ดีเซลหมุนเร็ ว หรื อ โซล่ำ คุณภำพดีกว่ำ กำร เผำไหม้ดีกว่ำ -ดีเซล หมุนช้ำ หรื อ ขี้โล้ คุณภำพต่ำกว่ำ เหมำะ กำรประมง เดินเรื อ ผลิตไฟฟ้ ำ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 13
  • 14. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ นามันดีโซฮอล์ ้ เป็ นน้ ำมันที่ผสมระหว่ำงเอทำนอล บริ สุทธิ์ 99.5 % ขึ้นไป แต่ถำ 95 % ้ ต้องใส่อิมลซิไฟเฮอร์ลงไปด้วย เพื่อไม่ให้ ั น้ ำมันแยกจำก เอทำนอล นามันไบโอดีเซล ้ เป็ นเอสเทอร์ ที่ผลิตจำกน้ ำมันพืชหรื อสัตว์ โดยกระบวนกำร Transrsterification คือ นำน้ ำมันพืชหรื อสัตว์ทำปฏิกิริยำกับแอลกอฮอล์ แล้วให้กรด-เบสเป็ นตัวเร่ ง ได้ เอส ั เทอร์กบ กลีเซอรอล จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ นามันบี5 ้ ไบโอดีเซล บี 5 (ฺBiodiesel B5) คือสัดส่วนกำรใช้น้ ำมัน ดีเซลผสมกับไบโอดีเซลในสัดส่วน 95 : 5 โดยปั จจุบนเป็ นสัดส่วนที่บริ ษทผูผลิตรถยนต์ส่วนใหญ่ ั ั ้ ยอมรับได้ สำหรับ B10 คือกำรเติมน้ ำมันดีเซลและไบโอ ดีเซลในอัตรำส่วน 90 : 10 และ B100 คือกำรใช้ไบโอดีเซล เพียงอย่ำงเดียวไม่ได้ผสมน้ ำมันดีเซลเลย จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 14
  • 15. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ นามันแก๊ สโซฮอล์ ้ คือ น้ ำมันเชื้อเพลิงที่ประด้วย น้ ำมันเบนซินออกเทนต่ำงๆ ผสมกับ เอทำนอล -แก๊สโซฮอล์ 95 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 95 และ เอ ทานอล 5 ส่ วน มีสมบัติเทียบเท่ า น้ามันออกเทน 95 -แก๊สโซฮอล์ 91 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 90 และ เอทานอล 10 ส่ วน มีสมบัติ เทียบเท่ า น้ามันออกเทน 91 -แก๊สโซฮอล์ E20 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 80 และ เอทานอล 20 ส่ วน -แก๊สโซฮอล์ E85 คือ ประกอบด้วยน้ามันเบนซิน 15 และ เอทานอล 85 ส่ วน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ขั้นตอนการแยกก๊ าซธรรมชาติ ก๊ าซธรรมชาติ ก๊ าซเหลว ก๊ าซธรรมชาติ ก๊ าซเหลว หน่ วยกำจัด H2S หน่ วยกำจัดปรอท CO2 และ H2O สำรดูดซับทีมรูพรุนสู งกำจัด H2O ่ ี K2CO3กำจัดCO2 แยกก๊ าซไฮโดรคาร์ บอน (โดยการกลันลาดับส่ วน) ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 15
  • 16. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ เพิมควำมดัน ่ ลดอุณหภูมิ การแยกก๊ าซไฮโดรคาร์ บอนในก๊ าซธรรมชาติ ก๊ ำซเปลียนสถำนะเป็ นของเหลว ่ เพิมอุณหภูมิ ่ หอกลันลาดับส่ วน ่ เชื้อเพลิง CH4 C2H6 C3H8 C4H10 LPG ในครัวเรือน เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้ ำวัตถุดบในกำรผลิตปุ๋ ยเคมี ิ อุตสำหกรรมปิ โตรเลียม จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ผลิตภัณฑ์ ทได้ จากกลันก๊ าซธรรมชาติ ี่ ่ - มีเทน ---> เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้ ำ วัตถุดิบผลิตปุ๋ ยเคมี - อีเทน แลพ โพรเพน ---> ใช้ในปิ โตรเคมี LPG มีกลิ่นเพรำะเติม เมอร์แคปแทน (CH3SH), (C2H5SH) , ((CH3)3SH) - LPG ---> เชื้อเพลิงหุงตัม - ก๊ำซโซลีน ---> NGL จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 16
  • 17. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ขั้นตอนการผลิตปิ โตรเคมีภัณฑ์ วัตถุดบ ิ ขั้นต้ น ขั้นต่ อเนื่อง ก๊ าซธรรมชาติ มอนอเมอร์ พอลิเมอร์ นามันดิบ ้ เอทิลน ี พอลิเอทิลน ี โพรพิลน ี พอลิโพรพิลน ี เบนซีน PVC จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ จากอุตสาหกรรมขันต้ น ้ ผลิตภัณฑ์ จากอุตสาหกรรมต่ อเนื่อง ประเภทอุตสาหกรรม พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน อุตสาหกรรมขึ ้นรูป พอลิไวนิลคลอไรด์ พลาสติก อีเทน พอลิสไตรี น อื่น ๆ เอทิลน โพรพิลน ี ี ก๊ าซธรรมชาติ วัตดิบเส้ นใยสังเคราะห์ ุ บิวทาไดอีน เอทิลีนไกลคอล อุตสาหกรรมเส้ นใย โพรเพน กรดเทเรฟทาลิก อื่น ๆ ยางสังเคราะห์ ยางสไตรี นบิวทาไดอีน อุตสาหกรรมยาง ยางบิวทาไดอีน เบนซิน สไตรี น อื่น ๆ น ้ามันดิบ แนฟทา โทลูอีน ไซลีน วัตถุดิบสี ตัวทาละลาย อุตสาหกรรมสี พอลิยเู รเทน อื่น ๆ สารซักล้ าง อุตสาหกรรมผงซักฟอก และสารเคลือบผิว รูปที่ 12.6 แผนภาพแสดงขั ้นตอนในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี อื่น ๆ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 17
  • 18. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ พอลิเมอร์ พอลิเมอร์ คือ สำรประกอบที่มีโมเลกุลขนำดใหญ่ ซึ่งเกิดจำกสำรโมเลกุลเล็กจำนวน มำกยึดต่อกันด้วยพันธะเคมี โดยโมเลกุลเล็กหรื อหน่วยย่อย เรี ยกว่ำ มอนอเมอร์ มอนอเมอร์ (monomer) หมำยถึง สำรตั้งต้นที่ใช้เตรี ยมพอลิเมอร์ เป็ นโมเลกุล หรื อ หน่วยเล็ก ๆ ที่มำเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ แล้วเกิดเป็ นพอลิเมอร์ มอนอ เมอร์ส่วนใหญ่เป็ นสำรที่ไม่อิ่มตัว และมีขนำดเล็ก เช่น เอทิลีน (CH2 = CH2) โพรพิ ลีน (CH3CH = CH2) และ ไวนิลคลอไรด์ (CH2=CHCl) เป็ นต้น จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ พอลิเมอร์ ถ้ำมอนอเมอร์เป็ นสำรชนิดเดียวกัน เรี ยกว่ำ โฮโมพอลิเมอร์ เช่น แป้ ง เซลลูโลส ยำงพำรำ ถ้ำมอนอเมอร์เป็ นสำรต่ำงชนิดกัน เรี ยกว่ำ โค-พอลิเมอร์หรื อพอลิเมอร์ร่วม เช่น โปรตีน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 18
  • 19. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ พอลิเมอร์ สำรมอนอเมอร์ส่วนใหญ่เป็ นสำรไฮโดรคำร์บอนไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็ นผลพลอยได้จำกกำร กลันปิ โตรเลียมและกำรแยกแก๊สธรรมชำติ เช่นเอทิลีน เตตระพลูออโรเอทิลีน ไอ ่ โซปรี น จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การเกิดพอลิเมอร์ • เอทิลีน เป็ นมอนอเมอร์ที่มีขนำดเล็กที่สุด ได้จำกกำรแยกแก๊สธรรมชำติ เมื่อรวมตัว กันได้เป็ นพอลิเอทิลีน เป็ นพอลิเมอร์ที่แข็ง เหนียวและไม่ทำปฏิกิริยำกับสำรเคมี นำมำหลอมและขึ้นรู ปได้ เช่น ถุง สำยยำง ฟิ ล์ม ของเล่น • เมื่อนำเอทิลีนมำทำปฏิกิริยำกับฟลูออรี น จะได้เตตระฟลูออโรเอทิลีน ซึ่งรวมตัวเกิด เป็ นพอลิเมอร์ คือ พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน เรี ยกว่ำ เทฟลอน ใช้เคลือบภำชนะหุง ต้มช่วยป้ องกันไม่ให้อำหำรติดภำชนะ • เมื่อนำเอทิลีนมำทำปฏิกิริยำกับแก๊สคลอรี น จะได้ไวนิลคลอไรด์ ซึ่งรวมกันเกิดเป็ น พอลิเมอร์ คือ พอลิไวนิลคลอไรด์ (polyvinyl chloride) หรื อเรี ยกว่ำ PVC ใช้ทำท่อ น้ ำฉนวนหุมสำยไฟ และภำชนะบรรจุสำรเคมี ้ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 19
  • 20. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การเกิดพอลิเมอร์ ปฏิกิริยำพอลิเมอร์ไรเซชัน ปฏิกิริยำกำรเกิดพอลิเมอร์หรื อปฏิกิริยำพอลิเมอร์ไรเซชัน หมำยถึง ปฏิกิริยำที่ เกิดจำกมอนอเมอร์มำรวมกันเป็ นพอลิเมอร์ ปฏิกิริยำพอลิเมอร์ไรเซชันแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ก. ปฏิ กิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น (Codensation polymerization) ข. ปฏิ กิริยาพอลิเมอร์ ไรเซชันแบบเติม (addition polymerization) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การเกิดพอลิเมอร์ ก. ปฏิกริยำพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น (Codensation polymerization) หมายถึง ิ ปฏิกริยาทีเ่ กิดจากมอนอเมอร์ ทมีหมู่ฟังก์ ชันมากกว่ า 1 หมู่ มาทาปฏิกริยากัน และเกิด ิ ี่ ิ ผลิตภัณฑ์ เป็ นโมเลกุลเล็ก ๆ ด้ วย เช่ น H2O , HCl , NH3 , CH3OH เป็ นต้ น ตัวอย่ าง ของปฏิกริยาพอลิเมอไรเซชันของยูเรียฟอร์ มลดีไฮด์ เป็ นต้ น ิ ั O O O NH2 - C - NH - CH2 - OH H -NH - C - NH - CH2 - OH O O H2SO4 NH2 - C - NH2 + H - C - H NH2 - C - NH - CH2 - OH มอนอเมอร์ มอนอเมอร์ H2SO4 ยูเ รี ย ฟอร์ มล ดี ไฮด์ ั ยูเ รี ยฟอร์ มลดีไฮด์ (มอนอเมอร์ ) ั O O NH2 - C - NH - CH2 - NH - C - NH - CH2 - OH + H2O ไดเมอร์ O O (NH2 - C - NH - CH2 - NH - C - NH - CH2 -)n + nH 2O พอลิเ มอร์ (พอลิยเู รี ยฟอร์มลดีไฮด์) ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 20
  • 21. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การเกิดพอลิเมอร์ ข. ปฏิ กิริยาพอลิเมอร์ ไรเซชันแบบเติม (addition polymerization) หมำยถึง ปฏิกิริยำที่เกิด จำกมอนอเมอร์มำรวมกันโดยไม่มีสำรโมเลกุลเล็ก ๆเกิดขึ้น ส่วนใหญ่จะเกิดจำกมอนอเมอร์ ที่เป็ นสำรอินทรี ยไม่อิ่มตัว เช่น เอทิลีน โพรพิลีน ไวนิลคลอไรด์ และสไตรี น เป็ นต้น ์ ความร้อน ความดัน CH3 - CH2 - CH = CH2 CH2=CH2 + CH 2=CH2 ตัวเร่ งปฏิกิริยา ไดเมอร์ CH2=CH2 CH3 - CH2 (- CH2 - CH2 -)n CH = CH2 CH3 - CH2 - CH2 - CH2 - CH = CH2 พอลิเมอร์ (พอลิเอทิลีน) ไตรเมอร์ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ โครงสร้ างของพอลิเมอร์ แบ่ งโครงสร้ างของพอลิเมอร์ ท้งที่เกิดขึนในธรรมชาติและที่สังเคราะห์ ออกได้เป็ น 3 แบบดังนี้ ั ้ ก. โครงสร้ างพอลิเมอร์ แบบเส้ น (linear polymer) ข. โครงสร้ างพอลิเมอร์ แบบกิง (branched polymer) ่ ค. โครงสร้ างพอลิเมอร์ แบบร่ างแห่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 21
  • 22. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ โครงสร้ างของพอลิเมอร์ ก. โครงสร้ำงพอลิเมอร์แบบเส้น (linear polymer) - เกิดจำกมอนอเมอร์ยดต่อกันเป็ นสำยยำว ึ - โครงสร้ำงแบบนี้ทำให้โซ่พอลิเมอร์เรี ยงชิดกันมำกกว่ำแบบอื่น - ทำให้มีควำมหนำแน่นสูง มีจุดหลอมเหลวสูง รวมทั้งมีลกษณะแข็ง เหนียวและ ั ขุ่นมำกกว่ำโครงสร้ำงแบบอื่น ๆ - เมื่อได้รับควำมร้อนจะอ่อนตัวและเมื่ออุณหภูมิลดลงจะแข็งตัวใหม่ สำมำรถ เปลี่ยนสถำนะกลับไปกลับมำได้โดยไม่ทำให้สมบัติของพอลิเมอร์เปลี่ยนแปลง ได้แก่ พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิโพรพิลน พอลิสไตรีน และ พอลิเอทิลนเทเรฟทาเลต ี ี จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ โครงสร้ างของพอลิเมอร์ ข. โครงสร้ำงพอลิเมอร์แบบกิ่ง (branched polymer) - เป็ นโครงสร้ำงที่มีโซ่กิ่งแตกออกจำกโครงสร้ำงหลัก - กำรที่มีโซ่กิ่ง ทำให้โซ่พอลิเมอร์ไม่สำมำรถจัดเรี ยงให้ชิดกันได้มำก ควำม ่ หนำแน่นจึงต่ำ มีควำมยืดหยุนได้ และมีจุดหลอมเหลวต่ำ - เมื่อได้รับควำมร้อนจะอ่อนตัว และเมื่ออุณหภูมิลดลงจะแข็งตัวใหม่ - สำมำรถเปลี่ยนสถำนะกลับไปกลับมำได้โดยไม่ทำให้สมบัติของพอลิเมอร์ เปลี่ยนแปลง เช่นเดียวกับพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้ำงแบบเส้น ตัวอย่ำงของพอลิเมอร์แบบกิ่งได้แก่ พอลิเอทิลีนชนิดควำมหนำแน่นต่ำ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 22
  • 23. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ โครงสร้ างของพอลิเมอร์ ค. โครงสร้ำงพอลิเมอร์แบบร่ ำงแห่ - เป็ นโครงสร้ำงของพอลิเมอร์ที่เกิดจำกโพลิเมอร์แบบเส้นหรื อแบบกิ่งมำ ื ่ เชื่อมต่อกันเป็ นร่ ำงแห ทำให้โครงสร้ำงมีควำมแข็งแรงมำก ไม่ยดหยุน ได้แก่ พอลิยเู รี ยฟอร์มลดีไฮด์ ใช้ทำ เบกำไลด์ เมลำนีน ใช้ทำถ้วยชำม ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ผลิตภัณฑ์ จากพอลิเมอร์ 1. พลาสติก มีสมบัตพเิ ศษ คือ แข็งแรงแต่ เบา ทนทานต่ อนา อากาศและสารเคมี เป็ นฉนวนไฟฟา ิ ้ ้ และความร้ อนทีดี นาไปขึนรู ปทรงต่ างๆ ได้ โดยแบ่ งออกเป็ น ่ ้ 1. เทอร์ มอพลาสติก (thermoplastic) 2. เทอร์ มอเซต (thermoset) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 23
  • 24. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ 1. พลาสติก 1. เทอร์ มอพลาสติก (thermoplastic) เทอร์ มอพลาสติก (thermoplastic) คือพลาสติกทีมโครงสร้ างแบบโซ่ ตรงหรือโซ่ กงมี ่ ี ิ่ สมบัตดงนี้ ิ ั - เมื่อได้รับความร้ อนจะอ่อนตัว แต่ ถ้าลดอุณหภูมิจะกลับมาแข็งตัวเช่ นเดิม - มีโครงสร้ างเป็ นพอลิเมอร์ แบบโซ่ ยาว เช่ น พอลิเอทิลน พอลิโพรพิลน พอลิเต ี ี - ยืดหยุ่น และโค้ งงอได้ ตระฟลูออโรเอทิลน พอลิไวนิลคลอไรด์ ี - สามารถเปลียนรู ปร่ างกลับไปมาได้หรือนากลับมาใช้ ใหม่ ได้ ่ - สมบัติไม่ มีการเปลียนแปลง ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ 1. พลาสติก 2. เทอร์ มอเซต (thermoset) เทอร์ มอเซต (thermoset) คือ พลาสติกทีมโครงสร้ างแบบตาข่ าย มีสมบัตดงนี้ ่ ี ิ ั - เมื่อได้รับความร้ อนจะไม่ อ่อนตัว แต่ จะเกิดการแตกหัก - มีโครงสร้ างเป็ นพอลิเมอร์ แบบโซ่ กง และตาข่ าย ิ่ - มีความแข็งแรงมาก เช่ น เบคะไลท์ ใช้ ทาด้ามจับกระทะ ด้ามจับเตารีด - ไม่ สามารถเปลียนรู ปร่ างได้หรือ ่ และปลักไฟฟ้ า พอลิยูเรียฟอร์ มาลดีไฮด์ ใช้ ทา ๊ กลับมาใช้ ใหม่ ไม่ ได้ เต้ าเสี ยบไฟฟ้ า และแผ่ นฟอร์ ไมกาปูโต๊ ะ - สมบัติมีการเปลียนแปลง ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 24
  • 25. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ การลดปัญหาในการกาจัดพลาสติก ได้ มการคิดค้ นพลาสติกชนิดต่ างๆ เช่ น ี - พลาสติกที่ย่อยสลายทางชีวภาพ - พลาสติกที่แปรรู ปเพือใช้ ใหม่ (plastic ่ (biodegredable) คือ พลาสติกที่ recycle) คือพลาสติกที่ใช้ แล้วสามารถ สามารถย่ อยสลายได้เองตามธรรมชาติ นากลับไปผ่ านขั้นตอนการผลิต แล้ว หรือจุลนทรีย์ ิ สามารถนากลับมาใช้ ใหม่ ได้ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 25
  • 26. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ เส้นใย เส้นใย เส้นใยธรรมชำติ เส้นใยกึ่งสังเครำะห์ เส้นใยสังเครำะห์ - เซลลูโลส -เรนยอน -พอลิเอสเทอร์ -โปรตีน -พอลิอะคริ โลไนไตรต์ -ไยหิ น -พอลิเอไมด์ -อื่นๆ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ เส้นใย เส้นใยธรรมชำติ -นุ่น ใยมะพร้ำว ลินิน ปอ กัญชำ สับปะรด ฝ้ ำย -ขนแกะ ขนแพะ รังไหม จำพวกนี้เมื่อเปี ยก ควำมเหนียวและควำ แข็งแรงจะลดลง ถูกแดดนำนๆจะกรอบ -ฝ้ ำยขึ้นรำได้ง่ำย จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 26
  • 27. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ เส้นใย เส้นใยกึ่งสังเครำะห์ -เซลลูโลสแอซีเตต H2SO4 เซลลูโลส + กรดแอซีติกเข้มข้น -----------> เซลลูโลสแอซีเตต - เรยอน หรื อ เซลลูโลสซำนเทต จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ เส้นใย กำรเตรี ยมเส้นใย ่ 1. ใช้กระบวนกำรคิวปรำโมเนียม โดยกำรเปลี่ยนเซลลูโลสให้อยูในรู ปของสำรละลำย Cu2+ + 2OH- ------> Cu(OH)2 2. แล้วนำไปทำปฏิกิริยำกับ NH3 เกิดเป็ น Cu(NH3)4(OH)2 Cu(OH)2 + 4NH3 ------> Cu(NH3)4(OH)2 Polymer จะไม่ละลำยในกรดH2SO4 ทำให้ได้เรยอนขึ้นมำ เรี ยกว่ำ คิวปรำโมเนียมเรยอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 27
  • 28. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ เส้นใย เส้นใยสังเครำะห์ คุณภำพดี ทนต่อสภำวะต่ำงๆได้ดี - ไนลอน (พอลิเอไมด์) ไนลอน 6,6 ไนลอน 6 ,10 - โอรอน (พอลิคริ โลไนไตรต์ ) - ดำดรอน (โทเรเทโทรอน) เกิดจำก เอทีลีนไกลคอล กับ ไดเมทิลเทเรฟทำเลต จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ยำง 1. ยำงธรรมชำติ 2. ยำงสังเคำระห์ ยำงธรรมชำติ -เก็บไว้นำนจะบูด  ต้องเติมแอมโมเนียเป็ นสำรกันบูดและป้ องกันกำรจับตัวของน้ ำยำง - วิธีกำรแยกเนื้อยำงออกจำกน้ ำยำง  เติมกรดแอซีติก หรื อ ฟอร์มิก เพื่อให้เนื้อยำง รวมตัวและตกตะกอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 28
  • 29. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ยำง โครงสร้ำงทำงเคมีของเนื้อยำง มอนอเมอร์ คือ ไอโซพรี น ยำงพำรำ เชื่อมกันแบบ ซีส - พอลิไอโซพรี น จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ยำง ยำงกัตตำ ยำงบำรำทำ และ ต้นยำงซีคเคิล จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 29
  • 30. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ยำง ่ -ยำง มีควำมยืดหยุนสูง -มีแรงแวนเดอร์วำลส์ ยึดเหนี่ยวระหว่ำงโซ่ของพอลิเมอร์เข้ำไว้ดวยกัน ้ -ยำงพำรำ มีควำมต้ำนทำนแรงดึงสูง ทนต่อกำรขัดถู เป็ นฉนวนที่ดี -ยำงพำรำ ทนน้ ำ น้ ำมันพืช สัตว์ ไม่ทนต่อน้ ำมันเบนซินและตัวทำละลำยอินทรี ยื -เมื่อได้รับควำมร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว -เมื่ออุณหภูมิต่ำจะแข็งเปรำะ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ยำง วิธีพฒนำคุณภำพ ั 1. วัลคำไนเซชัน -ค้นพบโดย กูดเยียร์ -เอำยำงไปทำปฏิกิริยำกับS8 ที่อุณหภูมิสูงกว่ำจุดหลอมเหลวของ S8 - ทำให้ยำงมีควำมทนทำนต่อสภำพต่ำงๆได้ดีข้ ึน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 30
  • 31. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ยำง วิธีพฒนำคุณภำพ ั 2. เติมซีลิกำ ซีลิเกต เพิ่มควำมควำมแข็งแรง 3.เติมผงถ่ำน ป้ องกันกำรสึ กกร่ อนและถูกทำลำยด้วยแสงได้ดี ยำงธรรมชำติ  ถุงมือแพทย์ กระเป๋ ำน้ ำร้อน ยำงยืด ถุงยำงอนำมัย จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ยำงสังเครำะห์ พอลิบิวทำไดอีน ---> ทำยำงรถยนต์ ยำง SBR ยำงสไตรี นบิวทำไดอีน ---> ยำงรถยนต์ คุณสมบัติ เกิดปฏิกิริยำกับ ออกซิเจน ได้ยำกกว่ำธรรมชำติ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 31
  • 32. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี -เติมใยแก้ว ---> ทำไพเบอร์กลำส -เติมแกร์ไฟต์ ---> นำไฟฟ้ ำ -กำวพอลิไวนิลแอซีเตต ---> กำวลำเท็กซ์ -กำวอะคริ ลิก กำวไซยำโนอะคลิเลต ---> กำวอีพอกซี กำวช้ำง ่ ั -พอลิเมอร์บำงชนิดนำไฟฟ้ ำได้ ขึ้นอยูกบโครงสร้ำง เช่น พอลีอะเซทีลีน -SBS ผสมกับยำงมะตอย ---> เชื่อมรอยต่อของถนนคอนกรี ต รองรับกำรขยำยตัว จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 32
  • 33. 03/10/54 เชือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ ้ ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี - พลำสติกพีวซี คลุมดิน เก็บควำมชื้น ทำตำข่ำย ี - พอลิเอทีลีนปูนพื้นดินเก็บน้ ำ -โฟม คือ พลำสติกผ่ำนกำรเติมแก๊สเพื่อทำให้เกิดฟองอำกำศแทรกตัว ระหว่ำงเนื้อพลำสติก -โฟมที่มี CFCs แทรกตัวอยู่ จะเป็ นฉนวนกับควำมร้อนได้ดี จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 33