SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
COGNITIVE THEORIES
จัดทำโดย
นำงสำวณัฐมน คำขัน รหัสนักศึกษำ 565050041-2
นำงสำวเนตรชนก อำจวิชัย รหัสนักศึกษำ 565050044-6
นำงสำวศิริประภำ ภูมิผักแว่น รหัสนักศึกษำ 565050048-8
นำงสำวจีรำวรรณ โลหะมำศ รหัสนักศึกษำ 565050038-1
201701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN
การออกแบบการสอนเทคโนโลยีการศึกษาและการออกแบบการสอน
สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ได้กาหนดงานเพื่อให้นักเรียนชั้น ม.1
และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ในเรื่องที่สนใจ โดยประดิษฐ์ เป็นผลงาน
ขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน นาเสนอหัวข้อที่จะทา กาหนดสมมติฐาน ตัว
แปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบการดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่
ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นาเสนอผลงาน
และข้อค้นพบในท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียนด้วย และ
จะต้องมีการรายงานความคืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3
ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทาโครงงานดังกล่าว
หากท่านเป็นศึกษานิเทศก์ ที่เข้ามาประเมินโรงเรียนแห่งนี้ท่านคิดว่าแนวทางการ
จัดการเรียนรู้ของครูสุขสรรค์และครูอภิชัย สอดคล้องกับทฤษฎีใด จงอธิบายเกี่ยวกับ
ทฤษฎีดังกล่าวให้ละเอียด พร้อมยกตัวอย่างในการนาทฤษฎีมาใช้
•แนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูสุขสรรค์ : ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรู
เนอร์
•แนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูอภิชัย : ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา
ของเพียเจต์
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
• แนวคิดของบรูเนอร์ : การจัดการศึกษาควรคานึงถึงการเชื่อมโยงทฤษฎีพัฒนาการ ทฤษฎีความรู้
ทฤษฎีการสอน และปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับความสามารถในการคิด รวมถึงเลือกใช้วิธีการ
สอนที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน
• การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เลือกสิ่งที่สนใจ การเรียนรู้แบนี้จะ
ช่วยให้เกิดการค้นพบเนื่องจากผู้เรียนมีความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งเป็นแรงผลักดันที่ทาให้สารวจ
สิ่งแวดล้อมและทาให้เกิดการเรียนรู้แบบค้นพบ
• ดังนั้น จากการที่ครูสุขสวรรค์ได้มอบหมายงานให้นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ไปประดิษฐ์ผลงาน
ทางวิทยาศาสตร์นั้น ผู้เรียนจะได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทาให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น
และสนใจที่จะศึกษาเรื่องที่ตนเลือกหัวข้อพร้อมทั้งได้ลงมือกระทาเอง ทาให้เกิดการเรียนรู้แบบ
ค้นพบ
ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
•แนวคิดของเพียเจต์ : การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมี
พัฒนาการไปตามวัยต่างๆ เป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่
ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทาให้
เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็ก
กาลังจะพัฒนาไปสู่ ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
•ดังนั้น การที่ครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทา
โครงงานดังกล่าวนั้น เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามขั้นตอนการพัฒนาการตามวัย
ของนักเรียน
วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างการสอนของครูสุขสวรรค์
และครูอภิชัย โดยอาศัยทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
มาอธิบายว่ามีข้อดีและข้อจากัดในการนาไปใช้อย่างไรบ้าง
ครูผู้สอน ข้อดี ข้อจากัด
ครูสุขสวรรค์ ครูสามารถช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความ
พร้อมได้ โดยไม่ต้องรอเวลา ซึ่งสามารถที่
จะสอนได้ในทุกช่วงของอายุ ถ้ารู้จักเลือก
วิธีการที่เหมาะสม
สาหรับ วัยรุ่น วัยนี้สามารถคิดอย่างมี
เหตุผล แต่อาจจะมิใช่เหตุผลดังที่ผู้ใหญ่
คิดดังนั้น ครูอาจทราบเหตุผลของเด็กได้
โดยการกระตุ้นให้มีการอภิปรายแสดง
ความคิดเห็น อย่างอิสระ และการเขียน
รายงานโดยไม่มีคะแนน
ครูอภิชัย การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการ
ทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตาม
วัยต่าง ๆ เป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็น
สิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
-นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการทาง
สติปัญญาที่แตกต่างกัน
- การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพราะจดจามากกว่า
ที่จะเข้าใจ เป็นการเรียนรู้ที่ไม่แท้จริง
สถานการณ์ที่ 2
ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียม
อนุบาล ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอน
ปลาย โดยคุณต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละวัย เช่น
เด็กวัยเตรียมอนุบาล เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็กวัย
อนุบาลจะสามารถเรียนรู้ได้จาก สัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น
เพื่อเป็นนโยบายในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนต่อไป
1. ท่านจะนาหลักการของทฤษฎีใดมาใช้ให้เหมาะสมกับการจัดหลักสูตรของ
โรงเรียนนี้ จงอธิบายหลักการสาคัญของทฤษฎีที่ท่านเลือกใช้ มาพอสังเขป
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ : เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาต้องมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อม มนุษย์จะเป็นผู้กระทา(Active)ก่อน โดยพื้นฐาน 2 ชนิด คือ
•การจัดและรวบรวม(Oganization) หมายถึง มีการจัดระเบียบภายในเข้าเป็น
ระบบ ระเบียบและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
•การปรับตัว(Adaptation) หมายถึงการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมให้สมดุลย์ จะ
ประกอบด้วยกระบวนการสาคัญ 2 อย่างคือ การดูดซึม (Assimilation) และการ
ปรับโครงสร้าง (Accommodation)
2. จงวิเคราะห์ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ มาพอเข้าใจ
•พัฒนาทางการสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัย ซึ่งแบ่งได้ 4 วัย ดังนี้
1. ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส (Sensorimotor period) มีอายุอยู่ในช่วง 0-2 ปี มี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยประสาทสัมผัส
2. ขั้นก่อนปฏิบัติการการคิด (Preoperational period) มีอายุอยู่ในช่วง 2 – 7 ปี
ใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของ มีพัฒนาการทางภาษา ซึ่ง 2 ขั้นนี้จะมีการรับรู้และการ
กระทา
พัฒนาทางการสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัย ซึ่งแบ่งได้ 4 วัย(ต่อ)
3. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม (Concrete
operational period) มีอายุอยู่ในช่วง 7-11 ปี
สามารถสร้างกฎเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อม
ออกเป็นหมวดหมู่ได้
4. ขั้นการคิดแบบนามธรรม(Formal
operational period)มีอายุอยู่ในช่วง11-15 ปี
ขั้นนี้คิดเป็นนามธรรม,ตั้งสมมติฐานและใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้
3. ท่านจะแนะนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับระดับพัฒนาการ
ของผู้เรียนอย่างไร เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจ
จัดทาได้ดังนี้
1. การพัฒนาเด็กควรคานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก และจัดประสบการณ์ ให้
เหมาะสมกับพัฒนาการของเขา ไม่ควรบังคับให้เด็กเรียนในสิ่งที่ยังไม่พร้อมหรือยากเกิน
พัฒนาการตามวัย เพราะจะทาให้เด็กเกิดเจตคติที่ไม่ดีในสิ่งที่เรียน และการจัดประสบการณ์ควร
คานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
- การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามวัยของตนเอง ซึ่งจะช่วยให้เด็ก
พัฒนาไปสู่พัฒนาการขั้นสูงขึ้นได้
- เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการแตกต่างกัน ถึงแม้อายุจะเท่ากันแต่ระดับพัฒนาการอาจไม่
เท่ากัน ดังนั้นจึงไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้ และพัฒนาความสามารถ
ของเขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา
- ผู้สอนควรสอนสิ่งที่เป็นรูปธรรมเพื่อช่วยให้เด็กเข้าใจลักษณะต่างๆได้ดีขึ้น
2. การให้ความสนใจและสังเกตเด็กอย่างใกล้ชิดจะช่วยให้ทราบลักษณะเฉพาะของเด็ก
3. ในการสอนเด็กเล็กๆเขาจะรับรู้ส่วนรวม (whole) ได้ดีกว่าส่วนย่อย (part) ดังนั้น
ผู้สอนจึงควรสอนภาพรวมก่อนแล้วจึงแยกสอนทีละส่วน
4. ในการสอนสิ่งใดให้กับเด็ก ควรเริ่มจากสิ่งที่เด็กคุ้นเคยหรือมีประสบการณ์มาก่อนแล้วจึง
เสนอสิ่งใหม่ที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งเก่า การทาเช่นนี้จะช่วยเด็กซึมซับและจัดระบบความรู้ได้ดี
5. การเปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์แล้วมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมมากๆ จะช่วย ให้
เด็กซึมซับข้อมูลเข้าสู่โครงสร้างทางสติปัญญา และพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กได้ดี
3. ท่านจะแนะนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับระดับพัฒนาการ
ของผู้เรียนอย่างไร เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจ (ต่อ)
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศก์ติดตามการสอนของครูหมวด
วิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า จะสอนโดย
วิธีการบรรยาย เขียนกระดานดา และให้นักเรียนดูหนังสือตาม โดยจะ พูดแต่
เนื้อหาไม่บอกสาระสาคัญ ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน ทาให้ยากต่อ
การทาความเข้าใจ ชั่วโมงต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น และลอง
ถามให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะอธิบายได้
ขาดกรอบในการนาเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในเนื้อหาที่
เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน
1. จงวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ
เนื้อหาได้
มีสาเหตุดังนี้
1. เกิดจากครูไม่มีการแนะนาบทเรียนก่อนการเรียนการสอน
2. ครูไม่ได้จัดการเรียนรู้ที่ทาให้เกิดการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเพื่อให้
นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้มาปรับโครงสร้างทางปัญญา
3. ครูไม่ได้จัดเรียงเนื้อหา และไม่ได้นาเสนอกรอบแนวคิดที่ชัดเจน
2. ท่านจงลองนาเสนอวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนดังกล่าวโดยอาศัยหลักการ
และทฤษฎีทางพุทธปัญญานิยม มาอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบด้วย
1. ผู้สอนควรมีการแนะนาบทเรียนก่อนการเรียนการสอน และก่อนที่จะสอนสิ่งใดใหม่
ควรมีการสารวจความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนเสียก่อนว่ามีพอที่จะทาความเข้าใจ
เรื่องที่เรียนใหม่หรือไม่ ถ้ายังไม่มีต้องจัดให้ก่อนสอนเรื่องใหม่
2. ผู้สอนควรสอนโดยไม่เน้นการท่องจา แต่สอนให้เกิดการสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง
ความรู้ที่มีมาก่อนกับข้อมูลใหม่หรือความคิดรวบยอดใหม่ที่จะต้องเรียน
3. ผู้สอนควรใช้ Advance organizer เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี
ความหมายจากการสอนหรือบรรยายของผู้สอน
2. ท่านจงลองนาเสนอวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนดังกล่าวโดยอาศัยหลักการ
และทฤษฎีทางพุทธปัญญานิยม มาอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบด้วย (ต่อ)
4. ผู้สอนควรช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการจัดเรียบเรียง
ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เรียนรู้ออกเป็นหมวดหมู่
5. ผู้สอนควรนาเสนอกรอบหลักการกว้างๆก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่
6. ผู้สอนควรแบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สาคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสาคัญที่
เป็นความคิดรวบยอดใหม่ที่จะต้องเรียน
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กาลังประสบปัญหา
เกี่ยวกับการสอน คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียน
จะมีความ เข้าใจและจาได้ เมื่อถามคาถาม หรือให้ออกไปแสดง
วิธีทาหน้าชั้นเรียนก็สามารถทาได้ถูกต้อง แต่เมื่อเวลาผ่านไป
เช่นในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถามหรือให้แสดงวิธีทาปรากฏว่าจะ
ตอบไม่ถูก หรือแสดงวิธีทาได้เพียงบางส่วน ยิ่งถ้าเป็นเรื่อง
เกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจาไม่ได้
ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ลอง
พิจารณาหาทางช่วยครูทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว
1. จงวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นน่าจะนาทฤษฎีใดในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมมาใช้
แก้ปัญหา พร้อมทั้งอธิบายหลักการ ทฤษฎี ที่ใช้อย่างละเอียด
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ(Information Processing) : คลอสไม
เออร์ (Klausmeier) กล่าวว่ามนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาท
สัมผัสทั้ง 5 มีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การรู้จัก (recognition)
และ ความใส่ใจ (attention) ซึ่งจะเลือกข้อมูลที่ตนเองสนใจบันทึก
ไว้ในความจาระยะสั้น ซึ่งวิธีการที่จะช่วยเก็บรักษาข้อมูลไว้ใน
ความจาระยะสั้นให้ช่วงเวลายาวขึ้น แล้วนาไปเก็บไว้ในความจาระยะ
ยาวเพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้นั้น ได้แก่ การทบทวน การ
ทาซ้าๆ เป็นต้น วิธีการต่างๆเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี
ความหมาย ซึ่งเป็นผลที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้น
2. หากคุณพบปัญหาในการเรียนการสอนในวิชาที่คุณสอนเอง คุณจะนาหลักการหรือทฤษฎี
เดียวกับครูทักษิณ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร จงอธิบายขั้นตอนและยกตัวอย่างประกอบ
ทาได้ดังนี้
1. การนาเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและ รับรู้สิ่งนั้น ซึ่งผู้สอนสามารถ
เชื่อมโยงไปถึงสิ่งใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นได้ เช่น ครูให้นักเรียนใช้งานอินเตอร์เน็ต นักเรียนรู้ว่า
อินเตอร์เน็ตมีเว็บไซต์ต่างๆมากมาย เป็นต้น
2. ครูจัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น
3. ข้อมูลที่ผ่านการรับรู้แล้ว จะถูกนาไปเก็บไว้ในความจาระยะสั้น หากต้องการที่จะจาสิ่งนั้นนานๆ
ได้รับการเข้ารหัส เพื่อนาไปเข้าหน่วยความจาระยะยาว เช่น การท่องซ้ากันหลายๆครั้ง เป็นต้น เช่น
(ตัวอย่างข้อ 2-3) ในวิชาเลือกเสรี นักเรียนใช้งานโปรแกรมสร้างการ์ตูน 2D ขั้นตอนการทางานอาจ
ซับซ้อน นักเรียนจึงต้องหมั่นฝึกซ้า เพื่อให้เกิดความจาในระยะยาว เป็นต้น
สถานการณ์ปัญหาที่ 5
ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปารวีมี
เหตุการณ์เป็นดังนี้
ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธีหาค่าเฉลี่ยแล้วให้นักเรียน
กลับไปทาเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้าหากมีเวลาว่างเขาจะหยิบสมุดการบ้าน
ขึ้นมาทา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่าเขาจะแก้โจทย์ข้อนี้ได้อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจ
จากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทนค่าในสมการแล้วสุวัฒน์ก็ยังไม่ได้คาตอบ สุวัฒน์จึงทบทวน
อ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขาถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้ซับซ้อนกว่าที่เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติม
และหาวิธีการแก้โจทย์จากหนังสือคู่มือหลายๆ เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจ
มากที่สุด มาใช้แก้โจทย์ข้อนี้ จนได้คาตอบ แล้วทาการตรวจทานคาตอบอีกครั้ง เพื่อความแน่ใจ
จาก กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาของเด็กชายสุวัฒน์คุณคิดว่าสอดคล้องกับ
ทฤษฎีใดจงชี้ให้เห็นถึงความสอดคล้องดังกล่าว พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
กระบวนการของด.ช.สุวัฒน์สอดคล้องกับทฤษฎี Metacognition การรู้คิดของตนเอง
เนื่องจากผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งฟลาเวลได้ให้ความหมายว่า เป็น
ความรู้ส่วนตัวของแต่ละบุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยจะขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่าง คือ ผู้เรียน งาน และ
ยุทธศาสตร์ ยกตัวอย่างเช่น
การรู้คิดของตนเอง Metacognition
ยุทธศาสตร์ คือ เมื่อลองทาปรากฏว่าทาไม่ได้ โจทย์ซับซ้อนจึงต้องเปลี่ยนกระบวนการ
หาความรู้เพิ่ม เมื่อได้ก็ลงมือแก้โจทย์อีกรอบจนได้คาตอบ พร้อมตรวจทาน
งาน คือ การบ้านโจทย์คณิตศาสตร์ ประเมินตนเองแล้วคิดว่าตนเองเข้าใจและทาได้
ผู้เรียน คือ เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กขยัน
จะนาหลักการดังกล่าวไปออกแบบการจัดการเรียนรู้ในสภาพจริงอย่างไร อธิบายเชิงหลักการ ทฤษฎี
พร้อมทั้งผลที่มีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไรบ้าง
ยุทธศาสตร์ ต้องใช้เวลานานกว่าจะอ่านได้ มีคาศัพท์ที่ไม่เคยเห็น จึงต้องขอให้พี่ช่วยฝึกและหัดอ่าน
ให้ใน ตอนเที่ยงและตอนเย็น หัดอ่านหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่ง อ่านหนังสือเรียน ฝึกทุกวัน เมื่อมั่นใจว่า
ตนเองอ่านได้จึงไปอ่านนิทาน อ่านหนังสือพิมพ์ให้ผู้ปกครองฟัง
งาน ฝึกอ่านหนังสือให้ได้ เพื่อที่จะได้อ่านนิทานที่ตัวเองชอบ ตั้งใจเรียนเวลาครูสอน
ผู้เรียน นักเรียน ป.2 อยากอ่านหนังสือนิทานได้ ไม่ต้องรอให้คนอื่นอ่านให้ฟัง
เป็นความรู้ส่วนตัวของแต่ละบุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยจะขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่าง คือ ผู้เรียน งาน
และ ยุทธศาสตร์
ทฤษฎี Metacognitionการรู้คิดของตนเอง
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer Tasanee Nunark
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)Nattayaporn Dokbua
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจองงานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจองputchara
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryearlychildhood024057
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561ungpao
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลimmyberry
 

Was ist angesagt? (20)

สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจองงานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจอง
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
 

Andere mochten auch

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษาAdoby Milk Pannida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาjeerawan_l
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาjeerawan_l
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsSuthakorn Chatsena
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ5650503038
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11Tum'Tim Chanjira
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาGroup1 NisaPittaya
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์earlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้BLue Artittaya
 

Andere mochten auch (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 

Ähnlich wie สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม

บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างFrong Hanoi
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
กิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศกิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศJoob Jang
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนWiparat Khangate
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 

Ähnlich wie สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (20)

บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
กิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศกิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 

สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม

  • 1. ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม COGNITIVE THEORIES จัดทำโดย นำงสำวณัฐมน คำขัน รหัสนักศึกษำ 565050041-2 นำงสำวเนตรชนก อำจวิชัย รหัสนักศึกษำ 565050044-6 นำงสำวศิริประภำ ภูมิผักแว่น รหัสนักศึกษำ 565050048-8 นำงสำวจีรำวรรณ โลหะมำศ รหัสนักศึกษำ 565050038-1 201701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN การออกแบบการสอนเทคโนโลยีการศึกษาและการออกแบบการสอน สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. สถานการณ์ปัญหาที่ 1 ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ได้กาหนดงานเพื่อให้นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ในเรื่องที่สนใจ โดยประดิษฐ์ เป็นผลงาน ขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน นาเสนอหัวข้อที่จะทา กาหนดสมมติฐาน ตัว แปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบการดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นาเสนอผลงาน และข้อค้นพบในท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียนด้วย และ จะต้องมีการรายงานความคืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทาโครงงานดังกล่าว
  • 3. หากท่านเป็นศึกษานิเทศก์ ที่เข้ามาประเมินโรงเรียนแห่งนี้ท่านคิดว่าแนวทางการ จัดการเรียนรู้ของครูสุขสรรค์และครูอภิชัย สอดคล้องกับทฤษฎีใด จงอธิบายเกี่ยวกับ ทฤษฎีดังกล่าวให้ละเอียด พร้อมยกตัวอย่างในการนาทฤษฎีมาใช้ •แนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูสุขสรรค์ : ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรู เนอร์ •แนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูอภิชัย : ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา ของเพียเจต์
  • 4. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์ • แนวคิดของบรูเนอร์ : การจัดการศึกษาควรคานึงถึงการเชื่อมโยงทฤษฎีพัฒนาการ ทฤษฎีความรู้ ทฤษฎีการสอน และปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับความสามารถในการคิด รวมถึงเลือกใช้วิธีการ สอนที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน • การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เลือกสิ่งที่สนใจ การเรียนรู้แบนี้จะ ช่วยให้เกิดการค้นพบเนื่องจากผู้เรียนมีความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งเป็นแรงผลักดันที่ทาให้สารวจ สิ่งแวดล้อมและทาให้เกิดการเรียนรู้แบบค้นพบ • ดังนั้น จากการที่ครูสุขสวรรค์ได้มอบหมายงานให้นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ไปประดิษฐ์ผลงาน ทางวิทยาศาสตร์นั้น ผู้เรียนจะได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทาให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น และสนใจที่จะศึกษาเรื่องที่ตนเลือกหัวข้อพร้อมทั้งได้ลงมือกระทาเอง ทาให้เกิดการเรียนรู้แบบ ค้นพบ
  • 5. ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ •แนวคิดของเพียเจต์ : การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมี พัฒนาการไปตามวัยต่างๆ เป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทาให้ เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็ก กาลังจะพัฒนาไปสู่ ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว •ดังนั้น การที่ครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทา โครงงานดังกล่าวนั้น เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามขั้นตอนการพัฒนาการตามวัย ของนักเรียน
  • 7. ครูผู้สอน ข้อดี ข้อจากัด ครูสุขสวรรค์ ครูสามารถช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความ พร้อมได้ โดยไม่ต้องรอเวลา ซึ่งสามารถที่ จะสอนได้ในทุกช่วงของอายุ ถ้ารู้จักเลือก วิธีการที่เหมาะสม สาหรับ วัยรุ่น วัยนี้สามารถคิดอย่างมี เหตุผล แต่อาจจะมิใช่เหตุผลดังที่ผู้ใหญ่ คิดดังนั้น ครูอาจทราบเหตุผลของเด็กได้ โดยการกระตุ้นให้มีการอภิปรายแสดง ความคิดเห็น อย่างอิสระ และการเขียน รายงานโดยไม่มีคะแนน ครูอภิชัย การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการ ทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตาม วัยต่าง ๆ เป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็น สิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ -นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการทาง สติปัญญาที่แตกต่างกัน - การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพราะจดจามากกว่า ที่จะเข้าใจ เป็นการเรียนรู้ที่ไม่แท้จริง
  • 8. สถานการณ์ที่ 2 ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียม อนุบาล ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอน ปลาย โดยคุณต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละวัย เช่น เด็กวัยเตรียมอนุบาล เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็กวัย อนุบาลจะสามารถเรียนรู้ได้จาก สัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น เพื่อเป็นนโยบายในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนต่อไป
  • 9. 1. ท่านจะนาหลักการของทฤษฎีใดมาใช้ให้เหมาะสมกับการจัดหลักสูตรของ โรงเรียนนี้ จงอธิบายหลักการสาคัญของทฤษฎีที่ท่านเลือกใช้ มาพอสังเขป ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ : เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาต้องมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม มนุษย์จะเป็นผู้กระทา(Active)ก่อน โดยพื้นฐาน 2 ชนิด คือ •การจัดและรวบรวม(Oganization) หมายถึง มีการจัดระเบียบภายในเข้าเป็น ระบบ ระเบียบและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม •การปรับตัว(Adaptation) หมายถึงการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมให้สมดุลย์ จะ ประกอบด้วยกระบวนการสาคัญ 2 อย่างคือ การดูดซึม (Assimilation) และการ ปรับโครงสร้าง (Accommodation)
  • 10. 2. จงวิเคราะห์ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย พร้อม ยกตัวอย่างประกอบ มาพอเข้าใจ •พัฒนาทางการสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัย ซึ่งแบ่งได้ 4 วัย ดังนี้ 1. ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส (Sensorimotor period) มีอายุอยู่ในช่วง 0-2 ปี มี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยประสาทสัมผัส 2. ขั้นก่อนปฏิบัติการการคิด (Preoperational period) มีอายุอยู่ในช่วง 2 – 7 ปี ใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของ มีพัฒนาการทางภาษา ซึ่ง 2 ขั้นนี้จะมีการรับรู้และการ กระทา
  • 11. พัฒนาทางการสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัย ซึ่งแบ่งได้ 4 วัย(ต่อ) 3. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม (Concrete operational period) มีอายุอยู่ในช่วง 7-11 ปี สามารถสร้างกฎเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อม ออกเป็นหมวดหมู่ได้ 4. ขั้นการคิดแบบนามธรรม(Formal operational period)มีอายุอยู่ในช่วง11-15 ปี ขั้นนี้คิดเป็นนามธรรม,ตั้งสมมติฐานและใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้
  • 12. 3. ท่านจะแนะนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับระดับพัฒนาการ ของผู้เรียนอย่างไร เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจ จัดทาได้ดังนี้ 1. การพัฒนาเด็กควรคานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก และจัดประสบการณ์ ให้ เหมาะสมกับพัฒนาการของเขา ไม่ควรบังคับให้เด็กเรียนในสิ่งที่ยังไม่พร้อมหรือยากเกิน พัฒนาการตามวัย เพราะจะทาให้เด็กเกิดเจตคติที่ไม่ดีในสิ่งที่เรียน และการจัดประสบการณ์ควร คานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ - การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามวัยของตนเอง ซึ่งจะช่วยให้เด็ก พัฒนาไปสู่พัฒนาการขั้นสูงขึ้นได้ - เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการแตกต่างกัน ถึงแม้อายุจะเท่ากันแต่ระดับพัฒนาการอาจไม่ เท่ากัน ดังนั้นจึงไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้ และพัฒนาความสามารถ ของเขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา - ผู้สอนควรสอนสิ่งที่เป็นรูปธรรมเพื่อช่วยให้เด็กเข้าใจลักษณะต่างๆได้ดีขึ้น
  • 13. 2. การให้ความสนใจและสังเกตเด็กอย่างใกล้ชิดจะช่วยให้ทราบลักษณะเฉพาะของเด็ก 3. ในการสอนเด็กเล็กๆเขาจะรับรู้ส่วนรวม (whole) ได้ดีกว่าส่วนย่อย (part) ดังนั้น ผู้สอนจึงควรสอนภาพรวมก่อนแล้วจึงแยกสอนทีละส่วน 4. ในการสอนสิ่งใดให้กับเด็ก ควรเริ่มจากสิ่งที่เด็กคุ้นเคยหรือมีประสบการณ์มาก่อนแล้วจึง เสนอสิ่งใหม่ที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งเก่า การทาเช่นนี้จะช่วยเด็กซึมซับและจัดระบบความรู้ได้ดี 5. การเปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์แล้วมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมมากๆ จะช่วย ให้ เด็กซึมซับข้อมูลเข้าสู่โครงสร้างทางสติปัญญา และพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กได้ดี 3. ท่านจะแนะนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับระดับพัฒนาการ ของผู้เรียนอย่างไร เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจ (ต่อ)
  • 14. สถานการณ์ปัญหาที่ 3 ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศก์ติดตามการสอนของครูหมวด วิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า จะสอนโดย วิธีการบรรยาย เขียนกระดานดา และให้นักเรียนดูหนังสือตาม โดยจะ พูดแต่ เนื้อหาไม่บอกสาระสาคัญ ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน ทาให้ยากต่อ การทาความเข้าใจ ชั่วโมงต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น และลอง ถามให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะอธิบายได้ ขาดกรอบในการนาเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในเนื้อหาที่ เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน
  • 15. 1. จงวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ เนื้อหาได้ มีสาเหตุดังนี้ 1. เกิดจากครูไม่มีการแนะนาบทเรียนก่อนการเรียนการสอน 2. ครูไม่ได้จัดการเรียนรู้ที่ทาให้เกิดการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเพื่อให้ นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้มาปรับโครงสร้างทางปัญญา 3. ครูไม่ได้จัดเรียงเนื้อหา และไม่ได้นาเสนอกรอบแนวคิดที่ชัดเจน
  • 16. 2. ท่านจงลองนาเสนอวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนดังกล่าวโดยอาศัยหลักการ และทฤษฎีทางพุทธปัญญานิยม มาอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบด้วย 1. ผู้สอนควรมีการแนะนาบทเรียนก่อนการเรียนการสอน และก่อนที่จะสอนสิ่งใดใหม่ ควรมีการสารวจความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนเสียก่อนว่ามีพอที่จะทาความเข้าใจ เรื่องที่เรียนใหม่หรือไม่ ถ้ายังไม่มีต้องจัดให้ก่อนสอนเรื่องใหม่ 2. ผู้สอนควรสอนโดยไม่เน้นการท่องจา แต่สอนให้เกิดการสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง ความรู้ที่มีมาก่อนกับข้อมูลใหม่หรือความคิดรวบยอดใหม่ที่จะต้องเรียน 3. ผู้สอนควรใช้ Advance organizer เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี ความหมายจากการสอนหรือบรรยายของผู้สอน
  • 17. 2. ท่านจงลองนาเสนอวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนดังกล่าวโดยอาศัยหลักการ และทฤษฎีทางพุทธปัญญานิยม มาอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบด้วย (ต่อ) 4. ผู้สอนควรช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการจัดเรียบเรียง ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เรียนรู้ออกเป็นหมวดหมู่ 5. ผู้สอนควรนาเสนอกรอบหลักการกว้างๆก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่ 6. ผู้สอนควรแบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สาคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสาคัญที่ เป็นความคิดรวบยอดใหม่ที่จะต้องเรียน
  • 18. สถานการณ์ปัญหาที่ 4 ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กาลังประสบปัญหา เกี่ยวกับการสอน คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียน จะมีความ เข้าใจและจาได้ เมื่อถามคาถาม หรือให้ออกไปแสดง วิธีทาหน้าชั้นเรียนก็สามารถทาได้ถูกต้อง แต่เมื่อเวลาผ่านไป เช่นในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถามหรือให้แสดงวิธีทาปรากฏว่าจะ ตอบไม่ถูก หรือแสดงวิธีทาได้เพียงบางส่วน ยิ่งถ้าเป็นเรื่อง เกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจาไม่ได้ ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ลอง พิจารณาหาทางช่วยครูทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว
  • 19. 1. จงวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นน่าจะนาทฤษฎีใดในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมมาใช้ แก้ปัญหา พร้อมทั้งอธิบายหลักการ ทฤษฎี ที่ใช้อย่างละเอียด ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ(Information Processing) : คลอสไม เออร์ (Klausmeier) กล่าวว่ามนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาท สัมผัสทั้ง 5 มีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การรู้จัก (recognition) และ ความใส่ใจ (attention) ซึ่งจะเลือกข้อมูลที่ตนเองสนใจบันทึก ไว้ในความจาระยะสั้น ซึ่งวิธีการที่จะช่วยเก็บรักษาข้อมูลไว้ใน ความจาระยะสั้นให้ช่วงเวลายาวขึ้น แล้วนาไปเก็บไว้ในความจาระยะ ยาวเพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้นั้น ได้แก่ การทบทวน การ ทาซ้าๆ เป็นต้น วิธีการต่างๆเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี ความหมาย ซึ่งเป็นผลที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้น
  • 20. 2. หากคุณพบปัญหาในการเรียนการสอนในวิชาที่คุณสอนเอง คุณจะนาหลักการหรือทฤษฎี เดียวกับครูทักษิณ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร จงอธิบายขั้นตอนและยกตัวอย่างประกอบ ทาได้ดังนี้ 1. การนาเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและ รับรู้สิ่งนั้น ซึ่งผู้สอนสามารถ เชื่อมโยงไปถึงสิ่งใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นได้ เช่น ครูให้นักเรียนใช้งานอินเตอร์เน็ต นักเรียนรู้ว่า อินเตอร์เน็ตมีเว็บไซต์ต่างๆมากมาย เป็นต้น 2. ครูจัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น 3. ข้อมูลที่ผ่านการรับรู้แล้ว จะถูกนาไปเก็บไว้ในความจาระยะสั้น หากต้องการที่จะจาสิ่งนั้นนานๆ ได้รับการเข้ารหัส เพื่อนาไปเข้าหน่วยความจาระยะยาว เช่น การท่องซ้ากันหลายๆครั้ง เป็นต้น เช่น (ตัวอย่างข้อ 2-3) ในวิชาเลือกเสรี นักเรียนใช้งานโปรแกรมสร้างการ์ตูน 2D ขั้นตอนการทางานอาจ ซับซ้อน นักเรียนจึงต้องหมั่นฝึกซ้า เพื่อให้เกิดความจาในระยะยาว เป็นต้น
  • 21. สถานการณ์ปัญหาที่ 5 ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปารวีมี เหตุการณ์เป็นดังนี้ ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธีหาค่าเฉลี่ยแล้วให้นักเรียน กลับไปทาเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้าหากมีเวลาว่างเขาจะหยิบสมุดการบ้าน ขึ้นมาทา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่าเขาจะแก้โจทย์ข้อนี้ได้อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจ จากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทนค่าในสมการแล้วสุวัฒน์ก็ยังไม่ได้คาตอบ สุวัฒน์จึงทบทวน อ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขาถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้ซับซ้อนกว่าที่เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติม และหาวิธีการแก้โจทย์จากหนังสือคู่มือหลายๆ เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจ มากที่สุด มาใช้แก้โจทย์ข้อนี้ จนได้คาตอบ แล้วทาการตรวจทานคาตอบอีกครั้ง เพื่อความแน่ใจ
  • 22. จาก กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาของเด็กชายสุวัฒน์คุณคิดว่าสอดคล้องกับ ทฤษฎีใดจงชี้ให้เห็นถึงความสอดคล้องดังกล่าว พร้อมยกตัวอย่างประกอบ กระบวนการของด.ช.สุวัฒน์สอดคล้องกับทฤษฎี Metacognition การรู้คิดของตนเอง เนื่องจากผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งฟลาเวลได้ให้ความหมายว่า เป็น ความรู้ส่วนตัวของแต่ละบุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยจะขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่าง คือ ผู้เรียน งาน และ ยุทธศาสตร์ ยกตัวอย่างเช่น การรู้คิดของตนเอง Metacognition ยุทธศาสตร์ คือ เมื่อลองทาปรากฏว่าทาไม่ได้ โจทย์ซับซ้อนจึงต้องเปลี่ยนกระบวนการ หาความรู้เพิ่ม เมื่อได้ก็ลงมือแก้โจทย์อีกรอบจนได้คาตอบ พร้อมตรวจทาน งาน คือ การบ้านโจทย์คณิตศาสตร์ ประเมินตนเองแล้วคิดว่าตนเองเข้าใจและทาได้ ผู้เรียน คือ เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กขยัน
  • 23. จะนาหลักการดังกล่าวไปออกแบบการจัดการเรียนรู้ในสภาพจริงอย่างไร อธิบายเชิงหลักการ ทฤษฎี พร้อมทั้งผลที่มีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไรบ้าง ยุทธศาสตร์ ต้องใช้เวลานานกว่าจะอ่านได้ มีคาศัพท์ที่ไม่เคยเห็น จึงต้องขอให้พี่ช่วยฝึกและหัดอ่าน ให้ใน ตอนเที่ยงและตอนเย็น หัดอ่านหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่ง อ่านหนังสือเรียน ฝึกทุกวัน เมื่อมั่นใจว่า ตนเองอ่านได้จึงไปอ่านนิทาน อ่านหนังสือพิมพ์ให้ผู้ปกครองฟัง งาน ฝึกอ่านหนังสือให้ได้ เพื่อที่จะได้อ่านนิทานที่ตัวเองชอบ ตั้งใจเรียนเวลาครูสอน ผู้เรียน นักเรียน ป.2 อยากอ่านหนังสือนิทานได้ ไม่ต้องรอให้คนอื่นอ่านให้ฟัง เป็นความรู้ส่วนตัวของแต่ละบุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยจะขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่าง คือ ผู้เรียน งาน และ ยุทธศาสตร์ ทฤษฎี Metacognitionการรู้คิดของตนเอง