SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
บทที่ 1 แนะนา Game Design และ Kodu Game lab
กิจกรรมที่ 1.1 แนะนาตัวเอง
กิจกรรมที่ 1.2 แนะนา Kodu Game Lab
กิจกรรมที่ 1.3 เกมคืออะไร
กิจกรรมที่ 1.4 Kodu Game

บทที่ 2 พืนฐานโปรแกรมมิ่ง
          ้
กิจกรรมที่ 2.1 แนะนาภาษาโปรแกรมมิ่งของ Kodu
กิจกรรมที่ 2.2 การแก้ ไข Tutorial 2 และ 3
กิจกรรมที่ 2.3 ทาความรู้จกกับ Bot และ Object
                          ั
กิจกรรมที่ 2.4 การใช้ Programming Bots
กิจกรรมที่ 2.4 การสร้ าง bot สองตัว

บทที่ 3 กระบวนการออกแบบอย่ างไม่ เป็ นทางการ
กิจกรรมที่ 3.1 ระดมสมองลองไอเดีย
กิจกรรมที่ 3.2 ไอเดียดีๆ สาหรับเกม
กิจกรรมที่ 3.3 ตัวอย่ างของโรงเรียน และกรณีตัวอย่ าง

บทที่ 4 การสร้ าง Game World
กิจกรรมที่ 4.1 การออกแบบ Game Space
กิจกรรมที่ 4.2 การสร้ าง Design Pattern และ Recipe
กิจกรรมที่ 4.3 ทาความรู้จกกับ Game Space Patterns
                          ั

บทที่ 5 ใช้ งาน Game Design Patterns
กิจกรรมที่ 5.1 Game Progress Patterns
กิจกรรมที่ 5.2 Game Play Patterns
กิจกรรมที่ 5.3 Game Information Design Patterns

บทที่ 6 ใช้ งาน Game Design Approach
กิจกรรมที่ 6.1
กิจกรรมที่ 6.2

บทที่ 7 ขันต่ อไป
          ้
บทนา
Kodu Game Lab คือโปรแกรมช่วยเขียนโปรแกรมมิงที่ชวยให้ คณสร้ างเกมสามมิติ (3D) ได้ เอง แม้ จะไม่มีพื ้นความรู้เรื่ องการ
                                           ่ ่        ุ
เขียนโปรแกรมเลยก็ตาม Kodu มีไอคอนที่คอยควบคุมคาแรคเตอร์ (Character) และอ็อปเจค (Object) ต่างๆ ด้ วยการสังให้       ่
คาแรคเตอร์ แสดงพฤติกรรมออกมาในรูปแบบทีจบต้ องได้
                                       ่ั

คอร์ สนี ้ออกแบบมาเพื่อให้ ครูที่ต้องการนาวิชา Game Design มาใช้ กบกิจกรรมในห้ องเรียน หลังการอบรม ผู้เรี ยนจะได้ ร้ ูจกกับ
                                                                  ั                                                    ั
Kodu Game Lab และสาธิตให้ นกเรี ยนของตนเองเข้ าใจว่าใครๆ ก็สามารถสร้ างเกมที่นาตื่นตาตืนใจได้
                                    ั                                             ่        ่

คอร์ สนี ้ครอบคลุมทักษะที่ต้องใช้ ในการออกแบบ สร้ างโลกสมมติและเกมด้ วย Kodu Game Lab รวมทังสามารถวิเคราะห์
                                                                                           ้
หรื อติดตามกระบวนการออกแบบ ตลอดจนแนะนาว่าครูผ้ สอนสามารถนา Kodu ไปใช้ กบหลักสูตรของโรงเรียนได้ อย่างไรด้ วย
                                                       ู                       ั

ด้ วยความสามารถในการออกแบบและสร้ างเกมได้ ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะสามารถสร้ างเกมที่นาสนใจและมีความดึงดูดผู้เล่นได้
                                                                                 ่
ด้ วยการใช้ เทคนิคง่ายๆ เพียงไม่กี่ขนตอนของโปรแกรมนี ้
                                    ั้

ประโยชน์ ท่ ีจะได้ รับจากหลักสูตรนี ้
    ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสามารถเขียนโปรแกรมสังการให้ แก่คาแรคเตอร์ และอ็อปเจคได้
                                            ่
    ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสร้ างโลกสามมิติได้
    แนะนาองค์ประกอบหลักของการออกแบบเกมได้
    มอบตัวอย่างของ code ที่มีหลากหลายรูปแบบ
    มอบตัวอย่าง game play ที่มีหลากหลายรูปแบบ
    สร้ างตัวอย่างการใช้ Kodu Game Lab ในโรงเรี ยนได้
    มอบความช่วยเหลือได้ ตรงเวลาเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนมันใจในการใช้ งาน Kodu Game Lab
                                                      ่

หมายเหตุ
Kodu Game Lab ยังเป็ นโปรแกรมที่กาลังพัฒนาอยู่ ตัวอย่างต่างๆ ในเอกสารฉบับนี ้จะต้ องใช้ งานบนเวอร์ ชน 1.48 ซึงเป็ น
                                                                                                    ั่       ่
เวอร์ ชนล่าสุดของ Kodu Game Lab ในขณะนี ้ หากคุณใช้ งานเวอร์ ชนอื่นที่ต่ากว่า โปรดตรวจสอบที่
       ั่                                                     ั่
http://media.planetKodu.com/workshop/resources.html เพื่ออัพเดตและเรี ยกดูเอกสารประกอบการอบรม

เอกสารฉบับนีมีไว้ สาหรับผู้ให้ การอบรมนักเรียน ผู้สอนจะมีบันทึกย่ อปรากฏในกรอบโดยตลอด แต่ กรอบนีจะไม่
            ้                                                                                   ้
ปรากฏในเอกสารฉบับผู้เรียน




                                                                                                                         1
บทที่ 1
แนะนา Game Design และ Kodu Game lab

กิจกรรมที่ 1.1 แนะนาตัวเอง

ใช้ กิจกรรมนี ้เพื่อให้ สมาชิกในกลุมทาความรู้จกกัน ใช้ เวลา 10 นาทีเพื่อให้ แต่ละคนสร้ างคาแรคเตอร์ ของตัวเองและใช้ เวลาอีก
                                   ่            ั
10 นาทีเพื่อให้ แต่ละคนแบ่งปั นคาแรคเตอร์ กบคนอื่นๆ ในกลุม
                                              ั              ่

สมมติวาคุณเป็ นคาแรคเตอร์ ในเกม (Game Character) คุณต้ องการให้ คาแรคเตอร์ มีลกษณะอย่างไร
      ่                                                                       ั

ชื่อ                        ________________________________________________________________
พาวเวอร์ (Power)            ________________________________________________________________

ระบุลักษณะพิเศษของคาแรคเตอร์ ของคุณ 3 อย่ าง:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

วาดภาพคาแรคเตอร์ ของคุณลงในกรอบ




                                                                                                                          2
กิจกรรมที่ 1.2 แนะนา Kodu Game Lab

ประเด็นสาคัญ:
     Kodu เหมาะสาหรับการพัฒนาเกมแบบเร่งด่วน โดยใช้ อินเทอร์ เฟสและภาษาที่งายต่อการใช้ งาน
                                                                                  ่
     Kodu ใช้ ภาษาโปรแกรมมิ่งทีเ่ ป็ นรูปไอคอนหรื อสัญลักษณ์ให้ เข้ าใจได้ ง่ายๆ
     Kodu เหมาะสาหรับเกมขนาดเล็ก



ในกิจกรรมนี ้ เราจะลองสารวจ Kodu Game Lab กันก่อน ในเรื่ องของวัตถุประสงค์และสิงที่ได้ พฒนาเอาไว้ ให้ ในโปรแกรม ใช้
                                                                               ่        ั
เนื ้อที่ด้านล่างต่อไปนี ้เพื่อบันทึกรายละเอียดสาคัญเกี่ยวกับ Kodu Game Lab
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 1.3 เกมคืออะไร

ถามสมาชิกในกลุมว่าชอบเล่นเกมอะไรมากที่สด 5 เกม แนะให้ พวกเขาเขียนรายชื่อเกมในแต่ละหมวดที่แตกต่างกัน
                    ่                              ุ
ตัวอย่างเช่น เกมประเภท Sport Game เกมประเภท Board Game หรื อ เกมประเภท Computer Game เป็ นต้ น เมื่อแต่ละคน
ได้ เขียนรายชื่อแล้ ว ให้ ผ้ เู รี ยนหาคาตอบว่าแต่ละเกมมีอะไรที่เหมือนกัน และอะไรที่ทาให้ เกมเหล่านี ้ทางานได้ ใช้ Diamond 9
เพื่อแสดงปั จจัยสาคัญเกี่ยวกับสิงที่สร้ างเกม โดยปั จจัยสาคัญจะอยูตาแหน่งบนสุด
                                       ่                              ่

ควรแลกเปลียนความคิดเห็นกันเมื่อจบกิจกรรมนี ้
          ่

ประเด็นสาคัญ:
     เกมเน้ นที่ความสนุกสนาน
     เกมต้ องมีกฎ
     เกมต้ องมีวตถุประสงค์ / เกมต้ องมีผ้ ชนะและผู้แพ้
                   ั                       ู
     ผู้เล่นเกมต้ องตัดสินใจและต้ องมีทกษะอย่างใดอย่างหนึงเพื่อเล่นเกม
                                        ั                 ่
     เกมคือประสบการณ์




                                                                                                                           3
ในกิจกรรมนี ้ เราจะมาดูกนว่าจะสร้ างเกมขึ ้นได้ อย่างไร
                        ั

เขียนเกม 5 อย่างทีคณชอบเล่น
                  ่ ุ
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

ลองคิดเกี่ยวกับเกมที่คณได้ เขียนไว้ แล้ วระบุปัจจัยสาคัญในการสร้ างเกมเหล่านันขึ ้นมาได้ ใช้ กราฟ Diamond 9 ต่อไปนี ้เพื่อ
                      ุ                                                      ้
จัดระเบียบความคิดของคุณ โดยที่ปัจจัยแรกที่สาคัญที่สดต้ องอยูในกรอบบนสุดของ Diamond
                                                        ุ     ่




                                                                                                                             4
“หากคุณเคยเขียน Software Subroutine แล้ วพบว่าต้ องเจอ arguments มากกว่า 10 arguments ลองกลับไปดูอีกที คุณ
                                           อาจจะลืมอะไรบางอย่างไป”
                                                    Alan Kay

                             “เกมคือกิจกรรมแก้ ปัญหา ที่ซงเข้ าถึงได้ ด้วยความคิดที่สนุกสนาน”
                                                         ึ่
                                                    Jesse Schell



กิจกรรมที่ 1.4 Kodu Games

กิจกรรมนี ้ออกแบบมาเพื่อให้ ผ้ เู รียนได้ ค้นพบรูปแบบต่างๆ ของเกมที่สามารถสร้ างขึ ้นด้ วย Kodu Game Lab และระบุได้ วา
                                                                                                                     ่
อะไรที่ทาให้ เกมเหล่านี ้มีความสนุกสนาน ใช้ เวลา 15 นาที สาหรับการเล่นเกม และอีก 5 นาทีสาหรับบันทึกผลการเล่น จากนัน    ้
ใช้ เวลา 10 นาทีสาหรับการอภิปรายซักถาม ใช้ “Kodu Game” PowerPoint เพื่อแสดงเกมบางอย่างที่สร้ างจาก Xbox Kodu
community

เนื่องจากตัวอย่างมี quick play ของ Bonk Out 18 และอภิปรายวัตถุประสงค์ กฎ และเหตุผลว่าทาไมเกมถึงสนุกสนานไว้ แล้ ว

Kodu Game Lab มีโลกสมมติ (World) ที่รวมเกมเอาไว้ อยูประมาณ 50 แห่ง ในกิจกรรมนี ้ เราจะสารวจ world เหล่านี ้และ
                                                      ่
เกมต่างๆ เพื่อเรี ยนรู้วาอะไรที่ Kodu Game Lab สามารถสร้ างได้ และเราต้ องใช้ อะไรบ้ างเพื่อสร้ างเกมขึ ้นมาโดยใช้ โปรแกรม
                        ่
Kodu Game Lab

ตัวอย่ างการสารวจเกม

ชื่อเกม:                    Bonk-Out v18
วัตถุประสงค์ :              ทาลายปราสาทในขณะที่ปกปองไม้ (Stick) ของคุณไว้
                                                           ้
กฎ:                         ใช้ ปมใดปุ่ มหนึงเพื่อปล่อยจักร หรื อใช้ Push Bot เพื่อปล่อยได้ เช่นกัน กงจักรจะทาลายทุกอย่าง
                                 ุ่          ่
                            ยกเว้ นตัวผู้เล่น ผู้เล่นสามารถควบคุมให้ จกรพุงไปตรงไหนก็ได้ โดยควบคุมทิศทางการเด้ งของจักร
                                                                       ั ่
ทาไมจึงสนุก:                เกมนี ้ง่ายต่อการเข้ าใจเพราะมีพื ้นฐานเหมือนกับเกมBreakout ที่คนส่วนใหญ่ร้ ูจก เกมนี ้มีความ
                                                                                                            ั
                            สนุกตรงที่เป็ นเกมทีเ่ คลือนไหวอย่างรวดเร็ ว และจะสนุกมากขึ ้น เมื่อเล่นไปนานๆ
                                                       ่




                                                                                                                             5
สารวจเกมที่คุณชอบ

ชื่อเกม:            _________________________________________________________________________

วัตถุประสงค์ :      _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________

กฎ:                 _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________

ทาไมจึงสนุก:        _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________
                    _________________________________________________________________________




                                                                                                6
บทที่ 2
พืนฐานโปรแกรมมิ่ง
  ้

กิจกรรมที่ 2.1 แนะนาภาษาโปรแกรมมิ่งของ Kodu

ในกิจกรรมนี ้เราจะเขียนโปรแกรมแรกโดยใช้ Kodu Game Lab กัน Kodu Game Lab มี Tutorial พื ้นฐานอยู่ 3 อย่างและเรา
จะเรี ยนรู้ทงหมดในกิจกรรมนี ้
            ั้

สาธิต Tutorial 1 และวิธีการแก้ ไขปั ญหา

ประเด็นสาคัญ:

การแสดงด้ วยสัญลักษณ์ และบอกว่าเมื่อไรควรต้ องใช้ ข้อความเพื่อนิยามค่าของภาษาโปรแกรมมิ่ง

ไฮไลต์ตรงเมนู Help ที่อยูในเกม ซึงแสดงให้ เห็นว่ามี Key และ button ใดบ้ างที่สามารถใช้ เพื่อสังการโปรแกรมและเข้ าถึง
                         ่       ่                                                            ่
หน้ าจอและ toolbar ต่างๆ ได้

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

ใช้ งาน Tutorial 1

1. เปิ ด Tutorial 1 world

Kodu Bot จะบอกคุณว่า “I want to visit the castle.”

2. กด ESC บนแปนคีย์บอร์ ดหรื อปุ่ ม Start บน controller เพื่อแก้ ไข world
              ้



                                                                                                                       7
3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects” จาก toolbar โดยจะมีหน้ าตาแบบนี ้

4. เลือกคาแรคเตอร์ โดยคลิกขวาหรื อเลือก Y บนแปน gamepad จากนันคาแรคเตอร์ จะเรื องแสงเป็ นสีเหลืองและจะปรากฏ
                                              ้              ้
editing menu ขึ ้นมา

5. คลิก Program

Bots code จะปรากฏขึ ้นมา และคุณจะมีทางเลือก 2 ทางในการแก้ ไข line 1 บน code ที่มีอยู่ หรื อ เพิ่ม line ใหม่เข้ าไปบน
code นัน ในกิจกรรมนี ้เราจะแก้ ไข line แรก แต่การเพิม line ใหม่เข้ าไปก็สามารถทาได้
       ้                                            ่

Line แรกจะอ่านได้ ดงนี ้
                   ั




แต่เราต้ องเปลียนให้ เป็ นดัง
               ่
นี ้




6. เอากรอบคาสัง (Tile) ที่ชื่อ express และ heart ออก โดยคลิกขวาบนกรอบคาสังเหล่านันหรื อกด
              ่                                                          ่       ้                 บนแปน gamepad
                                                                                                       ้


7. เพิ่มกรอบคาสังใหม่โดยคลิกซ้ ายที่ไอคอน
                ่                              ตรงตาแหน่งขวามือของกรอบคาสัง Do (หรื อกด
                                                                          ่                        บนแปน gamepad)
                                                                                                       ้



                                                                                                                       8
8. เลือก move


9. เลือก towards

จากนัน code จะปรากฎเป็ น
     ้




9. กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด          สองครังบนแปน game pad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิ่งและกลับสูหน้ าจอ
                                               ้    ้                                                 ่
toolbar


10. คลิกไอคอน Play         เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด         บนแปน gamepad แล้ วกด
                                                              ้                             เพื่อเล่นเกม

11. Kodu Bot ควรจะสามารถเดินไปยังปราสาทได้ แล้ วในตอนนี ้

กิจกรรมที่ 2.2 การแก้ ไข Tutorial 2 และ 3
ในกิจกรรมนี ้เราจะมาแก้ ไขปั ญหาใน Tutorial 2 และ 3 กัน วิธีแก้ ไขปั ญหาเหล่านี ้นันมีอธิบายในส่วนต่อจากนี ้ไป แต่ขอให้
                                                                                   ้
พยายามแก้ ไขปั ญาด้ วยตนเองก่อนเสมอ และดูวิธีแก้ ไขปั ญหาเมือจาเป็ นเท่านัน
                                                                ่            ้

ถามสมาชิกในกลุมว่าจะแก้ ไข Tutorial 2 และ 3 อย่างไร สนับสนุนให้ พวกเขาใช้ วิธีแก้ ไขปั ญหาได้ หากจาเป็ น
              ่

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________


                                                                                                                          9
การแก้ ไขปั ญหาใน Tutorial 2
วัตถุประสงค์: เราต้ องการ reprogram ตัว cycle bot เพื่อให้ มนสามารถกระโดดข้ ามแม่น ้าได้
                                                            ั

1. เปิ ด Tutorial 2
2. กด ESC บนคีย์บอร์ ดหรื อ Start บน controller เพื่อแก้ ไข world


3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects”                จาก toolbar

4. เลือกคาแรคเตอร์ โดยคลิกขวา หรื อย้ าย cursor รูป            ด้ วย gamepad จากนันจะเรื องแสงเป็ นสีเหลืองและหน้ าเมนู
                                                                                  ้
editing menu จะปรากฏขึ ้นมา


5. คลิกซ้ ายเลือก Program หรื อกดปุ่ ม     บน gamepad

จากนันจะปรากฏ bots code ขึ ้นมา และคุณจะมีทางเลือก 2 ทางในการแก้ ไข line 3 และ 4 บน code ที่มีอยู่ หรื อ เพิ่ม line
      ้
ใหม่ๆ เข้ าไปบน code นัน ในกิจกรรมนี ้เราจะแก้ ไข line แรก แต่การเพิ่ม line ใหม่เข้ าไปก็สามารถทาได้
                       ้

ณ ตอนนี ้ line ปรากฎเป็ น




แต่เราจะเปลียนให้ ปรากฎเป็ น
            ่




                                                                                                                     10
6.. เพิ่มกรอบคาสังใหม่โดยคลิกซ้ ายที่ไอคอน
                 ่                               ตรงตาแหน่งขวามือของกรอบคาสัง Do (หรื อกด
                                                                            ่               บนแปน
                                                                                                ้
gamepad)


7. เลือกกรอบคาสัง
                ่        โดยคลิกซ้ ายบนเม้ าส์ หรื อกด      บนแปน gamepad
                                                                ้


หมายเหตุ: คลิกบน action ที่เป็ นรูป      คุณก็จะพบกรอบคาสัง
                                                          ่         ได้ เช่นกัน

จากนัน code จะปรากฎเป็ น
     ้




                                                                                                    11
9. กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด             สองครังบนแปน gamepad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิงและกลับสูหน้ าจอ
                                                  ้    ้                                     ่         ่
toolbar


10. คลิกไอคอน Play           เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด        บนแปน gamepad แล้ วกด
                                                               ้                         เพื่อเล่นเกม


11. Kodu Bot ควรจะสามารถกระโดดได้ ด้วยการกด spacebar หรื อการกดปุ่ ม

การแก้ ไขปั ญหาใน Tutorial 3

วัตถุประสงค์: เราต้ องการสังให้ ตว cycle bot สามารถหยิบแอปเปิ ลได้
                           ่ ั                                ้

1. เปิ ด Tutorial 3
2. กด ESC บนคีย์บอร์ ดหรื อ Start บน controller เพื่อแก้ ไข world


3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects”                   จาก toolbar

4. เลือกคาแรคเตอร์ โดยคลิกขวาบนคาแรคเตอร์ หรื อย้ าย cursor รูป              ด้ วย gamepad จากนันจะเรืองแสงเป็ นสี
                                                                                                ้
เหลืองและหน้ าเมนู editing จะปรากฏขึ ้นมา


5. คลิกซ้ ายเลือก Program หรื อกดปุ่ ม           บน gamepad

ณ ตอนนี ้ line ที่ 2 ของ code จะปรากฏเป็ น




แต่เราต้ องการเปลียนให้ เป็ นดังต่อไปนี ้
                  ่



                                                                                                                     12
6. เพิ่มกรอบคาสังใหม่โดยคลิกซ้ ายที่ไอคอน
                ่                              ตรงตาแหน่งขวามือของกรอบคาสัง Do (หรื อกด
                                                                          ่                         บนแปน
                                                                                                        ้
gamepad)


7. เลือกกรอบคาสัง
                ่       โดยคลิกซ้ ายบนเม้ าส์ หรื อกด       บนแปน gamepad
                                                                ้


หมายเหตุ: คลิกบน holding group ที่เป็ นรูป         คุณก็จะพบกรอบคาสัง
                                                                    ่       ได้ เช่นกัน

จากนัน code จะปรากฏเป็ น
     ้




9. กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด     สองครังบนแปน gamepad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิงและกลับสูหน้ าจอ
                                          ้    ้                                     ่         ่
toolbar


10. คลิกไอคอน Play        เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด        บนแปน gamepad แล้ วกด
                                                            ้                        เพื่อเล่นเกม

11. Kodu Bot ควรจะสามารถเก็บผลแอปเปิ ลที่กาลังเรื องแสงได้ และสามารถข้ ามสะพานได้ ด้วย
                                     ้




                                                                                                            13
กิจกรรมที่ 2.3 ทาความรู้จักกับ Bot และ Object

ในกิจกรรมนี ้เป็ นการจะสารวจ bot และ object ต่างๆ ทีมีใน Kodu Game Lab เราจะเรี ยนรู้วาต้ องใช้ attribute และ ability
                                                    ่                                 ่
ของ bot ต่างๆ อย่างไรด้ วย

ใช้ Bots and Objects World เพื่อสาธิตให้ เห็นตัว bot ต่างๆ ที่มใน Kodu Game Lab
                                                                 ี
ประเด็นสาคัญ:
1. ตัว bot ต่างๆ จะมี attribute และ ability ที่แตกต่างกัน
2. ใช้ สเี พื่อแยกแยะ character role ให้ แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น วงกลมสีแดง หรื อ วงกลมสีดา
3. bot และ object ทุกตัวมีคา setting ที่สามารถตังค่าในตอนที่สร้ างเกม แต่ไม่สามารถตังค่าในช่วงที่เกมกาลังดาเนินอยูได้
                             ่                      ้                                  ้                          ่




                                                                                                                        14
บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 2.4 การใช้ Programming Bots

Bot ที่ควบคุมโดยผู้เล่ น (Player Controlled bots)

เมื่อเราได้ ผานการทา Tutorial มาแล้ ว เราจะสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อให้ ควบคุม bot ได้ ด้ วยการใช้ คย์บอร์ ดหรื อ Xbox
             ่                                                                                    ี
Controller เรายังสามารถทาการจับคู่ action ต่างๆ เช่น การจับคูการกระโดดเข้ ากับคีย์บางตัวบนคีย์บอร์ ดหรื อบน gamepad
                                                             ่
ได้




                                                                                                                  15
Bot อัจฉริยะ (AI Bot)

ลองดูวาเราสามารถโปรแกรม bot ต่างๆ ที่ต้องปฏิสมพันธ์กบ bot ของผู้เล่นได้ อย่างไร
      ่                                      ั      ั




หรื อ เราสามารถใช้ see แทน hear ในหลายกรณีเช่นกัน




หากเราต้ องการให้ bot เคลือนที่ไปมากกว่าการเดินตาม เราสามารถใช้ กรอบคาสังต่อไปนี ้
                          ่                                             ่




และเมื่อมี Physical Sensors:

ประเด็นสาคัญ:

1. Physical action คือกิริยาอาการที่ต้องการให้ bot หรื อ object ทา เช่น see, hear, got, bump, shot hit, health, held
   by, on land และ on water
2. External action เช่น timer, scored, gamepad, keyboard และ mouse คือสิงที่ bot หรื อ object สามารถตอบสนองได้
                                                                              ่
3. bot และ object แสดง action ได้ ไม่เหมือนกันทุกตัว



                                                                                                                  16
การแสดง physical action ต่างๆ




Bot และ object มีคา setting ที่กาหนด attribute บางตัว ที่ควบคุมให้ พวกมันแสดงออกและปรากฏตัวขึ ้นมาในเกม การ
                  ่
โปรแกรมมิ่งไม่สามารถแก้ ไขค่า setting เหล่านี ้ได้ ในขณะที่เกมยังดาเนินอยู่ และต้ องทาในช่วงของการออกแบบเท่านัน
                                                                                                              ้


                                                                                                                  17
บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 2.4 การสร้ าง bot สองตัว

กิจกรรมนี ้จะสอนการสร้ าง bot ในเกมขึ ้นมาสองตัว เช่น tag หรื อ similar

กิจกรรมดังกล่าวเป็ นการสอนการสร้ าง bot อย่างง่ายๆ เกมจึงไม่ควรซับซ้ อนแต่ควรเป็ นเกมที่สามารถเล่นให้ ชนะในระยะเวลา
อันสันได้ ไม่ยากนัก
     ้

1. เปิ ด Small World with Water
2. กด ESC บนคีย์บอร์ ดหรื อ Start บน controller เพื่อแก้ ไข world

3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects”                 จาก toolbar
4. เพิ่มคาแรคเตอร์ โดยคลิกซ้ ายที่คาแรคเตอร์ กดปุ่ ม        บน gamepad จากนันเลือก bot หรื อ object ที่คณต้ องการ
                                                                            ้                           ุ
5. เพื่อสังการ bot หรื อ object ให้ คลิกซ้ ายเลือก Program หรื อกดปุ่ ม
          ่                                                               บน gamepad

6. เพิ่ม code ที่คณต้ องการลงไป
                  ุ
7.กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด         สองครังบนแปน game pad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิงและกลับสูหน้ าจอ
                                             ้    ้                                      ่         ่
toolbar

8. คลิกไอคอน Play      เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด             บนแปน gamepad แล้ วกด
                                                              ้                          เพื่อเล่นเกม
9. ทาแบบเดิมอีกครังหากต้ องการเพิ่ม bot ตัวที่สอง
                  ้

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

                                                                                                                    18
บทที่ 3
กระบวนการออกแบบอย่ างไม่ เป็ นทางการ

กิจกรรมที่ 3.1 ระดมสมองลองไอเดีย

สอบถามในกลุมว่ามีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเกมที่พวกเขาได้ สร้ างขึ ้นมาหรื อที่กาลังพัฒนาขึ ้น และคิดด้ วยว่าจะทา
               ่
อย่างไรให้ เกมของพวกเขามีความน่าสนใจยิ่งขึ ้น

เขียนรายการสิ่งที่คุณอยากทาเพื่อพัฒนาเกมให้ ดูน่าสนใจยิ่งขึน:
                                                           ้
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 3.2 ไอเดียดีๆ สาหรับเกม
ในกิจกรรมนี ้เราจะสร้ างไอเดียสาหรับเกมที่สร้ างโดย Kodu Game Lab

ลองเขียนไอเดียต่างๆ เกี่ยวกับเกมที่คณมี
                                    ุ

ตัวอย่าง

ชื่อเกม                     Duck-Out

วัตถุประสงค์                เกมนี ้คล้ ายกับ Bonk-out แต่แทนที่จะมีปราสาทและ stick bot จะมีเรื อและเต่าแทน และเกมนี ้มี
                            ฉากที่เล่นบนน ้า เต่าจะสามารถดาลงไปใต้ น ้าได้ สองวินาทีเพื่อหลบก้ อนหิน

กฎ                          ผู้เล่นต้ องควบคุมปลา ปลาต้ องปกปองเต่าสามตัวจากก้ อนหินทีบินมา ผู้เล่น สามารถทาให้ เต่า
                                                               ้                      ่
                            หลบลงใต้ น ้าได้ ชวคราวเพื่อหลบก้ อนหินที่บินมา
                                              ั่

Bot ที่ใช้                  เรื อ เต่า ปลา และ ก้ อนหินบิน



                                                                                                                      19
ชื่อเกม:                   _________________________________________________________________________

วัตถุประสงค์ :             _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________

กฎ:                        _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________

Bot ที่ใช้ :               _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________
                           _________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 3.3 ตัวอย่ างของโรงเรียน และกรณีตัวอย่ าง
ในกิจกรรมนี ้ เราจะเริ่ มคิดกันเกี่ยวกับเกมและสารวจดูวาโรงเรี ยนต่างๆ ทีเ่ คยใช้ Kodu Game Lab เขาใช้ ประกอบหลักสูตร
                                                      ่
การเรี ยนรู้ของโรงเรียนอย่างไรกันบ้ าง

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________




                                                                                                                       20
21
บทที่ 4
การสร้ าง Game World

กิจกรรมที่ 4.1 การออกแบบ Game Space

กิจกรรมนี ้สร้ างความเข้ าใจในเรื่ องของการพิจารณาใช้ ทรัพยากรต่างๆ การตังค่า World Setting และการตังค่ากล้ อง World
                                                                         ้                          ้
Large กิจกรรมนี ้ใช้ ทรัพยากรจานวนมากแต่ก็ต้องใช้ land ให้ น้อยที่สดเท่าทีจะเป็ นไปได้
                                                                    ุ      ่

เปิ ดวิดีโอของ Tavish Hill ใน PowerPoint ให้ สมาชิกในกลุม
                                                        ่

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 4.2 การสร้ าง Design Pattern และ Recipe
Design Pattern และ Recipe ช่วยให้ โปรแกรมเมอร์ มีกระบวนการที่ง่ายในการแก้ ไขปั ญหาเรื่ องโปรแกรมมิ่ง กิจกรรมนี ้จะ
อธิบายว่า Game Design Pattern จะสามารถช่วยให้ นกออกแบบเกมสามารถทดสอบ pattern เพื่อแก้ ไขปั ญหาด้ าน Game
                                                   ั
Design ได้ อย่างไร รวมทังอธิบายเรื่ องของคอนเซปต์การใช้ Code Recipe ซึงเป็ นโซลูชนด้ านภาษาที่เหมาะกับปั ญหาด้ าน
                        ้                                             ่          ั่
โปรแกรมมิ่งทัวๆ ไป
             ่

กิจกรรมนี ้จะแนะนาแนวคิดของ design pattern และ code recipe ที่เราจะใช้ ในหลักสูตรนี ้

PowerPoint : สนับสนุนให้ สมาชิกในกลุมถามคาถามเมื่อต้ องการ
                                    ่

ประเด็นสาคัญ: Design pattern เป็ นโซลูชนมาตรฐานสาหรับเอกสารที่สามารถแก้ ไขปั ญหาที่พบส่วนใหญ่ได้
                                       ั่
Recipe คือตัวอย่างของ code ที่เหมาะกับการแก้ ไขปั ญหาเรื่ องโปรแกรมมิ่งโดยเฉพาะ




                                                                                                                       22
บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 4.3 ทาความรู้จักกับ Game Space Patterns

กิจกรรมนี ้จะแนะนารูปแบบของ Game World Design Pattern ต่างๆ แต่ละ pattern มีคาอธิบายที่แตกต่างกันตามที่ได้
อธิบายใน PowerPoint และยังมีเกมสาธิตให้ ชมอีกหนึงเกมด้ วย
                                                ่

Design Pattern : Open World

เกมทีใช้ open world design pattern จะช่วยให้ ผ้ เู ล่น เดินทางไปไหนก็ได้ ตามที่ต้องการ Open world game มักเกี่ยวข้ องกับ
       ่
เกมประเภท non-linear game ที่ผ้ เู ล่นสามารถเลือก sequence ที่ต้องการจะเริ่มเล่นก่อนได้ กล้ องจะติดตามตัวผู้เล่น (ซึงเป็ น
                                                                                                                    ่
ค่าตังต้ นของ Kodu Game Lab อยูแล้ ว) และดังนัน open world game จึงเหมาะสมมากกว่าสาหรับเกมที่ต้องใช้ ผ้ เู ล่นเพียง
     ้                             ่            ้
คนเดียว

ประเด็นสาคัญ : Open world สนับสนุนการเล่นเกมแบบ open game play เกมบางเกมไม่มีสวนของการเล่นบนพื ้นดิน
                                                                                ่
(land) และ open world เหมาะกับเกมประเภท strategy game มากกว่า และเหมาะกับเกมที่การเล่นแบบ non-linear

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________




                                                                                                                       23
ใช้ Ground Brush เพื่อเพิมและลบ ground กดปุ่ ม right trigger
                         ่                                                 หรื อคลิกซ้ ายบนเม้ าส์เพื่อ
เพิ่ม ground และกด left trigger    หรื อคลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อลบ ground
มีแปรงอยูหลายรูปแบบและหลายขนาด โดยสามารถปรับเปลียนได้ เพื่อเพิ่มขนาดของ land area
           ่                                               ่
แต่จะทาให้ design มีความซับซ้ อนมากขึ ้นด้ วยเช่นกัน สีของพื ้นดินสามารถเลือกได้ จากตัวเลือก
ต่างๆ ทีต้องการ
        ่

ใช้ Up/Down Brush เพื่อสร้ างภูเขาและทิวเขา
กดปุ่ ม      หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อทาให้ หน้ าดินเรี ยบ
แปรงที่มีหลายขนาดและหลายรูปแบบนันสามารถนามาใช้ เพื่อสร้ าง effect ที่แตกต่างกันได้
                                            ้

ใช้ Water Brush เพื่อเพิ่ม ลบ หรื อเพิ่มสีให้ น ้า

กด right trigger        หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อเพิ่มระดับของน ้าใน world ให้ สงขึ ้นและกด left
                                                                                    ู

trigger        หรื อคลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อลดระดับของพื ้นน ้า
ใช้ Flatten Brush เพื่อสร้ างพื ้นทีเ่ รี ยบและเนินเขาเอียงๆ

กด right trigger        หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อเพิ่มระดับของเนินและกด left trigger         หรื อ
คลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อทาให้ หน้ าดินเรี ยบ
ใช้ Roughen Brush เพื่อสร้ างพื ้นที่ที่เป็ นเนินสูงๆ ตาๆ
                                                       ่

กด right trigger        หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อเพิ่มระดับของเนินให้ มีความสูงชันสลับกันและกด

left trigger        หรื อคลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อทาให้ พื ้นทีตรงนันเป็ นแบบเนินเขาเหมือนคลืนเบาๆ
                                                            ่    ้                        ่


ใช้ Delete Tool เพื่อลบ bot และ object จาก world ของคุณ




                                                                                                         24
ในตอนที่กาลังแก้ ไข world อยูนน ให้ กด F3 เพื่อเปิ ดฟั งก์ชน Snap to Grid เพื่อล็อคขนาดของ brush size ให้ คงที่ ตัวcursor
                             ่ ั้                          ั่
จะคอยเคลือนตามในมุมซ้ ายล่างของจอ
          ่


กด       และ         หรื อหมุน mouse scroll เพื่อซูมเข้ าหรื อซูมออก การซูมเข้ าจะช่วยหา cursor ง่ายขึ ้น ซึงอาจถูกซ่อนอยู่
                                                                                                            ่
หลัง land

หมายเหตุ: ขณะสร้ าง world ควรระวังไม่ให้ วาง world ในพื ้นที่สแดง (Red Area) เรื่ องนี ้สาคัญมากเมื่อต้ องสร้ าง large open
                                                              ี
world

รูปแบบของ Design Pattern : Race

เกมประเภท racing game ต้ องให้ ผ้ เู ล่นแข่งกันบนเส้ นวิ่งหรื อพื ้นที่ที่กาหนดไว้ แล้ ว หลายกรณีมีจดที่ต้องเข้ าไปทา
                                                                                                    ุ
checkpoints เมื่อเปาหมายคือการโจมตีศตรูหรื อแข่งกันว่าใครถึงเร็ วที่สด เกมประเภทนี ้คล้ ายกับการแข่งขันในความเป็ นจริง
                   ้                      ั                                  ุ
และดังนันจึงมี pattern ทีเข้ าใจง่ายและไม่ยากเกินไปนัก
        ้                ่

สาธิต Pure Plasma Racing game ให้ ผ้ เู รี ยนชม
ประเด็นสาคัญ: ใช้ Path เพื่อสร้ างถนนสาหรับ AI Character

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: การแข่ งขันกับฝ่ ายตรงเข้ า (Racing track opponents)
หากต้ องการโปรแกรมให้ bot ของผู้เล่นแข่งกัน คุณเพียงแค่สร้ าง Path และจากนันสร้ าง โปรแกรม ให้ bot เดินทางตาม path
                                                                           ้
ที่วางไว้

สาหรับผู้ที่ใช้ Xbox controller คุณต้ องสร้ าง Path ด้ วย Object Tool
สาหรับผู้ที่ใช้ คีย์บอร์ ดและเม้ าส์ ให้ ใช้ Add Path button บนเมนู tool



                                                                                                                              25
เลือก Object Group และจากนันเลือก path type ที่คณต้ องการ (เช่นพื ้นเรี ยบ (Plain), ถนน (Road) กาแพง (Wall) หรื อ
                           ้                    ุ
ต้ นไม้ (Flora)) ใช้ ปม
                      ุ่  button เพือเพิ่ม node แล้ วย้ าย cursor ไปยังจุดที่ต้องการต่อไป และจากนันกด เพื่อเพิม node
                                    ่                                                               ้             ่
อีก หากเส้ นทางสาหรับวิ่งนันจะมีลกษณะเป็ นวง (loop) ที่ซงจะทาให้ เกิดการวิงทับเส้ นกันได้ ดังนันจึงต้ องวาง node สุดท้ าย
                           ้     ั                         ึ่                 ่                ้
ไว้ บน node แรก จากนันกด
                     ้           เพื่อจบกระบวนการ

วาง bot ไว้ บน path จากนันใช้ recipe ต่ อไปนี ้
                         ้




Design Pattern : เกมประเภท Side Scrolling Game

Platform game คือเกมที่ผ้ เู ล่นสามารถเคลือนทีในลักษณะ 2 มิติ หรื อเรี ยกว่า side scroller เกมประเภท Side Scrolling
                                              ่ ่
game มักให้ ผ้ เู ล่นกระโดด ข้ ามช่องว่าง หรื อ ข้ ามสิงกีดขวางที่อาจหรื ออาจจะเคลือนที่ไปมาได้ เกมประเภทนี ้เป็ นที่นิยมมาก
                                                        ่                          ่
ในยุค 1980 และทาให้ ร้ ูสกเหมือนได้ ย้อนยุคทุกครังเวลาที่ได้ เล่นเกมประเภทนี ้
                          ึ                           ้

สาธิตเกม Coins and Platform Cycle
ประเด็นสาคัญ:
1. ใช้ East/West constraint กับการเคลือนไหว
                                          ่
2. ปรับกล้ องให้ เป็ น offset ใน world setting (เป็ นประโยชน์มาก)

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________



                                                                                                                           26
Recipe: Side Scrolling
ปกติแล้ ว Path จะเป็ นสิงที่ดีที่สดในการสร้ าง side scrolling game แต่คณสามารถสร้ าง land ก็ได้ เช่นกัน
                        ่         ุ                                    ุ

เราต้ องจัดให้ กล้ องติดตามตัวคาแรคเตอร์ ของผู้เล่นจากข้ างๆ ในการทาแบบนี ้ เราจะตัง้ camera mode ให้ อยูที่ fixed offset
                                                                                                         ่

1. คลิก World Settings
2. เลือก Camera Mode: เป็ น Fixed Offset
3. กดปุ่ ม     เพื่อวางกล้ องในจุดเริ่ มต้ น และกดปุ่ ม   เพื่อตังตาแหน่งทีต้องการ
                                                                 ้         ่




รูปแบบ Design Pattern: Maze

ใช้ maze เมื่อต้ องสร้ างเกมประเภท puzzle ที่ต้องการให้ ผ้ เู ล่นใช้ ทกษะในการหาเส้ นทางที่ถกต้ อง maze หรื อเขาวงกตบาง
                                                                      ั                     ู
อันมีเส้ นทางออกเพียงเส้ นทางเดียว แต่หลายๆ maze มีทางออกได้ มากกว่า 1 ทาง

ประเด็นสาคัญ:
1. สาธิตการใช้ กล้ องในตาแหน่งจุดเริ่ มต้ น



                                                                                                                          27
บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: Maze Game
ในการสร้ างเขาวงกต ต้ องเริ่ มจากการสร้ างพื ้นที่เขาวงกตของทังหมดก่อน จากนันให้ ลดเขาวงกตลงไปให้ อยูระหว่างกาแพง
                                                              ้             ้                        ่
การยกกาแพงของเขาวงกตนันเป็ นเรื่ องที่ยากกว่ามาก
                              ้

สาหรับเกมนี ้ ควรต้ องตังกล้ องให้ เป็ น Fixed offset (เหมือนที่ทากับ side scrolling game) หลังตัว bot ของผู้เล่น หรื ออาจเซ็ต
                           ้
ให้ กล้ องเล็งไปที่ตว first person ในการเซ็ตกล้ องไปที่ first person ให้ ใช้ recipe ต่อไปนี ้
                    ั




รูปแบบของ Design Pattern : Fixed Game Board

เกมบางเกมมีพื ้นที่เล่นอยูบนพื ้นที่ที่ลอคไว้ ตายตัว game space เหล่านี ้เหมาะกับการเล่นหลายคนโดยที่ไม่ต้องแยกฟั งก์ชน
                          ่             ็                                                                            ั่
ของจอออกจากกัน ด้ วยการที่มีพื ้นที่ที่ลอคไว้ ตายตัวและการมี fixed camera ผู้เล่นทุกคนก็จะมีมมมองจากทีเ่ ดียวกัน
                                          ็                                                  ุ



                                                                                                                           28
เกมต่างๆ อย่างเช่น PacKodu เป็ นตัวอย่างที่ดี ประเด็นสาคัญ : เหมาะสาหรับการเล่นด้ วยผู้เล่นหลายๆ คน

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: Fixed Game Board
เราต้ องตังให้ กล้ องอยูในตาแหน่งเดิมตลอดเวลาตลอดทังเกม ในการทาเช่นนี ้เราต้ องตัง้ camera mode ให้ อยูในตาแหน่ง
          ้             ่                          ้                                                   ่
fixed position

1. คลิก World Settings
2. เลือก Camera Mode: เป็ น Fixed Position
3. กดปุ่ ม   เพื่อวางกล้ องในจุดเริ่ มต้ น และกดปุ่ ม   เพื่อตังตาแหน่งทีต้องการ
                                                               ้         ่




                                                                                                                   29
บทที่ 5
ใช้ งาน Game Design Patterns

กิจกรรมที่ 5.1 Game Progress Patterns

กิจกรรมนี ้ อธิบายแนวคิดของการเขียนโปรแกรมมิงโดยใช้ Kodu แบบขันสูง อย่างเช่น การสร้ างตาราง การสร้ างเพจ และการ
                                            ่                 ้
ใช้ score เพื่อเป็ น variable เป็ นต้ น

Design Pattern: Time Limits
Time Limits ต้ องการให้ ผ้ เู ล่นแสดงอาการบางอย่างหรื อมุงมันฝ่ าฟั นให้ ถึงเปาหมายหรื อตังเวลาให้ ผ้ เู ล่นต้ องรักษาระดับอยูใน
                                                            ่ ่               ้             ้                                 ่
ด่านนันจนครบเวลาเพื่อให้ ชนะและผ่านด่านนันได้ นาฬิกาจับเวลาจะแสดงหน้ าจอขึ ้นมาเพื่อบอกให้ ผ้ เู ล่นรู้วาจะต้ องรี บทา
      ้                                       ้                                                                  ่
เวลาให้ ทน บางเกมมีฟีเจอรี่ ให้ Time Bonus ที่จะได้ เมื่อผู้เล่นทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึงจนสาเร็จได้
         ั                                                                                ่

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Kode Recipe: Time Limit

บันทึกย่ อ
1. แน่ใจว่าคุณติด game timer ไว้ ที่ bot หรื อ object ที่ไม่สามารถถูกทาลายได้ ในช่วงของการเล่นเกม
2. เลือกสีเพื่อใช้ เป็ น timer ของคุณเป็ นระยะเวลา 30 วินาที และห้ ามใช้ color score สาหรับอย่างอื่น
3. ตัวอย่างของ recipe นี ้จะตังเวลาไว้ 30 วินาที และใช้ สดาเพื่อเป็ นตัวกาหนดเวลา หรื อ timer
                                 ้                         ี
4. อ้ างอิงถึงเกม Wack-a-Lama เพื่อดูวา recipe นี ้ใช้ อย่างไร
                                           ่




                                                                                                                              30
Design Pattern: Scores

Score หรื อคะแนนคือการแสดงตัวเลขทีชี ้วัดความสาเร็ จของผู้เล่น เราสามารถเพิม Point เข้ าไปที่ Score ได้ เมื่อผู้เล่นได้ ผาน
                                           ่                                           ่                                 ่
ด่านแต่ละด่านแล้ วหรื อสามารถหัก point ออกได้ หากล้ มเหลวในการฝ่ าฟั นอุปสรรคในด่านนัน score ของผู้เล่นมักจะถูกแสดง
                                                                                                   ้
ขึ ้นมาเป็ นแบบ overlay เมื่อผู้เล่นสาเร็ จด่านแต่ละด่าน เพื่อทาให้ ผ้ เู ล่นรู้สกถึงความภูมใจที่ได้ ชนะด่านนัน
                                                                                 ึ          ิ                 ้




                                                                                                                        31
บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Kode Recipe: Scores

บันทึกย่อ:
1. Recipe นี ้เพิ่ม point จานวน 1 point เข้ าไปที่ blue score ในแต่ละครังที่การยิงได้ ยิงโดนเปาล่อ และเพิ่ม 10 point เมื่อยิง
                                                                        ้                     ้
    ถูกจานร่อนในแต่ละครัง เมื่อ score มีคามากกว่า 100 ผู้เล่นจะชนะเกมทันที
                               ้                  ่
2. เพิ่ม recipe นี ้เข้ าไปที่ bot ที่ต้องเป็ นตัวยิงเปา
                                                       ้
3. Recipe นี ้ทางานได้ กบทังคีย์บอร์ ดและ gamepad
                            ั ้
4. อ้ างอิงถึง Xevon v06 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ recipe นี ้




                                                                                                                         32
Pattern: Health
Health ของ bot ของผู้เล่นคือสิงที่ระบุความก้ าวหน้ าของผู้เล่นในเกม health bar แสดงสถานะปั จจุบนของคาแรคเตอร์ นน
                                ่                                                              ั               ั้
และทาให้ ตวผู้เล่นรับรู้วาตัวเองมีกาลังมากแค่ไหนในเกม
          ั              ่

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: Health

บันทึกย่อ
1. เมื่อ bot สัมผัสเหรี ยญ จะถูกหักคะแนน 10 point จาก health ของ bot และเหรี ยญก็จะหายไป
2. เมื่อ bot สัมผัสและกินแอปเปิ ล ก็จะได้ คะแนน 10 point เพิ่มเข้ าไปใน health ของ bot
                                ้
3. เมื่อ health ของ bot ถึงระดับ 0 เกมจะจบทันที
4. จานวนของ Hit Point (ระดับของ health) ที่ bot เริ่ มมีตงแต่ต้นนัน ถูกเซ็ตไว้ setting ของตัว bot นัน จะมีคาจะอยูตงแต่ 0
                                                         ั้        ้                                ้      ่     ่ ั้
    ถึง 1,000 โดยสามารถเซ็ตให้ เพิมเพิ่มได้ ทีละ 5 คะแนนได้
                                   ่




                                                                                                                     33
Pattern: Save Points

Save Point หรื อที่เรี ยกว่า Check Points คือค่า point ที่ช่วยให้ ผ้ เู ล่นมีความสะดวกในการเล่นเกม ส่วนมากมักจะได้ หลังจาก
ที่ชนะด่านทียากๆ ไปแล้ ว และเป็ นจุดที่เกมจะเซฟข้ อมูลไว้ แบบอัตโนมัติหรื อผู้เล่นถูกร้ องขอโดยระบบให้ เซฟเก็บไว้ เมื่อได้
            ่
point นันแล้ ว หากผู้เล่นไม่สามารถผ่านไปยังด่านถัดไปได้ เกมจะเริ่ มต้ นใหม่จากจุด save point มากกว่าย้ อนกลับไปเริ่ มต้ น
        ้
ใหม่ การทาแบบนี ้จะให้ กาจัดปั ญหาของผู้เล่นที่ต้องการเล่นด่านที่ง่ายแบบซ ้าไปซ ้ามาเพื่อเก็บคะแนนเอาไว้ มากๆ

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: Save Points

    1. Cycle bot ซึงเป็ นคาแรคเตอร์ ทควบคุมโดยตัวผู้เล่นเอง และสามารถสร้ างขึ ้นมาได้
                     ่                  ี่
    2. Red score ใช้ เพื่อคอยติดตามค่าชีวตของผู้เล่น ค่า 1 บอกว่าผู้เล่นยังมีชีวิตอยูในเกม และกาลังเล่น ในขณะที่ 0
                                             ิ                                         ่
       บอกว่า bot ของผู้เล่นต้ องการการฟื นฟู
                                           ้
    3. Black score มีไว้ เพื่อบันทึกค่า save point ค่า 0 บอกว่า ผู้เล่นยังอยูในช่วงต้ นของเกม และค่า 1 บอกว่าผู้เล่นได้ เก็บ
                                                                             ่
       ค่า save point ที่ 1 แล้ ว และกาลังจะเก็บต่อไป
    4. ต้ องสร้ าง Bot และต้ องโปรแกรมไว้ ในแต่ละ save point เกิดขึ ้น ในตัวอย่างนี ้ เราได้ ใช้ stick bot แต่รูปแบบ (Type)
       ของ bot ไม่ใช่ปัญหาในกรณีนี ้ คุณจะใช้ type ใดก็ได้

                                                                                                                         34
5. ยังไม่มี code สาหรับ page 3 ของ save points
    6. ใช้ setting ของ save point เพื่อลดการฟั งลงให้ เหลือเป็ นค่าต่าสุดเพื่อว่า stick bot จะได้ ยินแค่ cycle bot เมื่อมันอยู่
       ใกล้ กนเท่านัน
             ั      ้
    7. Color score ที่ตางกันจะนามาใช้ เพื่อติดตามและจากัดจานวนของชีวตใหม่ที่ยอมให้ ผ้ เู ริ่ มขอเล่นใหม่ได้ แต่จะไม่
                       ่                                                      ิ
       แสดงเทคนิคนี ้ใน recipe นี ้




Bot ควบคุมโดยผู้เล่น เป็ น bot ที่สามารถสร้ างได้ เสมอ




จุด starting point (Save point มีค่าเป็ น 0)

                                                                                                                           35
36
การเพิม save point อย่างต่อเนืองต้ องทาให้ black point เหล่านี ้เพิ่มขึ ้นทีละหนึง
      ่                       ่                                                  ่




                                                                                     37
Design Pattern: Multi Levels
การที่มี level หลายๆ level ในเกม คือวิธีที่ดในการทาให้ ผ้ เู ล่นรู้สกว่าตนเองมีความก้ าวหน้ าในการเล่นเกม เกมมักใช้ level ใน
                                            ี                       ึ
การเพิมความยากและ/หรื อสอดแทรกกลไกใหม่ๆ เข้ าไป
       ่

ตัวอย่างของการใช้ หลายๆ level คือเกม Dualและ Portal ของ halox ทังสองเกมสามารถดูได้ บน Youtube
                                                                          ้
ประเด็นสาคัญ: ตัวอย่างนี ้เป็ นตัวอย่างที่เป็ นขันสูง ไม่ใช่สาหรับคนที่ยงไม่กล้ าพอ !
                                                 ้                      ั

บันทึก:
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: Multiple Levels
บันทึกย่อ
    1. Black score จะใช้ เพื่อเก็บบันทึกว่าผู้เล่นเล่นไปถึง level ใดแล้ ว
    2. Bot ของผู้เล่นนันสามารถสร้ างได้ และดังนันจึงต้ องสร้ างไว้ ตงแต่เริ่ มต้ นเล่นเกม
                        ้                           ้               ั้
    3. Level ต่อๆ มาสามารถสร้ างได้ โดยใช้ การ copy ตรง start point และ end point ของ level 2 และด้ วยการเพิมค่า
                                                                                                            ่
          ของ black score เข้ าไปใน code
    4. ตังค่าให้ black score เป็ น Off
           ้




Bot ที่ควบคุมโดยผู้เล่นและสามารถสร้ างได้ เอง




                                                                                                                          38
จุด starting point บน level 1




จุด finishing point บน level 1




                                 39
ตัว Stickbot: จุด Starting point บน level 2




ตัว Stickbot: จุด Finishing point บน level 2




กิจกรรมที่ 5.2 Game Play Patterns

Pattern: Power Ups

Power-up คือประโยชน์สาหรับผู้เล่น แต่ต้องรี บใช้ ภายในเวลาทีกาหนดและต้ องทาการ activate เพื่อใช้ มน ผู้เล่นต้ องทาการ
                                                                 ่                                         ั
ตัดสินใจว่าเมื่อไรที่จาเป็ นต้ องใช้ Power-up และเมื่อไรที่ต้องหาเพิ่มหรื อต้ องใช้ เวลาเพื่อทาการ recharge




                                                                                                                    40
Power-up แก้ ไขปั ญหาของการที่ต้องทางานต่างๆ ให้ สาเร็ จในระดับความยากที่แตกต่างกัน เพราะผู้เล่นจะเพิ่มระดับ
ความสามารถของตัวเองขึ ้นเรื่ อยๆ และจะต้ องพบกับความท้ าท้ ายมากขึ ้น โดยจะไม่มีโอกาสได้ เจอด่านที่งายกว่าเดิม (หากไม่
                                                                                                    ่
ใช้ power-up ช่วยในด่านที่ยาก)

ตัวอย่างเช่น คาแรคเตอร์ อาจจะไม่สามารถเคลือนไหวได้ เร็ วขึ ้นสักระยะหลังจากที่เก็บ item หรื อหลังจากที่กด key บางตัว
                                             ่
sound effect หรื อ visual effect จะนามาใช้ เพื่อบอกว่าผู้เล่นได้ รับการ power up แล้ วหรื อ power up กาลังจะหมดลง

ประเด็นสาคัญ: recipe นี ้แสดงการใช้ งาน pages และ timer

บันทึก
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: Power Up
บันทึกย่อ: recipe นี ้จะทาการโปรแกรมให้ bot ที่ถกควบคุมโดยผู้เล่น ต้ องแพ้ ในเกมเมื่อถูกชนโดย red cycle bot เมื่อ bot
                                                ู
ของผู้เล่น เอาตัวเองไปกระแทก bot อื่น หรื อกินแอปเปิ ล ก็จะได้ รับ power up แล้ วจะสามารถาลาย red cycle bot ได้ Power
                                                     ้
up จะสามารถแสดงพลังได้ นาน 5 วินาที และจากนัน bot ของผู้เล่นจะย้ อนกลับไปยังสภาพเดิม
                                                  ้

1.สังเกตการใช้ ฉันและเจ้ าตัวนัน (Notice the use of me and it.)
                               ้




                                                                                                                       41
42
Pattern: การย้ ายการควบคุม (Transfer of Control)
เกมบางเกมยอมให้ ผ้ เู ล่นควบคุมคาแรคเตอร์ ที่แตกต่างกันได้ ในแต่ละ stage ต่างๆ ของเกม การทาเช่นนี ้จะรวมถึงตอนที่
คาแรคเตอร์ ของผู้เล่นได้ เข้ าไปในรถหรื อลงเรื อ คาแรคเตอร์ ตวใหม่มกจะมีความสามารถที่แตกต่างออกไป ดังนัน การเล่นเกม
                                                             ั     ั                                    ้
ต้ องมีผลลัพธ์ที่ออกมาแตกต่างกัน ทาให้ เพิ่มความสนใจของผู้เล่นมากขึ ้น

บันทึก
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________________________

Recipe: Transfer of Control
บันทึกย่ อ:
1. ตัวอย่างนี ้แสดงให้ เห็นว่า bot ที่ควบคุมโดยผู้เล่นนันสามารถถูกสัง “ให้ ไปลงเรื อ” ได้ ซึงผู้เล่นสามารถสังการได้ เอง
                                                        ้           ่                       ่               ่




Cyclebot: bot ที่ผ้ ูเล่ นสามารถควบคุมได้ เอง




Floatbot: bot ผู้เล่ นควบคุมได้ เอง เมื่อ cyclebot ได้ ลงไปบนเรือแล้ ว

                                                                                                                          43
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)

More Related Content

What's hot

ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดrungtip boontiengtam
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์kwanboonpaitoon
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)Kansinee Kosirojhiran
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1sasi SAsi
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 

What's hot (20)

ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 

Similar to คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)

07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 107 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1Natchanon Srinuan
 
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์Tanyaporn Puttawan
 
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมนายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมTaksinfeef
 
โครงงานใบงานที่8
โครงงานใบงานที่8โครงงานใบงานที่8
โครงงานใบงานที่8Anny Na Sonsawan
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Pimnutchaya
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8naaikawaii
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 

Similar to คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย) (20)

Kodu game
Kodu gameKodu game
Kodu game
 
Kodu game
Kodu gameKodu game
Kodu game
 
Klong ngan3
Klong ngan3Klong ngan3
Klong ngan3
 
K8 (1)
K8 (1)K8 (1)
K8 (1)
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 107 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1
 
K8
K8K8
K8
 
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
 
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมนายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
โครงงานใบงานที่8
โครงงานใบงานที่8โครงงานใบงานที่8
โครงงานใบงานที่8
 
Poy at 3
Poy at 3Poy at 3
Poy at 3
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
K7
K7K7
K7
 
K7
K7K7
K7
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 

More from Jaturapad Pratoom

ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ขJaturapad Pratoom
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายJaturapad Pratoom
 
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online Jaturapad Pratoom
 
เอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเองเอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเองJaturapad Pratoom
 
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)Jaturapad Pratoom
 
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯJaturapad Pratoom
 
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯJaturapad Pratoom
 
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดินจตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดินJaturapad Pratoom
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...Jaturapad Pratoom
 
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอนใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอนJaturapad Pratoom
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)Jaturapad Pratoom
 
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551Jaturapad Pratoom
 
Thailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - GuideThailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - GuideJaturapad Pratoom
 
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ขJaturapad Pratoom
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...Jaturapad Pratoom
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอJaturapad Pratoom
 
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุรายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุJaturapad Pratoom
 
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชารายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชาJaturapad Pratoom
 
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษารายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษาJaturapad Pratoom
 

More from Jaturapad Pratoom (20)

ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
 
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
 
เอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเองเอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเอง
 
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
 
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
 
Roiet Technology Innovator
Roiet Technology InnovatorRoiet Technology Innovator
Roiet Technology Innovator
 
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
 
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดินจตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
 
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอนใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
 
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
 
Thailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - GuideThailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - Guide
 
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
 
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุรายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
 
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชารายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
 
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษารายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
 

คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)

  • 1.
  • 2. บทที่ 1 แนะนา Game Design และ Kodu Game lab กิจกรรมที่ 1.1 แนะนาตัวเอง กิจกรรมที่ 1.2 แนะนา Kodu Game Lab กิจกรรมที่ 1.3 เกมคืออะไร กิจกรรมที่ 1.4 Kodu Game บทที่ 2 พืนฐานโปรแกรมมิ่ง ้ กิจกรรมที่ 2.1 แนะนาภาษาโปรแกรมมิ่งของ Kodu กิจกรรมที่ 2.2 การแก้ ไข Tutorial 2 และ 3 กิจกรรมที่ 2.3 ทาความรู้จกกับ Bot และ Object ั กิจกรรมที่ 2.4 การใช้ Programming Bots กิจกรรมที่ 2.4 การสร้ าง bot สองตัว บทที่ 3 กระบวนการออกแบบอย่ างไม่ เป็ นทางการ กิจกรรมที่ 3.1 ระดมสมองลองไอเดีย กิจกรรมที่ 3.2 ไอเดียดีๆ สาหรับเกม กิจกรรมที่ 3.3 ตัวอย่ างของโรงเรียน และกรณีตัวอย่ าง บทที่ 4 การสร้ าง Game World กิจกรรมที่ 4.1 การออกแบบ Game Space กิจกรรมที่ 4.2 การสร้ าง Design Pattern และ Recipe กิจกรรมที่ 4.3 ทาความรู้จกกับ Game Space Patterns ั บทที่ 5 ใช้ งาน Game Design Patterns กิจกรรมที่ 5.1 Game Progress Patterns กิจกรรมที่ 5.2 Game Play Patterns กิจกรรมที่ 5.3 Game Information Design Patterns บทที่ 6 ใช้ งาน Game Design Approach กิจกรรมที่ 6.1 กิจกรรมที่ 6.2 บทที่ 7 ขันต่ อไป ้
  • 3. บทนา Kodu Game Lab คือโปรแกรมช่วยเขียนโปรแกรมมิงที่ชวยให้ คณสร้ างเกมสามมิติ (3D) ได้ เอง แม้ จะไม่มีพื ้นความรู้เรื่ องการ ่ ่ ุ เขียนโปรแกรมเลยก็ตาม Kodu มีไอคอนที่คอยควบคุมคาแรคเตอร์ (Character) และอ็อปเจค (Object) ต่างๆ ด้ วยการสังให้ ่ คาแรคเตอร์ แสดงพฤติกรรมออกมาในรูปแบบทีจบต้ องได้ ่ั คอร์ สนี ้ออกแบบมาเพื่อให้ ครูที่ต้องการนาวิชา Game Design มาใช้ กบกิจกรรมในห้ องเรียน หลังการอบรม ผู้เรี ยนจะได้ ร้ ูจกกับ ั ั Kodu Game Lab และสาธิตให้ นกเรี ยนของตนเองเข้ าใจว่าใครๆ ก็สามารถสร้ างเกมที่นาตื่นตาตืนใจได้ ั ่ ่ คอร์ สนี ้ครอบคลุมทักษะที่ต้องใช้ ในการออกแบบ สร้ างโลกสมมติและเกมด้ วย Kodu Game Lab รวมทังสามารถวิเคราะห์ ้ หรื อติดตามกระบวนการออกแบบ ตลอดจนแนะนาว่าครูผ้ สอนสามารถนา Kodu ไปใช้ กบหลักสูตรของโรงเรียนได้ อย่างไรด้ วย ู ั ด้ วยความสามารถในการออกแบบและสร้ างเกมได้ ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะสามารถสร้ างเกมที่นาสนใจและมีความดึงดูดผู้เล่นได้ ่ ด้ วยการใช้ เทคนิคง่ายๆ เพียงไม่กี่ขนตอนของโปรแกรมนี ้ ั้ ประโยชน์ ท่ ีจะได้ รับจากหลักสูตรนี ้  ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสามารถเขียนโปรแกรมสังการให้ แก่คาแรคเตอร์ และอ็อปเจคได้ ่  ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสร้ างโลกสามมิติได้  แนะนาองค์ประกอบหลักของการออกแบบเกมได้  มอบตัวอย่างของ code ที่มีหลากหลายรูปแบบ  มอบตัวอย่าง game play ที่มีหลากหลายรูปแบบ  สร้ างตัวอย่างการใช้ Kodu Game Lab ในโรงเรี ยนได้  มอบความช่วยเหลือได้ ตรงเวลาเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนมันใจในการใช้ งาน Kodu Game Lab ่ หมายเหตุ Kodu Game Lab ยังเป็ นโปรแกรมที่กาลังพัฒนาอยู่ ตัวอย่างต่างๆ ในเอกสารฉบับนี ้จะต้ องใช้ งานบนเวอร์ ชน 1.48 ซึงเป็ น ั่ ่ เวอร์ ชนล่าสุดของ Kodu Game Lab ในขณะนี ้ หากคุณใช้ งานเวอร์ ชนอื่นที่ต่ากว่า โปรดตรวจสอบที่ ั่ ั่ http://media.planetKodu.com/workshop/resources.html เพื่ออัพเดตและเรี ยกดูเอกสารประกอบการอบรม เอกสารฉบับนีมีไว้ สาหรับผู้ให้ การอบรมนักเรียน ผู้สอนจะมีบันทึกย่ อปรากฏในกรอบโดยตลอด แต่ กรอบนีจะไม่ ้ ้ ปรากฏในเอกสารฉบับผู้เรียน 1
  • 4. บทที่ 1 แนะนา Game Design และ Kodu Game lab กิจกรรมที่ 1.1 แนะนาตัวเอง ใช้ กิจกรรมนี ้เพื่อให้ สมาชิกในกลุมทาความรู้จกกัน ใช้ เวลา 10 นาทีเพื่อให้ แต่ละคนสร้ างคาแรคเตอร์ ของตัวเองและใช้ เวลาอีก ่ ั 10 นาทีเพื่อให้ แต่ละคนแบ่งปั นคาแรคเตอร์ กบคนอื่นๆ ในกลุม ั ่ สมมติวาคุณเป็ นคาแรคเตอร์ ในเกม (Game Character) คุณต้ องการให้ คาแรคเตอร์ มีลกษณะอย่างไร ่ ั ชื่อ ________________________________________________________________ พาวเวอร์ (Power) ________________________________________________________________ ระบุลักษณะพิเศษของคาแรคเตอร์ ของคุณ 3 อย่ าง: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ วาดภาพคาแรคเตอร์ ของคุณลงในกรอบ 2
  • 5. กิจกรรมที่ 1.2 แนะนา Kodu Game Lab ประเด็นสาคัญ:  Kodu เหมาะสาหรับการพัฒนาเกมแบบเร่งด่วน โดยใช้ อินเทอร์ เฟสและภาษาที่งายต่อการใช้ งาน ่  Kodu ใช้ ภาษาโปรแกรมมิ่งทีเ่ ป็ นรูปไอคอนหรื อสัญลักษณ์ให้ เข้ าใจได้ ง่ายๆ  Kodu เหมาะสาหรับเกมขนาดเล็ก ในกิจกรรมนี ้ เราจะลองสารวจ Kodu Game Lab กันก่อน ในเรื่ องของวัตถุประสงค์และสิงที่ได้ พฒนาเอาไว้ ให้ ในโปรแกรม ใช้ ่ ั เนื ้อที่ด้านล่างต่อไปนี ้เพื่อบันทึกรายละเอียดสาคัญเกี่ยวกับ Kodu Game Lab ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ กิจกรรมที่ 1.3 เกมคืออะไร ถามสมาชิกในกลุมว่าชอบเล่นเกมอะไรมากที่สด 5 เกม แนะให้ พวกเขาเขียนรายชื่อเกมในแต่ละหมวดที่แตกต่างกัน ่ ุ ตัวอย่างเช่น เกมประเภท Sport Game เกมประเภท Board Game หรื อ เกมประเภท Computer Game เป็ นต้ น เมื่อแต่ละคน ได้ เขียนรายชื่อแล้ ว ให้ ผ้ เู รี ยนหาคาตอบว่าแต่ละเกมมีอะไรที่เหมือนกัน และอะไรที่ทาให้ เกมเหล่านี ้ทางานได้ ใช้ Diamond 9 เพื่อแสดงปั จจัยสาคัญเกี่ยวกับสิงที่สร้ างเกม โดยปั จจัยสาคัญจะอยูตาแหน่งบนสุด ่ ่ ควรแลกเปลียนความคิดเห็นกันเมื่อจบกิจกรรมนี ้ ่ ประเด็นสาคัญ:  เกมเน้ นที่ความสนุกสนาน  เกมต้ องมีกฎ  เกมต้ องมีวตถุประสงค์ / เกมต้ องมีผ้ ชนะและผู้แพ้ ั ู  ผู้เล่นเกมต้ องตัดสินใจและต้ องมีทกษะอย่างใดอย่างหนึงเพื่อเล่นเกม ั ่  เกมคือประสบการณ์ 3
  • 6. ในกิจกรรมนี ้ เราจะมาดูกนว่าจะสร้ างเกมขึ ้นได้ อย่างไร ั เขียนเกม 5 อย่างทีคณชอบเล่น ่ ุ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ลองคิดเกี่ยวกับเกมที่คณได้ เขียนไว้ แล้ วระบุปัจจัยสาคัญในการสร้ างเกมเหล่านันขึ ้นมาได้ ใช้ กราฟ Diamond 9 ต่อไปนี ้เพื่อ ุ ้ จัดระเบียบความคิดของคุณ โดยที่ปัจจัยแรกที่สาคัญที่สดต้ องอยูในกรอบบนสุดของ Diamond ุ ่ 4
  • 7. “หากคุณเคยเขียน Software Subroutine แล้ วพบว่าต้ องเจอ arguments มากกว่า 10 arguments ลองกลับไปดูอีกที คุณ อาจจะลืมอะไรบางอย่างไป” Alan Kay “เกมคือกิจกรรมแก้ ปัญหา ที่ซงเข้ าถึงได้ ด้วยความคิดที่สนุกสนาน” ึ่ Jesse Schell กิจกรรมที่ 1.4 Kodu Games กิจกรรมนี ้ออกแบบมาเพื่อให้ ผ้ เู รียนได้ ค้นพบรูปแบบต่างๆ ของเกมที่สามารถสร้ างขึ ้นด้ วย Kodu Game Lab และระบุได้ วา ่ อะไรที่ทาให้ เกมเหล่านี ้มีความสนุกสนาน ใช้ เวลา 15 นาที สาหรับการเล่นเกม และอีก 5 นาทีสาหรับบันทึกผลการเล่น จากนัน ้ ใช้ เวลา 10 นาทีสาหรับการอภิปรายซักถาม ใช้ “Kodu Game” PowerPoint เพื่อแสดงเกมบางอย่างที่สร้ างจาก Xbox Kodu community เนื่องจากตัวอย่างมี quick play ของ Bonk Out 18 และอภิปรายวัตถุประสงค์ กฎ และเหตุผลว่าทาไมเกมถึงสนุกสนานไว้ แล้ ว Kodu Game Lab มีโลกสมมติ (World) ที่รวมเกมเอาไว้ อยูประมาณ 50 แห่ง ในกิจกรรมนี ้ เราจะสารวจ world เหล่านี ้และ ่ เกมต่างๆ เพื่อเรี ยนรู้วาอะไรที่ Kodu Game Lab สามารถสร้ างได้ และเราต้ องใช้ อะไรบ้ างเพื่อสร้ างเกมขึ ้นมาโดยใช้ โปรแกรม ่ Kodu Game Lab ตัวอย่ างการสารวจเกม ชื่อเกม: Bonk-Out v18 วัตถุประสงค์ : ทาลายปราสาทในขณะที่ปกปองไม้ (Stick) ของคุณไว้ ้ กฎ: ใช้ ปมใดปุ่ มหนึงเพื่อปล่อยจักร หรื อใช้ Push Bot เพื่อปล่อยได้ เช่นกัน กงจักรจะทาลายทุกอย่าง ุ่ ่ ยกเว้ นตัวผู้เล่น ผู้เล่นสามารถควบคุมให้ จกรพุงไปตรงไหนก็ได้ โดยควบคุมทิศทางการเด้ งของจักร ั ่ ทาไมจึงสนุก: เกมนี ้ง่ายต่อการเข้ าใจเพราะมีพื ้นฐานเหมือนกับเกมBreakout ที่คนส่วนใหญ่ร้ ูจก เกมนี ้มีความ ั สนุกตรงที่เป็ นเกมทีเ่ คลือนไหวอย่างรวดเร็ ว และจะสนุกมากขึ ้น เมื่อเล่นไปนานๆ ่ 5
  • 8. สารวจเกมที่คุณชอบ ชื่อเกม: _________________________________________________________________________ วัตถุประสงค์ : _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กฎ: _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ ทาไมจึงสนุก: _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ 6
  • 9. บทที่ 2 พืนฐานโปรแกรมมิ่ง ้ กิจกรรมที่ 2.1 แนะนาภาษาโปรแกรมมิ่งของ Kodu ในกิจกรรมนี ้เราจะเขียนโปรแกรมแรกโดยใช้ Kodu Game Lab กัน Kodu Game Lab มี Tutorial พื ้นฐานอยู่ 3 อย่างและเรา จะเรี ยนรู้ทงหมดในกิจกรรมนี ้ ั้ สาธิต Tutorial 1 และวิธีการแก้ ไขปั ญหา ประเด็นสาคัญ: การแสดงด้ วยสัญลักษณ์ และบอกว่าเมื่อไรควรต้ องใช้ ข้อความเพื่อนิยามค่าของภาษาโปรแกรมมิ่ง ไฮไลต์ตรงเมนู Help ที่อยูในเกม ซึงแสดงให้ เห็นว่ามี Key และ button ใดบ้ างที่สามารถใช้ เพื่อสังการโปรแกรมและเข้ าถึง ่ ่ ่ หน้ าจอและ toolbar ต่างๆ ได้ บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ใช้ งาน Tutorial 1 1. เปิ ด Tutorial 1 world Kodu Bot จะบอกคุณว่า “I want to visit the castle.” 2. กด ESC บนแปนคีย์บอร์ ดหรื อปุ่ ม Start บน controller เพื่อแก้ ไข world ้ 7
  • 10. 3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects” จาก toolbar โดยจะมีหน้ าตาแบบนี ้ 4. เลือกคาแรคเตอร์ โดยคลิกขวาหรื อเลือก Y บนแปน gamepad จากนันคาแรคเตอร์ จะเรื องแสงเป็ นสีเหลืองและจะปรากฏ ้ ้ editing menu ขึ ้นมา 5. คลิก Program Bots code จะปรากฏขึ ้นมา และคุณจะมีทางเลือก 2 ทางในการแก้ ไข line 1 บน code ที่มีอยู่ หรื อ เพิ่ม line ใหม่เข้ าไปบน code นัน ในกิจกรรมนี ้เราจะแก้ ไข line แรก แต่การเพิม line ใหม่เข้ าไปก็สามารถทาได้ ้ ่ Line แรกจะอ่านได้ ดงนี ้ ั แต่เราต้ องเปลียนให้ เป็ นดัง ่ นี ้ 6. เอากรอบคาสัง (Tile) ที่ชื่อ express และ heart ออก โดยคลิกขวาบนกรอบคาสังเหล่านันหรื อกด ่ ่ ้ บนแปน gamepad ้ 7. เพิ่มกรอบคาสังใหม่โดยคลิกซ้ ายที่ไอคอน ่ ตรงตาแหน่งขวามือของกรอบคาสัง Do (หรื อกด ่ บนแปน gamepad) ้ 8
  • 11. 8. เลือก move 9. เลือก towards จากนัน code จะปรากฎเป็ น ้ 9. กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด สองครังบนแปน game pad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิ่งและกลับสูหน้ าจอ ้ ้ ่ toolbar 10. คลิกไอคอน Play เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด บนแปน gamepad แล้ วกด ้ เพื่อเล่นเกม 11. Kodu Bot ควรจะสามารถเดินไปยังปราสาทได้ แล้ วในตอนนี ้ กิจกรรมที่ 2.2 การแก้ ไข Tutorial 2 และ 3 ในกิจกรรมนี ้เราจะมาแก้ ไขปั ญหาใน Tutorial 2 และ 3 กัน วิธีแก้ ไขปั ญหาเหล่านี ้นันมีอธิบายในส่วนต่อจากนี ้ไป แต่ขอให้ ้ พยายามแก้ ไขปั ญาด้ วยตนเองก่อนเสมอ และดูวิธีแก้ ไขปั ญหาเมือจาเป็ นเท่านัน ่ ้ ถามสมาชิกในกลุมว่าจะแก้ ไข Tutorial 2 และ 3 อย่างไร สนับสนุนให้ พวกเขาใช้ วิธีแก้ ไขปั ญหาได้ หากจาเป็ น ่ บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ 9
  • 12. การแก้ ไขปั ญหาใน Tutorial 2 วัตถุประสงค์: เราต้ องการ reprogram ตัว cycle bot เพื่อให้ มนสามารถกระโดดข้ ามแม่น ้าได้ ั 1. เปิ ด Tutorial 2 2. กด ESC บนคีย์บอร์ ดหรื อ Start บน controller เพื่อแก้ ไข world 3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects” จาก toolbar 4. เลือกคาแรคเตอร์ โดยคลิกขวา หรื อย้ าย cursor รูป ด้ วย gamepad จากนันจะเรื องแสงเป็ นสีเหลืองและหน้ าเมนู ้ editing menu จะปรากฏขึ ้นมา 5. คลิกซ้ ายเลือก Program หรื อกดปุ่ ม บน gamepad จากนันจะปรากฏ bots code ขึ ้นมา และคุณจะมีทางเลือก 2 ทางในการแก้ ไข line 3 และ 4 บน code ที่มีอยู่ หรื อ เพิ่ม line ้ ใหม่ๆ เข้ าไปบน code นัน ในกิจกรรมนี ้เราจะแก้ ไข line แรก แต่การเพิ่ม line ใหม่เข้ าไปก็สามารถทาได้ ้ ณ ตอนนี ้ line ปรากฎเป็ น แต่เราจะเปลียนให้ ปรากฎเป็ น ่ 10
  • 13. 6.. เพิ่มกรอบคาสังใหม่โดยคลิกซ้ ายที่ไอคอน ่ ตรงตาแหน่งขวามือของกรอบคาสัง Do (หรื อกด ่ บนแปน ้ gamepad) 7. เลือกกรอบคาสัง ่ โดยคลิกซ้ ายบนเม้ าส์ หรื อกด บนแปน gamepad ้ หมายเหตุ: คลิกบน action ที่เป็ นรูป คุณก็จะพบกรอบคาสัง ่ ได้ เช่นกัน จากนัน code จะปรากฎเป็ น ้ 11
  • 14. 9. กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด สองครังบนแปน gamepad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิงและกลับสูหน้ าจอ ้ ้ ่ ่ toolbar 10. คลิกไอคอน Play เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด บนแปน gamepad แล้ วกด ้ เพื่อเล่นเกม 11. Kodu Bot ควรจะสามารถกระโดดได้ ด้วยการกด spacebar หรื อการกดปุ่ ม การแก้ ไขปั ญหาใน Tutorial 3 วัตถุประสงค์: เราต้ องการสังให้ ตว cycle bot สามารถหยิบแอปเปิ ลได้ ่ ั ้ 1. เปิ ด Tutorial 3 2. กด ESC บนคีย์บอร์ ดหรื อ Start บน controller เพื่อแก้ ไข world 3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects” จาก toolbar 4. เลือกคาแรคเตอร์ โดยคลิกขวาบนคาแรคเตอร์ หรื อย้ าย cursor รูป ด้ วย gamepad จากนันจะเรืองแสงเป็ นสี ้ เหลืองและหน้ าเมนู editing จะปรากฏขึ ้นมา 5. คลิกซ้ ายเลือก Program หรื อกดปุ่ ม บน gamepad ณ ตอนนี ้ line ที่ 2 ของ code จะปรากฏเป็ น แต่เราต้ องการเปลียนให้ เป็ นดังต่อไปนี ้ ่ 12
  • 15. 6. เพิ่มกรอบคาสังใหม่โดยคลิกซ้ ายที่ไอคอน ่ ตรงตาแหน่งขวามือของกรอบคาสัง Do (หรื อกด ่ บนแปน ้ gamepad) 7. เลือกกรอบคาสัง ่ โดยคลิกซ้ ายบนเม้ าส์ หรื อกด บนแปน gamepad ้ หมายเหตุ: คลิกบน holding group ที่เป็ นรูป คุณก็จะพบกรอบคาสัง ่ ได้ เช่นกัน จากนัน code จะปรากฏเป็ น ้ 9. กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด สองครังบนแปน gamepad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิงและกลับสูหน้ าจอ ้ ้ ่ ่ toolbar 10. คลิกไอคอน Play เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด บนแปน gamepad แล้ วกด ้ เพื่อเล่นเกม 11. Kodu Bot ควรจะสามารถเก็บผลแอปเปิ ลที่กาลังเรื องแสงได้ และสามารถข้ ามสะพานได้ ด้วย ้ 13
  • 16. กิจกรรมที่ 2.3 ทาความรู้จักกับ Bot และ Object ในกิจกรรมนี ้เป็ นการจะสารวจ bot และ object ต่างๆ ทีมีใน Kodu Game Lab เราจะเรี ยนรู้วาต้ องใช้ attribute และ ability ่ ่ ของ bot ต่างๆ อย่างไรด้ วย ใช้ Bots and Objects World เพื่อสาธิตให้ เห็นตัว bot ต่างๆ ที่มใน Kodu Game Lab ี ประเด็นสาคัญ: 1. ตัว bot ต่างๆ จะมี attribute และ ability ที่แตกต่างกัน 2. ใช้ สเี พื่อแยกแยะ character role ให้ แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น วงกลมสีแดง หรื อ วงกลมสีดา 3. bot และ object ทุกตัวมีคา setting ที่สามารถตังค่าในตอนที่สร้ างเกม แต่ไม่สามารถตังค่าในช่วงที่เกมกาลังดาเนินอยูได้ ่ ้ ้ ่ 14
  • 17. บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ กิจกรรมที่ 2.4 การใช้ Programming Bots Bot ที่ควบคุมโดยผู้เล่ น (Player Controlled bots) เมื่อเราได้ ผานการทา Tutorial มาแล้ ว เราจะสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อให้ ควบคุม bot ได้ ด้ วยการใช้ คย์บอร์ ดหรื อ Xbox ่ ี Controller เรายังสามารถทาการจับคู่ action ต่างๆ เช่น การจับคูการกระโดดเข้ ากับคีย์บางตัวบนคีย์บอร์ ดหรื อบน gamepad ่ ได้ 15
  • 18. Bot อัจฉริยะ (AI Bot) ลองดูวาเราสามารถโปรแกรม bot ต่างๆ ที่ต้องปฏิสมพันธ์กบ bot ของผู้เล่นได้ อย่างไร ่ ั ั หรื อ เราสามารถใช้ see แทน hear ในหลายกรณีเช่นกัน หากเราต้ องการให้ bot เคลือนที่ไปมากกว่าการเดินตาม เราสามารถใช้ กรอบคาสังต่อไปนี ้ ่ ่ และเมื่อมี Physical Sensors: ประเด็นสาคัญ: 1. Physical action คือกิริยาอาการที่ต้องการให้ bot หรื อ object ทา เช่น see, hear, got, bump, shot hit, health, held by, on land และ on water 2. External action เช่น timer, scored, gamepad, keyboard และ mouse คือสิงที่ bot หรื อ object สามารถตอบสนองได้ ่ 3. bot และ object แสดง action ได้ ไม่เหมือนกันทุกตัว 16
  • 19. การแสดง physical action ต่างๆ Bot และ object มีคา setting ที่กาหนด attribute บางตัว ที่ควบคุมให้ พวกมันแสดงออกและปรากฏตัวขึ ้นมาในเกม การ ่ โปรแกรมมิ่งไม่สามารถแก้ ไขค่า setting เหล่านี ้ได้ ในขณะที่เกมยังดาเนินอยู่ และต้ องทาในช่วงของการออกแบบเท่านัน ้ 17
  • 20. บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ กิจกรรมที่ 2.4 การสร้ าง bot สองตัว กิจกรรมนี ้จะสอนการสร้ าง bot ในเกมขึ ้นมาสองตัว เช่น tag หรื อ similar กิจกรรมดังกล่าวเป็ นการสอนการสร้ าง bot อย่างง่ายๆ เกมจึงไม่ควรซับซ้ อนแต่ควรเป็ นเกมที่สามารถเล่นให้ ชนะในระยะเวลา อันสันได้ ไม่ยากนัก ้ 1. เปิ ด Small World with Water 2. กด ESC บนคีย์บอร์ ดหรื อ Start บน controller เพื่อแก้ ไข world 3. เลือกไอคอน “Add and Program Objects” จาก toolbar 4. เพิ่มคาแรคเตอร์ โดยคลิกซ้ ายที่คาแรคเตอร์ กดปุ่ ม บน gamepad จากนันเลือก bot หรื อ object ที่คณต้ องการ ้ ุ 5. เพื่อสังการ bot หรื อ object ให้ คลิกซ้ ายเลือก Program หรื อกดปุ่ ม ่ บน gamepad 6. เพิ่ม code ที่คณต้ องการลงไป ุ 7.กด ESC บนคีย์บอร์ ด (หรื อกด สองครังบนแปน game pad) เพื่อออกจากหน้ าจอโปรแกรมมิงและกลับสูหน้ าจอ ้ ้ ่ ่ toolbar 8. คลิกไอคอน Play เพื่อรันโปรแกรมหรื อกด บนแปน gamepad แล้ วกด ้ เพื่อเล่นเกม 9. ทาแบบเดิมอีกครังหากต้ องการเพิ่ม bot ตัวที่สอง ้ บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ 18
  • 21. บทที่ 3 กระบวนการออกแบบอย่ างไม่ เป็ นทางการ กิจกรรมที่ 3.1 ระดมสมองลองไอเดีย สอบถามในกลุมว่ามีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเกมที่พวกเขาได้ สร้ างขึ ้นมาหรื อที่กาลังพัฒนาขึ ้น และคิดด้ วยว่าจะทา ่ อย่างไรให้ เกมของพวกเขามีความน่าสนใจยิ่งขึ ้น เขียนรายการสิ่งที่คุณอยากทาเพื่อพัฒนาเกมให้ ดูน่าสนใจยิ่งขึน: ้ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ กิจกรรมที่ 3.2 ไอเดียดีๆ สาหรับเกม ในกิจกรรมนี ้เราจะสร้ างไอเดียสาหรับเกมที่สร้ างโดย Kodu Game Lab ลองเขียนไอเดียต่างๆ เกี่ยวกับเกมที่คณมี ุ ตัวอย่าง ชื่อเกม Duck-Out วัตถุประสงค์ เกมนี ้คล้ ายกับ Bonk-out แต่แทนที่จะมีปราสาทและ stick bot จะมีเรื อและเต่าแทน และเกมนี ้มี ฉากที่เล่นบนน ้า เต่าจะสามารถดาลงไปใต้ น ้าได้ สองวินาทีเพื่อหลบก้ อนหิน กฎ ผู้เล่นต้ องควบคุมปลา ปลาต้ องปกปองเต่าสามตัวจากก้ อนหินทีบินมา ผู้เล่น สามารถทาให้ เต่า ้ ่ หลบลงใต้ น ้าได้ ชวคราวเพื่อหลบก้ อนหินที่บินมา ั่ Bot ที่ใช้ เรื อ เต่า ปลา และ ก้ อนหินบิน 19
  • 22. ชื่อเกม: _________________________________________________________________________ วัตถุประสงค์ : _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กฎ: _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ Bot ที่ใช้ : _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กิจกรรมที่ 3.3 ตัวอย่ างของโรงเรียน และกรณีตัวอย่ าง ในกิจกรรมนี ้ เราจะเริ่ มคิดกันเกี่ยวกับเกมและสารวจดูวาโรงเรี ยนต่างๆ ทีเ่ คยใช้ Kodu Game Lab เขาใช้ ประกอบหลักสูตร ่ การเรี ยนรู้ของโรงเรียนอย่างไรกันบ้ าง บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ 20
  • 23. 21
  • 24. บทที่ 4 การสร้ าง Game World กิจกรรมที่ 4.1 การออกแบบ Game Space กิจกรรมนี ้สร้ างความเข้ าใจในเรื่ องของการพิจารณาใช้ ทรัพยากรต่างๆ การตังค่า World Setting และการตังค่ากล้ อง World ้ ้ Large กิจกรรมนี ้ใช้ ทรัพยากรจานวนมากแต่ก็ต้องใช้ land ให้ น้อยที่สดเท่าทีจะเป็ นไปได้ ุ ่ เปิ ดวิดีโอของ Tavish Hill ใน PowerPoint ให้ สมาชิกในกลุม ่ บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ กิจกรรมที่ 4.2 การสร้ าง Design Pattern และ Recipe Design Pattern และ Recipe ช่วยให้ โปรแกรมเมอร์ มีกระบวนการที่ง่ายในการแก้ ไขปั ญหาเรื่ องโปรแกรมมิ่ง กิจกรรมนี ้จะ อธิบายว่า Game Design Pattern จะสามารถช่วยให้ นกออกแบบเกมสามารถทดสอบ pattern เพื่อแก้ ไขปั ญหาด้ าน Game ั Design ได้ อย่างไร รวมทังอธิบายเรื่ องของคอนเซปต์การใช้ Code Recipe ซึงเป็ นโซลูชนด้ านภาษาที่เหมาะกับปั ญหาด้ าน ้ ่ ั่ โปรแกรมมิ่งทัวๆ ไป ่ กิจกรรมนี ้จะแนะนาแนวคิดของ design pattern และ code recipe ที่เราจะใช้ ในหลักสูตรนี ้ PowerPoint : สนับสนุนให้ สมาชิกในกลุมถามคาถามเมื่อต้ องการ ่ ประเด็นสาคัญ: Design pattern เป็ นโซลูชนมาตรฐานสาหรับเอกสารที่สามารถแก้ ไขปั ญหาที่พบส่วนใหญ่ได้ ั่ Recipe คือตัวอย่างของ code ที่เหมาะกับการแก้ ไขปั ญหาเรื่ องโปรแกรมมิ่งโดยเฉพาะ 22
  • 25. บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ กิจกรรมที่ 4.3 ทาความรู้จักกับ Game Space Patterns กิจกรรมนี ้จะแนะนารูปแบบของ Game World Design Pattern ต่างๆ แต่ละ pattern มีคาอธิบายที่แตกต่างกันตามที่ได้ อธิบายใน PowerPoint และยังมีเกมสาธิตให้ ชมอีกหนึงเกมด้ วย ่ Design Pattern : Open World เกมทีใช้ open world design pattern จะช่วยให้ ผ้ เู ล่น เดินทางไปไหนก็ได้ ตามที่ต้องการ Open world game มักเกี่ยวข้ องกับ ่ เกมประเภท non-linear game ที่ผ้ เู ล่นสามารถเลือก sequence ที่ต้องการจะเริ่มเล่นก่อนได้ กล้ องจะติดตามตัวผู้เล่น (ซึงเป็ น ่ ค่าตังต้ นของ Kodu Game Lab อยูแล้ ว) และดังนัน open world game จึงเหมาะสมมากกว่าสาหรับเกมที่ต้องใช้ ผ้ เู ล่นเพียง ้ ่ ้ คนเดียว ประเด็นสาคัญ : Open world สนับสนุนการเล่นเกมแบบ open game play เกมบางเกมไม่มีสวนของการเล่นบนพื ้นดิน ่ (land) และ open world เหมาะกับเกมประเภท strategy game มากกว่า และเหมาะกับเกมที่การเล่นแบบ non-linear บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ 23
  • 26. ใช้ Ground Brush เพื่อเพิมและลบ ground กดปุ่ ม right trigger ่ หรื อคลิกซ้ ายบนเม้ าส์เพื่อ เพิ่ม ground และกด left trigger หรื อคลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อลบ ground มีแปรงอยูหลายรูปแบบและหลายขนาด โดยสามารถปรับเปลียนได้ เพื่อเพิ่มขนาดของ land area ่ ่ แต่จะทาให้ design มีความซับซ้ อนมากขึ ้นด้ วยเช่นกัน สีของพื ้นดินสามารถเลือกได้ จากตัวเลือก ต่างๆ ทีต้องการ ่ ใช้ Up/Down Brush เพื่อสร้ างภูเขาและทิวเขา กดปุ่ ม หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อทาให้ หน้ าดินเรี ยบ แปรงที่มีหลายขนาดและหลายรูปแบบนันสามารถนามาใช้ เพื่อสร้ าง effect ที่แตกต่างกันได้ ้ ใช้ Water Brush เพื่อเพิ่ม ลบ หรื อเพิ่มสีให้ น ้า กด right trigger หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อเพิ่มระดับของน ้าใน world ให้ สงขึ ้นและกด left ู trigger หรื อคลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อลดระดับของพื ้นน ้า ใช้ Flatten Brush เพื่อสร้ างพื ้นทีเ่ รี ยบและเนินเขาเอียงๆ กด right trigger หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อเพิ่มระดับของเนินและกด left trigger หรื อ คลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อทาให้ หน้ าดินเรี ยบ ใช้ Roughen Brush เพื่อสร้ างพื ้นที่ที่เป็ นเนินสูงๆ ตาๆ ่ กด right trigger หรื อคลิกซ้ ายที่เม้ าส์เพื่อเพิ่มระดับของเนินให้ มีความสูงชันสลับกันและกด left trigger หรื อคลิกขวาที่เม้ าส์เพื่อทาให้ พื ้นทีตรงนันเป็ นแบบเนินเขาเหมือนคลืนเบาๆ ่ ้ ่ ใช้ Delete Tool เพื่อลบ bot และ object จาก world ของคุณ 24
  • 27. ในตอนที่กาลังแก้ ไข world อยูนน ให้ กด F3 เพื่อเปิ ดฟั งก์ชน Snap to Grid เพื่อล็อคขนาดของ brush size ให้ คงที่ ตัวcursor ่ ั้ ั่ จะคอยเคลือนตามในมุมซ้ ายล่างของจอ ่ กด และ หรื อหมุน mouse scroll เพื่อซูมเข้ าหรื อซูมออก การซูมเข้ าจะช่วยหา cursor ง่ายขึ ้น ซึงอาจถูกซ่อนอยู่ ่ หลัง land หมายเหตุ: ขณะสร้ าง world ควรระวังไม่ให้ วาง world ในพื ้นที่สแดง (Red Area) เรื่ องนี ้สาคัญมากเมื่อต้ องสร้ าง large open ี world รูปแบบของ Design Pattern : Race เกมประเภท racing game ต้ องให้ ผ้ เู ล่นแข่งกันบนเส้ นวิ่งหรื อพื ้นที่ที่กาหนดไว้ แล้ ว หลายกรณีมีจดที่ต้องเข้ าไปทา ุ checkpoints เมื่อเปาหมายคือการโจมตีศตรูหรื อแข่งกันว่าใครถึงเร็ วที่สด เกมประเภทนี ้คล้ ายกับการแข่งขันในความเป็ นจริง ้ ั ุ และดังนันจึงมี pattern ทีเข้ าใจง่ายและไม่ยากเกินไปนัก ้ ่ สาธิต Pure Plasma Racing game ให้ ผ้ เู รี ยนชม ประเด็นสาคัญ: ใช้ Path เพื่อสร้ างถนนสาหรับ AI Character บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: การแข่ งขันกับฝ่ ายตรงเข้ า (Racing track opponents) หากต้ องการโปรแกรมให้ bot ของผู้เล่นแข่งกัน คุณเพียงแค่สร้ าง Path และจากนันสร้ าง โปรแกรม ให้ bot เดินทางตาม path ้ ที่วางไว้ สาหรับผู้ที่ใช้ Xbox controller คุณต้ องสร้ าง Path ด้ วย Object Tool สาหรับผู้ที่ใช้ คีย์บอร์ ดและเม้ าส์ ให้ ใช้ Add Path button บนเมนู tool 25
  • 28. เลือก Object Group และจากนันเลือก path type ที่คณต้ องการ (เช่นพื ้นเรี ยบ (Plain), ถนน (Road) กาแพง (Wall) หรื อ ้ ุ ต้ นไม้ (Flora)) ใช้ ปม ุ่ button เพือเพิ่ม node แล้ วย้ าย cursor ไปยังจุดที่ต้องการต่อไป และจากนันกด เพื่อเพิม node ่ ้ ่ อีก หากเส้ นทางสาหรับวิ่งนันจะมีลกษณะเป็ นวง (loop) ที่ซงจะทาให้ เกิดการวิงทับเส้ นกันได้ ดังนันจึงต้ องวาง node สุดท้ าย ้ ั ึ่ ่ ้ ไว้ บน node แรก จากนันกด ้ เพื่อจบกระบวนการ วาง bot ไว้ บน path จากนันใช้ recipe ต่ อไปนี ้ ้ Design Pattern : เกมประเภท Side Scrolling Game Platform game คือเกมที่ผ้ เู ล่นสามารถเคลือนทีในลักษณะ 2 มิติ หรื อเรี ยกว่า side scroller เกมประเภท Side Scrolling ่ ่ game มักให้ ผ้ เู ล่นกระโดด ข้ ามช่องว่าง หรื อ ข้ ามสิงกีดขวางที่อาจหรื ออาจจะเคลือนที่ไปมาได้ เกมประเภทนี ้เป็ นที่นิยมมาก ่ ่ ในยุค 1980 และทาให้ ร้ ูสกเหมือนได้ ย้อนยุคทุกครังเวลาที่ได้ เล่นเกมประเภทนี ้ ึ ้ สาธิตเกม Coins and Platform Cycle ประเด็นสาคัญ: 1. ใช้ East/West constraint กับการเคลือนไหว ่ 2. ปรับกล้ องให้ เป็ น offset ใน world setting (เป็ นประโยชน์มาก) บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ 26
  • 29. Recipe: Side Scrolling ปกติแล้ ว Path จะเป็ นสิงที่ดีที่สดในการสร้ าง side scrolling game แต่คณสามารถสร้ าง land ก็ได้ เช่นกัน ่ ุ ุ เราต้ องจัดให้ กล้ องติดตามตัวคาแรคเตอร์ ของผู้เล่นจากข้ างๆ ในการทาแบบนี ้ เราจะตัง้ camera mode ให้ อยูที่ fixed offset ่ 1. คลิก World Settings 2. เลือก Camera Mode: เป็ น Fixed Offset 3. กดปุ่ ม เพื่อวางกล้ องในจุดเริ่ มต้ น และกดปุ่ ม เพื่อตังตาแหน่งทีต้องการ ้ ่ รูปแบบ Design Pattern: Maze ใช้ maze เมื่อต้ องสร้ างเกมประเภท puzzle ที่ต้องการให้ ผ้ เู ล่นใช้ ทกษะในการหาเส้ นทางที่ถกต้ อง maze หรื อเขาวงกตบาง ั ู อันมีเส้ นทางออกเพียงเส้ นทางเดียว แต่หลายๆ maze มีทางออกได้ มากกว่า 1 ทาง ประเด็นสาคัญ: 1. สาธิตการใช้ กล้ องในตาแหน่งจุดเริ่ มต้ น 27
  • 30. บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: Maze Game ในการสร้ างเขาวงกต ต้ องเริ่ มจากการสร้ างพื ้นที่เขาวงกตของทังหมดก่อน จากนันให้ ลดเขาวงกตลงไปให้ อยูระหว่างกาแพง ้ ้ ่ การยกกาแพงของเขาวงกตนันเป็ นเรื่ องที่ยากกว่ามาก ้ สาหรับเกมนี ้ ควรต้ องตังกล้ องให้ เป็ น Fixed offset (เหมือนที่ทากับ side scrolling game) หลังตัว bot ของผู้เล่น หรื ออาจเซ็ต ้ ให้ กล้ องเล็งไปที่ตว first person ในการเซ็ตกล้ องไปที่ first person ให้ ใช้ recipe ต่อไปนี ้ ั รูปแบบของ Design Pattern : Fixed Game Board เกมบางเกมมีพื ้นที่เล่นอยูบนพื ้นที่ที่ลอคไว้ ตายตัว game space เหล่านี ้เหมาะกับการเล่นหลายคนโดยที่ไม่ต้องแยกฟั งก์ชน ่ ็ ั่ ของจอออกจากกัน ด้ วยการที่มีพื ้นที่ที่ลอคไว้ ตายตัวและการมี fixed camera ผู้เล่นทุกคนก็จะมีมมมองจากทีเ่ ดียวกัน ็ ุ 28
  • 31. เกมต่างๆ อย่างเช่น PacKodu เป็ นตัวอย่างที่ดี ประเด็นสาคัญ : เหมาะสาหรับการเล่นด้ วยผู้เล่นหลายๆ คน บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: Fixed Game Board เราต้ องตังให้ กล้ องอยูในตาแหน่งเดิมตลอดเวลาตลอดทังเกม ในการทาเช่นนี ้เราต้ องตัง้ camera mode ให้ อยูในตาแหน่ง ้ ่ ้ ่ fixed position 1. คลิก World Settings 2. เลือก Camera Mode: เป็ น Fixed Position 3. กดปุ่ ม เพื่อวางกล้ องในจุดเริ่ มต้ น และกดปุ่ ม เพื่อตังตาแหน่งทีต้องการ ้ ่ 29
  • 32. บทที่ 5 ใช้ งาน Game Design Patterns กิจกรรมที่ 5.1 Game Progress Patterns กิจกรรมนี ้ อธิบายแนวคิดของการเขียนโปรแกรมมิงโดยใช้ Kodu แบบขันสูง อย่างเช่น การสร้ างตาราง การสร้ างเพจ และการ ่ ้ ใช้ score เพื่อเป็ น variable เป็ นต้ น Design Pattern: Time Limits Time Limits ต้ องการให้ ผ้ เู ล่นแสดงอาการบางอย่างหรื อมุงมันฝ่ าฟั นให้ ถึงเปาหมายหรื อตังเวลาให้ ผ้ เู ล่นต้ องรักษาระดับอยูใน ่ ่ ้ ้ ่ ด่านนันจนครบเวลาเพื่อให้ ชนะและผ่านด่านนันได้ นาฬิกาจับเวลาจะแสดงหน้ าจอขึ ้นมาเพื่อบอกให้ ผ้ เู ล่นรู้วาจะต้ องรี บทา ้ ้ ่ เวลาให้ ทน บางเกมมีฟีเจอรี่ ให้ Time Bonus ที่จะได้ เมื่อผู้เล่นทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึงจนสาเร็จได้ ั ่ บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Kode Recipe: Time Limit บันทึกย่ อ 1. แน่ใจว่าคุณติด game timer ไว้ ที่ bot หรื อ object ที่ไม่สามารถถูกทาลายได้ ในช่วงของการเล่นเกม 2. เลือกสีเพื่อใช้ เป็ น timer ของคุณเป็ นระยะเวลา 30 วินาที และห้ ามใช้ color score สาหรับอย่างอื่น 3. ตัวอย่างของ recipe นี ้จะตังเวลาไว้ 30 วินาที และใช้ สดาเพื่อเป็ นตัวกาหนดเวลา หรื อ timer ้ ี 4. อ้ างอิงถึงเกม Wack-a-Lama เพื่อดูวา recipe นี ้ใช้ อย่างไร ่ 30
  • 33. Design Pattern: Scores Score หรื อคะแนนคือการแสดงตัวเลขทีชี ้วัดความสาเร็ จของผู้เล่น เราสามารถเพิม Point เข้ าไปที่ Score ได้ เมื่อผู้เล่นได้ ผาน ่ ่ ่ ด่านแต่ละด่านแล้ วหรื อสามารถหัก point ออกได้ หากล้ มเหลวในการฝ่ าฟั นอุปสรรคในด่านนัน score ของผู้เล่นมักจะถูกแสดง ้ ขึ ้นมาเป็ นแบบ overlay เมื่อผู้เล่นสาเร็ จด่านแต่ละด่าน เพื่อทาให้ ผ้ เู ล่นรู้สกถึงความภูมใจที่ได้ ชนะด่านนัน ึ ิ ้ 31
  • 34. บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Kode Recipe: Scores บันทึกย่อ: 1. Recipe นี ้เพิ่ม point จานวน 1 point เข้ าไปที่ blue score ในแต่ละครังที่การยิงได้ ยิงโดนเปาล่อ และเพิ่ม 10 point เมื่อยิง ้ ้ ถูกจานร่อนในแต่ละครัง เมื่อ score มีคามากกว่า 100 ผู้เล่นจะชนะเกมทันที ้ ่ 2. เพิ่ม recipe นี ้เข้ าไปที่ bot ที่ต้องเป็ นตัวยิงเปา ้ 3. Recipe นี ้ทางานได้ กบทังคีย์บอร์ ดและ gamepad ั ้ 4. อ้ างอิงถึง Xevon v06 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ recipe นี ้ 32
  • 35. Pattern: Health Health ของ bot ของผู้เล่นคือสิงที่ระบุความก้ าวหน้ าของผู้เล่นในเกม health bar แสดงสถานะปั จจุบนของคาแรคเตอร์ นน ่ ั ั้ และทาให้ ตวผู้เล่นรับรู้วาตัวเองมีกาลังมากแค่ไหนในเกม ั ่ บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: Health บันทึกย่อ 1. เมื่อ bot สัมผัสเหรี ยญ จะถูกหักคะแนน 10 point จาก health ของ bot และเหรี ยญก็จะหายไป 2. เมื่อ bot สัมผัสและกินแอปเปิ ล ก็จะได้ คะแนน 10 point เพิ่มเข้ าไปใน health ของ bot ้ 3. เมื่อ health ของ bot ถึงระดับ 0 เกมจะจบทันที 4. จานวนของ Hit Point (ระดับของ health) ที่ bot เริ่ มมีตงแต่ต้นนัน ถูกเซ็ตไว้ setting ของตัว bot นัน จะมีคาจะอยูตงแต่ 0 ั้ ้ ้ ่ ่ ั้ ถึง 1,000 โดยสามารถเซ็ตให้ เพิมเพิ่มได้ ทีละ 5 คะแนนได้ ่ 33
  • 36. Pattern: Save Points Save Point หรื อที่เรี ยกว่า Check Points คือค่า point ที่ช่วยให้ ผ้ เู ล่นมีความสะดวกในการเล่นเกม ส่วนมากมักจะได้ หลังจาก ที่ชนะด่านทียากๆ ไปแล้ ว และเป็ นจุดที่เกมจะเซฟข้ อมูลไว้ แบบอัตโนมัติหรื อผู้เล่นถูกร้ องขอโดยระบบให้ เซฟเก็บไว้ เมื่อได้ ่ point นันแล้ ว หากผู้เล่นไม่สามารถผ่านไปยังด่านถัดไปได้ เกมจะเริ่ มต้ นใหม่จากจุด save point มากกว่าย้ อนกลับไปเริ่ มต้ น ้ ใหม่ การทาแบบนี ้จะให้ กาจัดปั ญหาของผู้เล่นที่ต้องการเล่นด่านที่ง่ายแบบซ ้าไปซ ้ามาเพื่อเก็บคะแนนเอาไว้ มากๆ บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: Save Points 1. Cycle bot ซึงเป็ นคาแรคเตอร์ ทควบคุมโดยตัวผู้เล่นเอง และสามารถสร้ างขึ ้นมาได้ ่ ี่ 2. Red score ใช้ เพื่อคอยติดตามค่าชีวตของผู้เล่น ค่า 1 บอกว่าผู้เล่นยังมีชีวิตอยูในเกม และกาลังเล่น ในขณะที่ 0 ิ ่ บอกว่า bot ของผู้เล่นต้ องการการฟื นฟู ้ 3. Black score มีไว้ เพื่อบันทึกค่า save point ค่า 0 บอกว่า ผู้เล่นยังอยูในช่วงต้ นของเกม และค่า 1 บอกว่าผู้เล่นได้ เก็บ ่ ค่า save point ที่ 1 แล้ ว และกาลังจะเก็บต่อไป 4. ต้ องสร้ าง Bot และต้ องโปรแกรมไว้ ในแต่ละ save point เกิดขึ ้น ในตัวอย่างนี ้ เราได้ ใช้ stick bot แต่รูปแบบ (Type) ของ bot ไม่ใช่ปัญหาในกรณีนี ้ คุณจะใช้ type ใดก็ได้ 34
  • 37. 5. ยังไม่มี code สาหรับ page 3 ของ save points 6. ใช้ setting ของ save point เพื่อลดการฟั งลงให้ เหลือเป็ นค่าต่าสุดเพื่อว่า stick bot จะได้ ยินแค่ cycle bot เมื่อมันอยู่ ใกล้ กนเท่านัน ั ้ 7. Color score ที่ตางกันจะนามาใช้ เพื่อติดตามและจากัดจานวนของชีวตใหม่ที่ยอมให้ ผ้ เู ริ่ มขอเล่นใหม่ได้ แต่จะไม่ ่ ิ แสดงเทคนิคนี ้ใน recipe นี ้ Bot ควบคุมโดยผู้เล่น เป็ น bot ที่สามารถสร้ างได้ เสมอ จุด starting point (Save point มีค่าเป็ น 0) 35
  • 38. 36
  • 39. การเพิม save point อย่างต่อเนืองต้ องทาให้ black point เหล่านี ้เพิ่มขึ ้นทีละหนึง ่ ่ ่ 37
  • 40. Design Pattern: Multi Levels การที่มี level หลายๆ level ในเกม คือวิธีที่ดในการทาให้ ผ้ เู ล่นรู้สกว่าตนเองมีความก้ าวหน้ าในการเล่นเกม เกมมักใช้ level ใน ี ึ การเพิมความยากและ/หรื อสอดแทรกกลไกใหม่ๆ เข้ าไป ่ ตัวอย่างของการใช้ หลายๆ level คือเกม Dualและ Portal ของ halox ทังสองเกมสามารถดูได้ บน Youtube ้ ประเด็นสาคัญ: ตัวอย่างนี ้เป็ นตัวอย่างที่เป็ นขันสูง ไม่ใช่สาหรับคนที่ยงไม่กล้ าพอ ! ้ ั บันทึก: ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: Multiple Levels บันทึกย่อ 1. Black score จะใช้ เพื่อเก็บบันทึกว่าผู้เล่นเล่นไปถึง level ใดแล้ ว 2. Bot ของผู้เล่นนันสามารถสร้ างได้ และดังนันจึงต้ องสร้ างไว้ ตงแต่เริ่ มต้ นเล่นเกม ้ ้ ั้ 3. Level ต่อๆ มาสามารถสร้ างได้ โดยใช้ การ copy ตรง start point และ end point ของ level 2 และด้ วยการเพิมค่า ่ ของ black score เข้ าไปใน code 4. ตังค่าให้ black score เป็ น Off ้ Bot ที่ควบคุมโดยผู้เล่นและสามารถสร้ างได้ เอง 38
  • 41. จุด starting point บน level 1 จุด finishing point บน level 1 39
  • 42. ตัว Stickbot: จุด Starting point บน level 2 ตัว Stickbot: จุด Finishing point บน level 2 กิจกรรมที่ 5.2 Game Play Patterns Pattern: Power Ups Power-up คือประโยชน์สาหรับผู้เล่น แต่ต้องรี บใช้ ภายในเวลาทีกาหนดและต้ องทาการ activate เพื่อใช้ มน ผู้เล่นต้ องทาการ ่ ั ตัดสินใจว่าเมื่อไรที่จาเป็ นต้ องใช้ Power-up และเมื่อไรที่ต้องหาเพิ่มหรื อต้ องใช้ เวลาเพื่อทาการ recharge 40
  • 43. Power-up แก้ ไขปั ญหาของการที่ต้องทางานต่างๆ ให้ สาเร็ จในระดับความยากที่แตกต่างกัน เพราะผู้เล่นจะเพิ่มระดับ ความสามารถของตัวเองขึ ้นเรื่ อยๆ และจะต้ องพบกับความท้ าท้ ายมากขึ ้น โดยจะไม่มีโอกาสได้ เจอด่านที่งายกว่าเดิม (หากไม่ ่ ใช้ power-up ช่วยในด่านที่ยาก) ตัวอย่างเช่น คาแรคเตอร์ อาจจะไม่สามารถเคลือนไหวได้ เร็ วขึ ้นสักระยะหลังจากที่เก็บ item หรื อหลังจากที่กด key บางตัว ่ sound effect หรื อ visual effect จะนามาใช้ เพื่อบอกว่าผู้เล่นได้ รับการ power up แล้ วหรื อ power up กาลังจะหมดลง ประเด็นสาคัญ: recipe นี ้แสดงการใช้ งาน pages และ timer บันทึก ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: Power Up บันทึกย่อ: recipe นี ้จะทาการโปรแกรมให้ bot ที่ถกควบคุมโดยผู้เล่น ต้ องแพ้ ในเกมเมื่อถูกชนโดย red cycle bot เมื่อ bot ู ของผู้เล่น เอาตัวเองไปกระแทก bot อื่น หรื อกินแอปเปิ ล ก็จะได้ รับ power up แล้ วจะสามารถาลาย red cycle bot ได้ Power ้ up จะสามารถแสดงพลังได้ นาน 5 วินาที และจากนัน bot ของผู้เล่นจะย้ อนกลับไปยังสภาพเดิม ้ 1.สังเกตการใช้ ฉันและเจ้ าตัวนัน (Notice the use of me and it.) ้ 41
  • 44. 42
  • 45. Pattern: การย้ ายการควบคุม (Transfer of Control) เกมบางเกมยอมให้ ผ้ เู ล่นควบคุมคาแรคเตอร์ ที่แตกต่างกันได้ ในแต่ละ stage ต่างๆ ของเกม การทาเช่นนี ้จะรวมถึงตอนที่ คาแรคเตอร์ ของผู้เล่นได้ เข้ าไปในรถหรื อลงเรื อ คาแรคเตอร์ ตวใหม่มกจะมีความสามารถที่แตกต่างออกไป ดังนัน การเล่นเกม ั ั ้ ต้ องมีผลลัพธ์ที่ออกมาแตกต่างกัน ทาให้ เพิ่มความสนใจของผู้เล่นมากขึ ้น บันทึก ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________ Recipe: Transfer of Control บันทึกย่ อ: 1. ตัวอย่างนี ้แสดงให้ เห็นว่า bot ที่ควบคุมโดยผู้เล่นนันสามารถถูกสัง “ให้ ไปลงเรื อ” ได้ ซึงผู้เล่นสามารถสังการได้ เอง ้ ่ ่ ่ Cyclebot: bot ที่ผ้ ูเล่ นสามารถควบคุมได้ เอง Floatbot: bot ผู้เล่ นควบคุมได้ เอง เมื่อ cyclebot ได้ ลงไปบนเรือแล้ ว 43